Prapun - Ofdm

  • May 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Prapun - Ofdm as PDF for free.

More details

  • Words: 3,189
  • Pages: 12
Introduction to OFDM and its PAPR Drawback  Dr. Prapun Suksompong 

หลักการเบื้องตนของ OFDM OFDM ซึ่งยอมาจาก Orthogonal Frequency Division Multiplexing เปนระบบที่มีการวิจัยอยางแพรหลายในปจจุบัน มีการนําไป ประยุกตใชกับการสื่อสารไรสายหลายประเภท ขอดีเบื้องตนของระบบ OFDM คือ เปนระบบที่สามารถสงผานขอมูลดวยอัตรา ความเร็วสูงเมื่อเทียบกับระบบอื่นๆ อีกทั้งยังใชยานความถี่ที่มีอยูอยางมีประสิทธิภาพซึ่งจะไดกลาวถึงในสวนตอไป ในสวนนี้ เราจะอธิบายหลักการทํางานเบื้องตนของ OFDM โดยเริ่มจากระบบที่ไมซับซอนเพื่อใหเขาใจไดงาย หลังจากนั้นเราจะชี้ใหเห็น ถึงปญหาและการแกปญหาโดยการเพิ่มเติมคุณลักษณะของ OFDM ลงไปในระบบ การสงขอมูลโดยใชคลื่นพาหเดียว (Single Carrier Transmission) เทคนิคการสงสัญญาณแบบ OFDM เปนรูปแบบของการสงขอมูลแบบขนานโดยอาศัยหลายคลื่นพาห (Multi-Carrier Transmission) ซึ่งเราจะนําเสนอโดยเปรียบเทียบกับการสงขอมูลโดยใชคลื่นพาหเดียว (Single Carrier Transmission) ในการสง ขอมูลโดยใชคลื่นพาหเดียวนั้น การสงชุดขอมูล (block of symbols) ที่ประกอบดวย s1 , s2 ,…, sN สามารถทําไดโดยการสง pulse p ( t ) ที่เปลี่ยนขนาดไปตาม s1 , s2 ,…, sN เรียงกันไปตามลําดับ โดยสามารถเขียนเปนสมการไดดังนี้ N −1

s ( t ) = ∑ sk p ( t − kT ) k =0

โดย T เปนเวลาที่ใชในการสงแตละสัญลักษณขอมูล (symbol interval) ตัวอยางของ pulse p ( t ) ที่งายที่สุดก็คือ pulse รูป สี่เหลี่ยม (rectangular pulse) ซึ่งเขียนสมการไดเปน ⎧1, t ∈ [ 0, T ) p ( t ) = 1[0,T ) ( t ) = ⎨ ⎩0, otherwise. เราจะเห็นวาขอมูล s1 นั้นเมื่อนําไปคูณกับ pulse p ( t ) แลวจะอยูระหวางเวลา t ∈ [ 0, T ) ในแกนเวลา สวนขอมูล s2 นั้นจะ

อยูระหวางเวลา t ∈ [T , 2T ) ดังนั้น เมื่อใช pulse รูปสี่เหลี่ยมขางตนสัญญาณที่ไดจะไมมีการซอนทับกันในแกนเวลา รูปที่ 1a แสดงตัวอยางของสัญญาณ s ( t ) สําหรับขอมูล ( s1 , s2 ,… , s8 ) = (1,0,1,1,0,1,0,1)

1|P a g e

(a)

1.2

(b)

1 1

0.8 0.6

0.8 0.4 0.6

0.2

0.4

-0.2

0

-0.4 0.2 -0.6 -0.8

0

-1 -0.2 -1

0

1

2

3

4 Time

5

6

7

8

9

-1

0

1

2

3

4 Time

5

6

7

8

9

รูปที่ 1: (a) ตัวอยางของสัญญาณ s (t ) เมื่อขอมูลเปน ( s1 , s2 ,… , s8 ) = (1,0,1,1,0,1,0,1) (b) ตัวอยางของสัญญาณ x(t ) ที่เกิดจากการ modulate สัญญาณ s (t ) กอนที่สัญญาณ s ( t ) ดังกลาวจะถูกสงออกไปจากเครื่องสง สัญญาณจะถูกแปลงความถี่ดวยสัญญาณพาหโดยกระบวนการที่ เรียกวา modulation ถาเราวิเคราะหสัญญาณในแกนความถี่ (frequency domain) ผลของการ modulation ก็คือสัญญาณจะยายแถบ ความถี่ของตัวเองจากรอบ ๆ ความถี่ศูนยไปยังรอบ ๆ ความถี่ของสัญญาณพาห ดังนั้นเราจึงเรียกสัญญาณที่ถูก modulate แลววา สัญญาณแบนดพาส (bandpass signal) สําหรับสัญญาณที่ยังไมไดผานการ modulation เราจะเรียกวาสัญญาณเบสแบนด (baseband signal) เราสามารถเขียนสมการของสัญญาณแบนดพาสไดดังตอไปนี้

{

x ( t ) = Re s ( t ) e j 2π fc t

}

โดยที่ f c เปนความถี่ของคลื่นพาห ถาเราให S ( f ) เปน spectrum ของสัญญาณเบสแบนด s ( t ) ผลของการ modulation ใน แกนความถี่ก็คือ spectrum X ( f ) ของสัญญาณ bandpass x ( t ) สามารถเขียนไดเปน X(f)=

1 ( S ( f − fc ) + S * ( − f − fc )) 2

จะเห็นไดวา spectrum S ( f ) ของ s ( t ) ไดยายไปอยูที่ ± fc นอกจากนี้ถาสัญญาณเบสแบนด s ( t ) เปนจํานวนจริงเสมอ สมการของสัญญาณแบนดพาสขางตนจะเหลือเพียง x ( t ) = s ( t ) cos ( 2π f ct )

สวน spectrum X ( f ) ก็จะเปน 1 ( S ( f − fc ) + S ( f + fc )) 2 รูปที่ 1b แสดงตัวอยางของสัญญาณ bandpass ที่ไดจากสัญญาณ baseband ในรูปที่ 1a X(f)=

สัญญาณที่ถูก modulate แลวจะถูกสงผานไปยังชองสัญญาณ (Channel) ในสวนถัดไปเราจะอธิบายลักษณะของ ชองสัญญาณสําหรับการสื่อสารแบบไรสาย

2|P a g e

การสื่อสารไรสายและการจางหายแบบหลายเสนทาง (Wireless communication and Multipath fading) การสื่อสารแบบไรสายไดกลายเปนสวนสําคัญในการดํารงชีวิตประจําวัน ในขณะเดียวกัน ความตองการสงขอมูลเปนปริมาณ มากในเวลารวดเร็วไดเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ อยางไรก็ตาม การสื่อสารผานชองสัญญาณแบบไรสายนั้นมีขอจํากัดมากมาย คุณลักษณะของชองสัญญาณสามารถเปลี่ยนแปลงตามองคประกอบตาง ๆ ได เชน สิ่งแวดลอมทางกายภาพ ความเร็วในการ เคลื่อนที่ของอุปกรณภาครับหรือสง และ อุณหภูมิ เปนตน นอกจากนั้นยังมีสัญญาณรบกวน (noise) ซึ่งเราควมคุมไดยาก ใน สวนนี้เราจะกลาวถึง การจางหายแบบหลายเสนทางของชองสัญญาณ ในการสื่อสารแบบไรสาย สัญญาณที่ถูกสงออกมาจะกระจายออกเปนหลายทิศทาง ดังนั้นจึงมีการสูญเสียของสัญญาณ สูง เมื่อคลื่นสัญญาณเดินทางผานตัวกลางก็จะมีการลดทอน (Attenuation) ของสัญญาณเกิดขึ้น นอกจากนี้สัญญาณที่กระจาย ออกนอกเสนทางยังสามารถสะทอนกลับมายังเครื่องรับไดอีกดังรูปที่ 2 สัญญาณที่สะทอนกลับมาเหลานี้เดินทางมาถึงเครื่องรับ ลาชากวาสัญญาณที่มาจากเสนทางตรงเพราะระยะทางที่เพิ่มขึ้น เราจะเรียกเวลาการเดินทางที่เพิ่มขึ้นนี้วา คาหนวงเวลา (excess delay) โดยปกติแลวสัญญาณสะทอนจะมีมากกวาหนึ่งสัญญาณ โดย ขนาด และ คาหนวงเวลาของแตละสัญญาณ ก็จะแตกตาง กันไป เราเรียกการเดินทางของสัญญาณแบบหลายเสนทางนี้วา multipath propagation และเรียกสัญญาณเหลานี้วา multipath waves

รูปที่ 2: Multipath propagation เมื่อเกิด multipath propagation สัญญาณที่เครื่องรับไดรับก็จะมีการผิดเพี้ยน (smearing) ไปจากสัญญาณที่ถูกสงออกมา จากเครื่องสงดังแสดงในรูปที่ 3 ปญหานี้เราเรียกวา การจางหายแบบหลายเสนทาง หรือ multipath fading สังเกตวาพลังงาน บางสวนของสัญลักษณแรกซึ่งควรจะถูกจํากัดอยูระหวางเวลา 0 ถึง T ไดล้ําเขาไปอยูในสวนของสัญลักษณที่สอง ปญหานี้ เรียกวา การสอดแทรกระหวางสัญลักษณ (Inter-symbol Interference:ISI)

3|P a g e

(a)

(b)

1

1

0.8

0.8

0.6

0.6

0.4

0.4

0.2

0.2

0

0

-0.2

-0.2

-0.4

-0.4

-0.6

-0.6

-0.8

-0.8

-1

-1

-1

0

1

2

3

4 Time

5

6

7

8

9

0

2

4

6 Time

8

10

12

รูปที่ 3: (a) Multipath fading เมื่อ T (symbol interval) มีขนาดใหญเมื่อเทียบกับคาหนวงเวลา จะเห็นไดวาสัญญาณไมได เปลี่ยนไปมากนักจากสัญญาณ x (t ) ในรูปที่ 1 (b) Multipath fading เมื่อ T (symbol interval) มีขนาดใกลเคียงกับคาหนวงเวลา จะเห็นไดวาสัญญาณนั้นแตกตางไปจาก สัญญาณ x (t ) ในรูปที่ 1 อยางมาก เราสามารถจําลองลักษณะของชองสัญญาณที่มี multipath fading ไดดวยสมการทางคณิตศาสตรที่อธิบายผลตอบสนอง อิมพัลสของชองสัญญาณ (channel impulse response) ดังตอไปนี้ v

h ( t ) = ∑ βiδ ( t − τ i ) i =0

เมื่อสัญญาณ x ( t ) เดินทางผานชองสัญญาณ สัญญาณ r ( t ) ที่ปรากฏที่เครื่องรับจะเปน v

x ( t ) ∗ h ( t ) + n ( t ) = ∑ βi x ( t − τ i ) + n ( t ) i =0

โดยที่ n ( t ) คือสัญญาณรบกวน และ เครื่องหมาย * แสดงถึงการประสาน (convolution) ของสัญญาณ x ( t ) กับ h ( t ) เมื่อ เราวิเคราะหสมการดังกลาว เราจะเห็นวามีการรวมของสัญญาณ βi x ( t − τ i ) ซึ่งก็คือ สัญญาณ x ( t ) ที่มีคาหนวงเวลา τ i และขนาดถูกลดทอนไปเปน βi นั่นเอง ใน รูปที่ 3a เราใช h ( t ) = 0.5δ ( t ) + 0.2δ ( t − 0.2T ) + 0.3δ ( t − 0.3T ) + 0.1δ ( t − 0.5T )

สวนในรูปที่ 3b เราใช h ( t ) = 0.5δ ( t ) + 0.2δ ( t − 0.7T ) + 0.3δ ( t − 1.5T ) + 0.1δ ( t − 2.3T )

ขอสังเกตอีกอยางจากรูปที่ 3 ก็คือปญหา multipath fading จะมีนอยมากถา symbol interval T มีขนาดใหญเมื่อเทียบ กับคาหนวงเวลา อยางไรก็ตาม ความตองการสงขอมูลอยางรวดเร็วทําใหไมสามารถเพิ่มขนาดของ T ไดโดยตรงเพราะจะทําให อัตราการสงขอมูลลดลง การแกปญหา multipath fading นี้สามารถทําไดโดยการใชการปรับแตงชองสัญญาณ (Equalization) ซึ่ง ยุงยากและซับซอน อีกวิธีหนึ่งที่สามารถหลีกเลี่ยงปญหา multipath fading และเปนหลักการพื้นฐานที่ถูกนํามาใชใน OFDM ก็ คือการสงขอมูลโดยแบงขอมูลไปยังหลายแถบความถี่ซึ่งจะไดกลาวถึงในสวนถัดไป 4|P a g e

Multi-carrier transmission ดังที่ไดอธิบายในสวนที่แลว ปญหา multipath fading นั้นจะมีผลกระทบนอยมากถาเราสงสัญญาณดวยคา T ที่มีขนาดใหญ แต ความตองการสงขอมูลอยางรวดเร็วทําใหไมสามารถลดคา T ไดโดยตรงเพราะจะทําใหอัตราการสงขอมูลลดลงตามไปดวย การ สงขอมูลโดยใชหลายคลื่นพาหเปนเทคนิคหนึ่งซึ่งหลีกเลี่ยงปญหา multipath fading ได โดยใชหลักการพื้นฐานที่ไมไดแตกตาง ไปจากหลักการในการสงขอมูลโดยใชคลื่นพาหเดียวที่กลาวมาขางตนเลย หากแตมีการแบงขอมูลออกเปนหลาย ๆ สวนขนาน กันไป (parallel data stream) โดยแตละสวนยอย ถูกสงออกไปดวยคลื่นพาหยอย (subcarrier, SC) ที่มีความถี่ตางกัน เมื่อขอมูล ถูกแบงเปนหลายสวน แตละสวนจึงไมจําเปนตองมีอัตราการสงที่สูง ดังนั้นจึงสามารถใช T ที่มีขนาดใหญได ยิ่งเพิ่มจํานวนของ สัญญาณพาหยอยมากขึ้นเทาใดก็ยิ่งสงขอมูลไดมากขึ้นโดยไมกระทบตอ T วิธีนี้เรียกวา การมัลติเพล็กซโดยการแบงความถี่ (Frequency Division Multiplexing: FDM) การสงขอมูลแบบ FDM นั้นมีขอจํากัดหลายประการ ประการแรก เนื่องจากมีการใชคลื่นพาหหลายความถี่ เครื่องรับ สัญญาณจะตองทําการแยกสัญญาณที่ถูกสงมากับแตละคลื่นพาหโดยการกรองสัญญาณ ดังนั้นเราจะตองจัดใหความถี่ของ คลื่นพาหอยูหางกันมากพอสมควรเพื่อลดการทับซอนของสัญญาณในแกนความถี่ทําใหไมสามารถใชยานความถี่ที่มีอยูอยาง เต็มที่ อีกปญหาของ FDM เปนเรื่องของความซับซอนของระบบ นั่นคือ ยิ่งเราแบงขอมูลออกมากสวนเทาใด ความซับซอนของ เครื่องสงและรับสัญญาณก็ยิ่งมากขึ้นตามไปดวยเพราะจะตองรองรับการทํางานภายใตจํานวนความถี่ของคลื่นพาหที่มากขึ้น เครื่องสงสัญญาก็จะตองมีวงจรกําเนิดความถี่ (oscillator) ที่หลากหลาย ปญหาทั้งสองประการเปนอุปสรรคที่สําคัญของระบบ แบบ FDM ในสวนถัดไป เราจะกลาวถึงการปรับปรุงประสิทธิภาพของ FDM ดวยการสงสัญญาณที่ตั้งฉากซึ่งกันและกัน การตั้งฉาก (Orthogonality) ในสวนนี้จะกลาวถึงการสงสัญญาณที่ตั้งฉาก (orthogonal) ซึ่งกันและกัน สังเกตวาอักษร O ในคํายอ OFDM นั้นมาจากคําวา orthogonality ซึ่งก็คือ การตั้งฉากที่เราจะกลาวถึงในสวนนี้เอง สมมติวาเราตองการสงขอมูล s1 , s2 ,…, sN เราสามารถทําไดโดยการสง pulse p ( t ) ในแกนเวลาที่เปลี่ยนขนาดไป ตาม s1 , s2 ,…, sN เรียงกันไปตามลําดับ N −1

s ( t ) = ∑ sk p ( t − kT ) k =0

โดยแตละ pulse ใชเวลา T หนวยดังที่เราไดอธิบายไปแลวในสวนของการสงขอมูลโดยใชคลื่นพาหเดียว สําหรับการสงขอมูล แบบ FDM นั้นในแตละชองเวลาที่มีขนาด T เราจะสงขอมูล s1 , s2 ,…, sN ไปพรอม ๆ กันโดยใชหลายแถบความถี่ ซึ่งสามารถ สรุปเปนสมการในแกนความถี่ไดวา N −1

S ( f ) = ∑ sk p ( f − k Δf ) k =0

โดยที่ Δf

เปนระยะหางระหวาง spectrum ของสัญญาณยอย สําหรับในการสงสัญญาณที่ตั้งฉากกันนั้น สัญญาณ p ( f − k Δf ) จะตองตั้งฉากซึ่งกันและกันดวย นั่นคือ สําหรับจํานวนเต็ม k และ j ที่แตกตางกัน เราตองการให

∫ p ( f − k Δf ) p ( f − jΔf )df = 0 ∗

5|P a g e

เห็นไดชัดวา ถา p ( f − k Δf ) ไมซอนทับกับ p ( f − jΔf ) ในแกนความถี่ ผลของการคูณกันจะไดศูนยเสมอ สงผลให คาที่ไดจากการ integrate เปนศูนยไปดวย นั่นคือสัญญาณทั้งสองก็จะตั้งฉากกันตามนิยามขางตนและไมรบกวนกัน นี่เปน หลักการพื้นฐานของ FDM อยางไรก็ตาม การที่จะแยกสงสัญญาณใหอยูในแถบความถี่ที่ไมซอนทับกันโดยสิ้นเชิงนั้นทําไดยาก ในทางปฏิบัติ และเปนสาเหตุใหระบบแบบ FDM ตองวาง spectrum ของสัญญาณยอยบนแกนความถี่ใหหางกันมาก อีกทั้งยังมี การเพิ่มแถบปองกัน (guard band) ระหวาง spectrum ของสัญญาณยอยอีก ทั้งหมดนี้นํามาซึ่งการสิ้นเปลืองยานความถี่ ที่จริงแลวการที่สัญญาณจะตั้งฉากกันนั้น ไมจําเปนที่จะตองหลีกเลี่ยงการทับซอนกันในแกนความถี่ ตัวอยางของชุด สัญญาณที่ตั้งฉากกันแบบนี้ก็คือสัญญาณในรูปของ ฟงกชัน sinc ซึ่งใช p( f ) =

⎛ f ⎞ 1 sinc ⎜ π ⎟ Δf ⎝ Δf ⎠

ดังแสดงในรูปที่ 4 จะเห็นวา spectrum ของสัญญาณยอยนั้นซอนทับกัน แตจุดสูงสุด (peak value) ของแตละ spectrum ของ สัญญาณยอยหนึ่งจะเปนจุดที่ spectrum ของสัญญาณยอยอื่น ๆ มีคาเปนศูนยทําใหไมมีการซอนทับกันที่จุดสูงสุดเหลานี้ สรุป แลว OFDM ก็เปน FDM แบบหนึ่งนั่นเองหากแตมีการจัดวางคลื่นพาหยอยใหอยูใกลกันที่สุดโดยยังคงความตั้งฉากกันอยู OFDM

FDM

f

รูปที่ 4: Spectrum ของ OFDM และ spectrum ของ FDM ถาเราวิเคราะหสัญญาณในแกนเวลาโดยใช inverse Fourier transform เราจะเห็นวาสัญญาณที่เปนฟงกชัน sinc ในแกน ความถี่นั้นเทียบเทากับสัญญาณรูปสี่เหลี่ยมในแกนเวลา การที่ peak ของสัญญาณ sinc นั้นถูกวางไวที่ความถี่ k Δf นั้นเทียบเทา กับการคูณดวย e j 2π k Δft ดังแสดงในสมการตอไปนี้ p ( f − k Δf ) ⎯F⎯⎯ →1⎡ −1

T T⎤ ⎢− 2 , 2 ⎥ ⎣ ⎦

( t ) e + j 2π k Δft

ดังนั้นสัญญาณขางตนจะถูกจํากัดอยูระหวางเวลา t ∈ ⎡⎢ − , ⎤⎥ โดยที่ T = เมื่อนําเอาสัญญาณยอยมารวมกันเราจะได Δf ⎣ 2 2⎦ T T

1

N −1

s ( t ) = ∑ sk e+ j 2π k Δft k =0

⎡ ⎤ สําหรับเวลา t ∈ ⎢− , ⎥ แตถาเราใช pulse p ( f ) อื่นที่ไมใช ฟงกชัน sync สัญญาณรวมก็จะเปน ⎣ 2 2⎦ T T

6|P a g e

N −1

s ( t ) = ∑ sk P ( t ) e+ j 2π k Δft k =0

โดย P ( t ) คือ inverse Fourier transform ของ p ( f ) ขอสังเกต: สัญญาณ s ( t ) ไมจําเปนตองเริ่มจากเวลา − T 2 หากเราตองการใหสัญญาณถูกจํากัดอยูในชวงเวลา [t0 , t0 + T ] ก็สามารถทําไดโดยใชสัญญาณ ⎛ ⎛ T ⎞⎞ s ⎜ t − ⎜ t0 − ⎟ ⎟ 2 ⎠⎠ ⎝ ⎝

แทน สัญญาณ s ( t ) ในสวนของเครื่องรับสัญญาณนั้น ถาเราใชฟงชัน sinc เปน pulse p ( f ) ดังที่ยกตัวอยางขางตน และไมเกิดการ รบกวนภายในชองสัญญาณ นั่นคือ ถาสัญญาณ r ( t ) ที่ไดรับนั้นเปนสัญญาณ s ( t ) โดยตรง เมื่อเราตองการดึงเอาขอมูล s1 , s2 ,…, sN ออกมาจาก r ( t ) ก็สามารถทําไดโดยการแปลง r ( t ) ใหอยูในแกนความถี่ R ( f ) ดวย Fourier transform แลวชักสัญญาณ (sample) ที่ความถี่ f = mΔf โดย m = 0,1,… , N − 1

เราจะได N −1

N −1

k =0

k =0

R ( mΔf ) = ∑ sk p ( ( m − k ) Δf ) = ∑ sk

1 s sinc (π ( m − k ) ) = m Δf Δf

ซึ่งเทียบเทากับการรูคาของ sm เพราะเรารูคาของ Δf อยูกอนแลว จะเห็นไดวา การที่เราสามารถดึงเอาคา s1 , s2 ,…, sN ออกมาไดอยางงายดายก็เพราะจุด peak ของแตละฟงกชัน sync นั้น อยูตรงจุดที่ฟงกชัน sinc อื่นเปน 0 ทั้งสิ้น การนํา IDFT และ DFT มาใชใน OFDM การใช orthogonality ในสวนที่แลวนั้นทําให OFDM สามารถใชยานความถี่ไดอยางมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นเกือบเทาตัว เมื่อเทียบกับ FDM แบบธรรมดา แตปญหาใหญอีกประการของ FDM ก็คือการที่เครื่องสงตองผลิตสัญญาณพาหที่มีความถี่ได หลากหลาย ซึ่งหาก N มีคามากก็เปนเรื่องที่ทําไดยาก ในสวนนี้เราจะอธิบายถึงที่มาของการประมวลสัญญาณดวย IDFT (inverse discrete Fourier transform) และ DFT (discrete Fourier transform) ใน OFDM ซึ่งทําใหสามารถสงสัญญาณทั้ง N ความถี่ไดใน เวลาเดียวกัน กอนอื่น เราจะลอง sample สัญญาณ s (t ) ที่เวลา t = nT =

n โดย n = 0,1,…, N − 1 Δf

ซึ่งผลที่ไดก็คือ N −1

s [ n ] = s ( nT ) = ∑ sk e+ j 2π kn k =0

จะเห็นไดวา 7|P a g e

( s [ n ])

N −1 n=0

{

= IDFT ( sk )k = 0

N −1

}

ดังนั้น หากไมเกิดการผิดเพี้ยนของสัญญาณในชองสัญญาณ เราจะได r [ n ] = r ( nT ) = s [ n ]

และสามารถดึงเอาขอมูลกลับมาไดโดยการใช DFT สรุปวาในการสงขอมูลแบบ OFDM นั้น เราจะแปลงขอมูลจากแบบอนุกรม ซึ่งก็คือขอมูลที่เรียงกันมาตามลําดับเปนขอมูลแบบขนาน แลวทําการประมวลขอมูลทั้งชุดในเวลาเดียวกันดวย IDFT จากนั้นจึง สงออกไปในชองสัญญาณ ที่เครื่องรับก็จะประมวลผลสัญญาณโดยใช DFT เพื่อใหไดขอมูลกลับคืนมาดังสรุปดวยแผนผัง ตอไปนี้

( sk )k = 0 → N −1

IDFT → ( s [ n ])n = 0

N −1

→ ( r [ n ])n = 0 → DFT → ( Rk )k = 0 = ( Sk )k = 0 N −1

N −1

N −1

นอกจากนี้ เพราะขอมูลผานการ IDFT กอนที่จะถูกสงออกไป เราจึงเรียกขอมูลเหลานี้วาสัญลักษณในแกนความถี่ (frequencydomain symbol) 1 1 เปน factor อยูดวย ดวยเหตุนี้จึงไมมี factor ใน IDFT เราสามารถนิยาม N N 1 DFT ใหมเพื่อใหการแปลงของ DFT และ IDFT คลายกันมากขึ้น ซึ่งทําไดโดยการใช factor ทั้งในสูตรของ DFT และ N 1 IDFT นิยามทั้งสองแบบนี้เทียบเทากัน หากเราเลือกที่จะใชนิยามใหมก็สามารถทําไดโดยการสง s ( t ) แทน s (t ) . N

ขอสังเกต: นิยามของ DFT ที่เราใชขางตนนั้นมี

เมื่อเราใช IDFT แลวก็ไมมีความจําเปนที่จะตองมี oscillator สําหรับแตละคลื่นพาหยอย เทคนิคการใช DFT/IDFT รวมกับ OFDM นี้เรียกวา Discrete Multi-Tone (DMT) [Weinstein71] นอกจากนี้สิ่งที่ลดปญหาความยุงยากของเครื่องรับสง แบบ OFDM ก็คือ การนําเอา IFFT หรือ Inverse Fast Fourier Transform มาแทน IDFT โดย IFFT นั้นสามารถประมวลผลได อยางรวดเร็วเมื่อเทียบกับ IDFT ในทํานองเดียวกัน สวน DFT ของ OFDM ก็ถูกแทนที่โดย FFT (fast Fourier transform) การ ประมวลผลโดย FFT สามารถลดจํานวนการคูณในการแปลงแบบ DFT จาก N 2 เปน N log N สําหรับขอมูลที่มีขนาด N นอกจากการนี้ยังมีการเพิ่มชวงเวลาปองกัน (guard time) เพื่อปองกันผลกระทบที่เกิดจาก multipath fading ที่เรา กลาวถึงขางตน โดยมีการเสริมสัญญาณดวย cyclic prefix ซึ่งเปนการคัดลอกเอาสัญลักษณสวนทายของแตละ block ขอมูลมา สอดไวกอน block ขอมูลนั้น ปญหาของ OFDM: อัตราสวนกําลังงานสูงสุดตอกําลังงานเฉลี่ย ปญหาที่สําคัญมากของระบบ OFDM ก็คือการที่สัญญาณมีอัตราสวนกําลังงานสูงสุดตอกําลังงานเฉลี่ย (Peak-to-Average Power Ratio, PAPR) ที่สูง เมื่อสัญญาณที่มีคา PAPR สูงเขาสูวงจรขยาย (amplifier) ของเครื่องสง วงจรขยายจะตองทํางานในชวงอิ่มตัว และทํางานแบบไมเปนเชิงเสน (non-linear) จึงเกิดการผิดเพี้ยนของสัญญาณ เปนผลใหอัตราความผิดพลาดบิตขอมูล (Bit Error Rate: BER) เพิ่มสูงขึ้น นอกจากนี้ยังทําให spectrum ของสัญญาณล้ําออกนอกแถบความถี่ของชองสัญญาณไปรบกวน ชองสัญญาณอื่น หากตองการการขยายสัญญาณเชิงเสน ก็จะมีผลตอประสิทธิภาพทางกําลังของ amplifier ที่ใชงาน ทําใหตองใช amplifier ที่มีราคาแพง 8|P a g e

ในสวนนี้เราจะใชทฤษฎีความนาจะเปนมาอธิบายวาเหตุใดคา PAPR จึงสูงตามคา N กอนอื่น ถาเรายอนกลับวิเคราะห สัญญาณของ OFDM หลังจากผาน IFFT จะเห็นวาสัญญาณมีคาดังนี้ s [ n] =

1 N

N −1

∑s e k =0

+ jωk

โดย ωk = 2π k

k

n และ n = 0,1,… , N − 1 N

ซึ่งโดยปกติแลว sk จะเปนจํานวนเชิงซอน หากมีการใชคลื่นพาหยอยจํานวนมาก (N มีคาสูง) ก็มีโอกาสสูงที่ s [ n] จะมีคา มาก เพราะเปนผลของการรวมกันของสัญญาณขอมูลหลังการทํา IFFT ในที่นี้ถาเราสมมติให s0 , s1,…, sN −1 เปนตัวแปรสุม เชิงซอน (complex random variable) ซึ่งหมายความวาแตละตัวแปรสุม sk จะสามารถแบงเปนสวนจริงคือ Re{sk } และ สวน เชิงซอนคือ Im{sk } โดยทั้งสองสวนเชื่อมกันดวยความสัมพันธ sk = Re {sk } + j Im {sk }

ดังนั้นเราจึงมีตัวแปรสุม 2N ตัวแปร ดังนี้ Re {s0 } , Im {s0 } , Re {s0 } , Im {s0 } ,…, Re {sN −1} , Im {sN −1}

โดยตัวแปรสุมทั้งหมดเปนจํานวนจริง ในสวนนี้เราจะใหตัวแปรสุมทั้งหมดมีลักษณะเปน iid (independent and identically distributed) โดย 2 2 Re{sk } = Im {sk } = 0 และ E ⎡( Re {sk } ) ⎤ = E ⎡( Im {sk } ) ⎤ = σ 2 ⎣ ⎦ ⎣ ⎦

ซึ่งผลที่ตามมาก็คือ 1) E [ sk ] = 0 2 2 2 2) E ⎡⎣ sk ⎤⎦ = E ⎡( Re {sk } ) ⎤ + E ⎡( Im {sk } ) ⎤ = 2σ 2 ⎣ ⎦ ⎣ ⎦ 3) E ⎡⎣( Re {sk } ) ( Im {si } ) ⎤⎦ = 0

4) ถาคา i ≠ k แลว a) E ⎡⎣( Re {sk } ) ( Re {si } ) ⎤⎦ = 0

b) E ⎡⎣( Im {sk } ) ( Im {si } ) ⎤⎦ = 0 c) E ⎡⎣ si sk* ⎤⎦ จะเปน 0 เพราะ si กับ sk นั้นเปนอิสระ (independent) จากกัน สงผลให E ⎡⎣ si sk* ⎤⎦ = E [ si ] E ⎡⎣ sk* ⎤⎦ = 0 × 0 = 0 ( iid )

ดังนั้นเราสามารถหาคาคาดหมายของคากําลังงานเฉลี่ยไดเปน 2 1 N −1 N −1 2 E ⎡ s [ n] ⎤ = E ⎡⎣ s [ n] s* [ n]⎤⎦ = ∑∑ E ⎡⎣ si sk* ⎤⎦ e+ jωi e− jωk = E ⎡ sk ⎤ = 2σ 2 ⎣ ⎦ ⎣ ⎦ N k =0 i =0 นอกจากนี้เรายังสามารถกระจาย s [ n] ออกเปนสวนจริงและสวนเชิงซอน โดยที่

Re {s [ n ]} =

1 N 1 Im {s [ n ]} = N

N −1

∑ ( Re {s } cos (ω ) − Im {s } sin (ω ) ) k =0

k

k

k

k

N −1

∑ ( Re {s } sin (ω ) + Im {s } cos (ω ) ) k =0

k

k

k

k

9|P a g e

หาก N นั้นมีคามาก เราสามารถใชทฤษฎีเซ็นทรัลลิมิตของ Lyapunov (Lyapunov Central Limit Theorem) ประมาณคาความ หนาแนนเชิงความนาจะเปน (probability density) ของตัวแปรสุมทั้งสองดวย ตัวแปรสุมแบบ Gaussian ที่มีคาคาดหมายและคา ความเบี่ยงเบนเดียวกันกับตัวแปรสุมทั้งสอง ในที่นี้เรารูแลววา E [ sk ] = 0 สําหรับคาความเบี่ยงเบนนั้น เพราะคาคาดหมาย เปน 0 เราจึงสามารถหาคาความเบี่ยงเบนจาก ⎡ 2 Var ⎡⎣ Re {s [ n ]}⎤⎦ = E ⎢ Re {s [ n ]} − E ⎡⎣ Re {s [ n ]}⎤⎦ ⎢ ⎢⎣ 0

⎤ ⎥ = E ⎡ Re {s [ n ]} 2 ⎤ ⎥ ⎣⎢ ⎦⎥ ⎥⎦ 2 ซึ่งถาเราแทนคา Re{s [ n ]} ดวยสมการที่ประกอบดวยพจนที่มี cosine และ sine ขางตน คาของ E ⎡⎢ Re {s [ n ]} ⎤⎥ จะเปน ⎣ ⎦ N −1 N −1 ⎡1 ⎤ E ⎢ ∑∑ ( Re{si } cos (ωk ) − Im {si } sin (ωk ) ) ( Re {sk } cos (ωk ) − Im {sk } sin (ωk ) ) ⎥ ⎣ N k =0 i =0 ⎦ หลังจากกระจายผลคูณออกมา เราสามารถกําจัดพจนที่มี Im {si } Re{sk } และ Re{si } Im {sk } ไดเพราะมีคาคาดหมาย

) (

(

)

(

2

)

(

)

เปน 0 นอกจากนี้เมื่อ i ≠ k เรายังสามารถกําจัดพจนที่มี Re{si } Re{sk } และ Im {si } Im {sk } ได ดังนั้นสิ่งที่เหลืออยู คือ

(

2 2 2 1 N −1 E ⎡ Re{s [ n ]} ⎤ = ∑ E ⎡( Re{sk } ) ⎤ cos 2 (ωk ) + E ⎡( Im {sk } ) ⎤ sin 2 (ωk ) ⎦ ⎣ ⎦ ⎣⎢ ⎦⎥ N k = 0 ⎣ 2 2 เมื่อแทนคา E ⎡( Re {sk } ) ⎤ = E ⎡( Im {sk } ) ⎤ = σ 2 เราจะได ⎣ ⎦ ⎣ ⎦ 2 E ⎡ Re {s [ n ]} ⎤ = σ 2 ⎣⎢ ⎦⎥

(

)

(

)

)

เราสามารถใชวิธีการเดียวกันหาคาอื่น ๆ ดังตอไปนี้ 2 1) E ⎡( Im {sk } ) ⎤ = σ 2

2)

⎣ ⎦ E ⎡ Re {s [ n ]} Im {s [ m ]} ⎤ = 0 ⎣ ⎦

(

)(

)

3) สําหรับ n ≠ m E ⎣⎡( Re {s [ n ]}) ( Re {s [ m ]}) ⎦⎤ = E ⎣⎡( Im {s [ n ]}) ( Im {s [ m ]}) ⎦⎤ = 0 ดังนั้นเราจึงสรุปไดวา เมื่อ N มีคามาก เราสามารถประมาณตัวแปรสุม Re {s [ 0]} , Im {s [ 0]} ,… , Re {s [ N − 1]} , Im {s [ N − 1]}

ดวยตัวแปรสุมแบบ Gaussian N ( 0,σ 2 ) ที่เปนอิสระจากกัน ดังนั้นตัวแปรสุม s [ 0] , s [1] ,…, s [ N − 1] 2

2

2

จึงมีลักษณะเปน iid โดยมีการกระจายแบบ exponential เพราะ

(

) (

s [ n ] = Re {s [ n ]} + Im {s [ n ]} 2

2

)

2

เปนการรวมกันแบบ Euclidean ของตัวแปรสุม Gaussian สองตัวแปรที่มีการแจกแจงแบบ iid โดยมีฟงกชันความหนาแนน (pdf) 2 เปนแบบเลขชี้กําลัง (exponential) ที่มีคาคาดหมายเปน E ⎡ s [ n ] ⎤ = 2σ 2





10 | P a g e

เราจะนิยามคา PAPR โดยสมการตอไปนี้ Γ=

max s [ n ]

0 ≤ k ≤ N −1

2 E ⎡ s [ n] ⎤ ⎣ ⎦

2

=

max s [ n ]

0 ≤ k ≤ N −1

2σ 2

2

= max

0 ≤ k ≤ N −1

s [n]

2

2σ 2

จะเห็นไดจากนิยามของ PAPR วาคาเศษเปนคากําลังงานสูงสุดและคาสวนเปนคากําลังงานเฉลี่ย ดังที่ไดอธิบายไปแลวขางตน เมื่อ N มีคามาก s [ n] จะมีการแจกแจงแบบ exponential เพราะฉะนั้น ตัวแปรสุม s [ n] 2σ 2 จึงมีการแจกแจงแบบ 2

2

exponential ดวย และมีคาคาดหมายเปน 1 เพราะ 2 ⎡ s [ n ] 2 ⎤ E ⎡ s [ n ] ⎤ 2σ 2 ⎥= ⎣ 2 ⎦ = E⎢ =1 2 2σ 2σ 2 ⎢ 2σ ⎥ ⎣ ⎦

เมื่อเปนเชนนี้ ตัวแปรสุม Γ จึงเปนการหาคาสูงสุดของตัวแปรสุมที่แจกแจงแบบ iid exponential จํานวน N ตัวแปร เราจึง สามารถหาความนาจะเปนที่ตัวแปรสุม Γ จะมีคาเกินจํานวนจริง γ ไดเปน P [ Γ > γ ] = 1 − (1 − e −γ )

N

เราจะสังเกตไดวาคาความนาจะเปนนี้เพิ่มสูงขึ้นเมื่อ N ซึ่งก็คือจํานวนของคลื่นพาหยอยมีคามากขึ้น มีงานวิจัยจํานวนมากที่นําเสนอวิธีการลด PAPR (PAPR reduction schemes) วิธีที่เราจะกลาวถึงก็คือ Signal distortion technique ซึ่งใชการบิดเบือนบริเวณสวน peak ของสัญญาณแบบไมเปนเชิงเสนตรง เพื่อไมใหสัญญาณมีคามากเกินไป โดยวิธีที่ งายที่สุดก็คือการ clip สัญญาณที่ระดับ γ ที่ตั้งไวกอน [2, 3] ซึ่งเทียบไดกับการคูณสัญญาณที่มีดวย ฟงกชันรูปสี่เหลี่ยมซึ่งเรา จะเรียกวา rectangular window ที่มีความสูงเทากับ γ หากเราใชวิธีนี้ แนนอนวาจะไมมีสัญญาณที่มีขนาดสูงกวา γ ออกมาจาก เครื่องสง อยางไรก็ตาม เมื่อสัญญาณถูก clip ไปก็จะมีรูปรางไมเหมือนเดิมซึ่งทําใหอัตราความผิดพลาดบิต (BER) ที่เครื่องรับ สูงขึ้นไปดวย นอกจากนี้ spectrum ของสัญญาณจะขยายขึ้น เพราะการคูณดวย Rectangular window ในแกนเวลาเทียบเทากับ การประสาน (convolve) สัญญาณดวยฟงกชัน sinc เมื่อ spectrum ของสัญญาณขยายขึ้นสัญญาณก็จะไปรบกวนสัญญาณในยาน ความถี่อื่น ดังนั้นเพื่อลดการไปรบกวนสัญญาณนอกแถบความถี่ จึงไดมีการเปลี่ยนเปน window แบบอื่นที่มี spectrum ที่ดีกวา เชน การใช window แบบ Gaussian [7], cosince, Kaiser, หรือ Hamming วิธีการลด PAPR นั้นยังมีอีกหลายวิธี ตัวอยางเชน การ ใชเทคนิค peak cancellation [8, 9] อีกวิธีหนึ่งก็คือการเขารหัสขอมูลกอนที่จะสงสัญญาณเพื่อกําจัดกลุมสัญลักษณที่มีคา PAPR สูงเกินไป [1, 10] ที่จริงแลว การพยายามลดคา PAPR ใหไดมากที่สุดนั้น อาจไมใชสิ่งที่ถูกตองนัก เพราะจุดมุงหมายที่แทจริงของการ สื่อสารก็คือการนําขอมูลสงไปใหถึงปลายทางอยางถูกตอง ดังนั้นนักวิจัยบางกลุมจึงใหความสนใจกับการหา efficient PAPR ซึ่ง ก็คือ PAPR ที่ดีที่สุดภายใตเกณฑที่นักวิจัยสรางขึ้น [11]

Reference [1] S. J. Shepherd, P. W. J. Van Eetvelt, C. W. Wyatt-Millington, and S. K. Barton, “Simple coding scheme to reduce peak factor in QPSK multicarrier modulation,” Electron. Lett., vol. 31, no. 14, pp. 1131–1132, July 1995. 11 | P a g e

[2] D.Wulich, “Peak factor in orthogonal multicarrier modulation with variable levels,” Electron. Lett., vol. 32, no. 20, pp. 1859–1860, Sept. 1996. [3] X. Li and L. J. Cimini Jr., “Effects of clipping and filtering on the performance of OFDM,” IEEE Commun. Lett., vol. 2, pp. 131–133, May 1998. [4] A. Papoulis, Probability, Random Variables, and Stochastic Processes, 2nd ed. New York: McGraw-Hill, 1984. [5] D. Wulich, N. Dinur, and A. Gilinowiecki, “Level clipped high order OFDM,” IEEE Trans. Commun., vol. 48, pp. 928930, June 2000. [6] Weinstein, S.B., Ebert P.M. Data Transmission By Frequency Division Multiplexing Using the Discrete Fourier Transform. IEEE Trans. Commun., Oct 1971; COM-19; 5: 628-634. [7] Pauli, M., and H. P. Kuchenbecker, “Minimization of the Intermodulation Distortion of a Nonlinearly Amplified OFDM Signal,” Wireless Personal Communications, Vol. 4, No. 1, January 1997, pp. 93–101. [8] De Wild, A., “The Peak-to-Average Power Ratio of OFDM,” M.Sc. thesis, Delft University of Technology, Delft, the Netherlands, September 1997. [9] May, T., and H. Rohling, “Reducing the Peak-to-Average Power Ratio in OFDM Radio Transmission Systems,” Proceedings of IEEE VTC’98, Ottawa, Canada, May 18–21, 1998, pp. 2774–2778. [10] Wilkinson, T. A., and A. E. Jones, “Minimization of the Peak-to-Mean Envelope Power Ratio of Multicarrier Transmission Schemes by Block Coding,” Proc. of IEEE Vehicular Technology Conference, Chicago, IL, July 1995, pp. 825–829. [11] Wulich, D., "Definition of efficient PAPR in OFDM," Communications Letters, IEEE , vol.9, no.9, pp. 832-834, Sep 2005

12 | P a g e

Related Documents

Prapun - Ofdm
May 2020 1
Intro Ofdm
May 2020 3
Historia Ofdm
May 2020 1
Paper-ofdm
November 2019 1
Intro Ofdm
June 2020 1
Mimo Ofdm Text
May 2020 1