การวิเคราะห์ทรานสเซียนของระบบอันดับสอง

  • Uploaded by: AllwayLLG
  • 0
  • 0
  • June 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View การวิเคราะห์ทรานสเซียนของระบบอันดับสอง as PDF for free.

More details

  • Words: 2,796
  • Pages: 8
การวิเคราะหทรานสเซียนของระบบอันดับสอง

นายวีระยุทธ บุญรอง คณะวิศวกรรมศาสตร สาขาวิศกรรมไฟฟา มศว ถนนรังสิต-นครนายก อําเภอองครักษ จังหวัดนครนายก 26120 21/07/2547 บทคัดยอ การทดลองนี้เปนการวิเคราะหหาผลตอบสนองในสภาวะขั้นบันได ของระบบควบคุมอันดับสอง(second order)แบบลูปปด (close loop) จะทํา ใหเราเขาใจคุณลักษณะตางๆ ของระบบอันดับสองในสภาวะทรานสเซียน และสามารถที่จะตรวจสอบสมรรถนะของระบบในสภาวะทรานสเซียนจาก ผลตอบสนองแบบขั้นบันได บทนํา การทดลองนี้เปนการวิเคราะหผลตอบสนองในสภาวะทรานสเซียน ของระบบควบคุมอันดับสองแบบลูบปดซึ่งเปนการคอนโทรลระบบเพื่อ นําไปประยุกตใชในระบบตางๆ ซึ่งระบบจะมีดวยกันสองอยางคือแบบ Open loop control เปนวิธีที่ไมสามารถทําใหระบบที่ Unstable มี เสถียรภาพไดอีกวิธีคือ close loop control เปนระบบที่เราสามารถที่จะทํา ใหระบบมีเสถียรภาพหรือ Stable ไดเปนการพิจารณาเอาทพุตเพื่อนําเอา ขอมูลมาชวยในการตัดสินใจปอนอินพุตเขาไปทําใหเราสารถควบคุม ระบบใหมีเสถียรภาพไดเราเรียกการการควบคุมแบบ close loop นี้วา feed back control เราเรียกการควบคุมแบบนี้วาการควบคุมแบบปอนกลับ เราจะนิยมใชบล็อกไดอะแกรมในการแสดงหรืออธิบายถึงฟงกชัน ของสวนประกอบตางๆ ของระบบบล็อกไดอะแกรมจะเปนรูปที่แสดงถึง สวนประกอบของระบบควบคุมทั้งหมด ตลอดจนแสดงทิศทางการใหล ของระบบนั้นๆ ในการทดลองนี้จะนําเอาบล็อกไดอะแกรมมาใชเพื่อใช แสดงทิศทางการไหลของสัญญาในระบบนั้นๆ และยังแสดงความสําพันธ ภายในระหวางสวนของระบบดวย บล็อกไดอะแกรมของระบบควบคุมที่มี ขนาดใหญหรือซับซอนนั้น จะประกอบไปดวยบล็อกไดอะแกรมหลายๆ บล็อก โดยที่แตละบล็อกจะประกอบดวยฟงกชันถายโอนของ สวนประกอบแตละสวนของระบบ และนําบล็อกทั้งหมดมาตอรวมกันโดย ใชลูกศรแสดงทิศทางการไหลของสัญญาณ ฟงกชันการถายโอน หรือ Transfer Function ในการศึกษาและ วิเคราะหระบบควบคุมโดยใชทฤษฎีแบบดั้งเดิมนั้นขั้นแรกจะตอง ทําการศึกษาระบบทางกายภาพกอน จากนั้นใชกฏตาง ๆ ที่เกี่ยวของทํา การสรางสมการทางคณิตศาสตร (สมการ Differential equation) ของ ระบบทางกายภาพนั้น แลวจัดใหอยูในรูปฟงกืชันถายโอน จากนั้นจึงทํา การวิเคราะหพฤติกรรมของระบบตอไป ฟงกชันถายโอนมีคุณสมบัติที่สําคัญดังนี้ 1. ใชกับระบบที่เปนเชิงเสน และไมแปรตามเวลา 2. เปนอัตราสวนระหวางเอาทพุทตออินพุทของระบบบ โดยอยูใน รูปของการปลงลาปลาซ 3. คาคงที่ที่สภาวะแรกเริ่มจะถูกสมมุติใหมีคาเทากับศูนย 4. ไมขึ้นอยูกับอินพุทที่มากระทําตอระบบ 5. เปนตัวแสดงถึงพฤติกรรมของระบบนั้น ๆ 6. ไมสามารถใหขอมูลรายละเอียดของระบบทางกายภาพได หรือ หมายความวาระบบทางกายภาพที่แตกตางกันหลายๆ ระบบ อาจจะมีฟงกชันถายโอนเหมือยกันก็ได 7. อาจจะประยุกตใชกับระบบที่มีหลายอินพุทหลายเอาทพุทได ขอมูลนั้นๆ ได โดยเฉพาะอยางยิ่งผลตอบสนองแบบ ขั้นบันไดเมื่อพิจราณารูปมาตรฐานของระบบถายโอนลูบปด ของระบบอันดับสอง

ฟงกชันถายโอนของลูป คือ

ωn2 C ( s) G ( s) = = R( s ) s ( s + 2ξωn ) โดยที่

ξ และ ωn

เปนคาจริง และมีคาคงที่และฟงกชันถายโอนของลูป

ปดคือ

ωn2 C (s) = 2 R( s ) s + 2ξωn s + ωn2 สมการคุณลักษณะของลูปปด คือ

∆( s ) = s 2 + 2ξωn s + ωn 2 = 0

ξ คือ Damping Ratio ω n คือ Undamping Natural Frequency

โดยที่

พฤติกรรมทางพลศาสตรของระบบอันดับสองสามารถอธิบายไดใน เทอมของพารามิเตอรสองตัวคือ

ξ

และ

ω

n โดยพิจารณาไดเปน 5

กรณีคือ

1. กรณี Undamped ( ξ =0 )กรณีนี้รากของสมการคุณลักษณะ (

หรือ pole ของลูปปด) จะอยู บนแกน Imaginary ในระนาบ s ซึ่งเอาทพุทของระบบจะเกิดการแกวง (Oscillate) อยางตอเนื่องไป 2.กรณี Underdamped ( 0 < ξ

< 1 )กรณีนี้ รากของสมการคุณ

ลักษณะ จะเปนปริมาณเชิงซอน (Complex Conjugate) และอยูทาง ครึ่งซายในระนาบ s และระบบจะเปนแบบ Underdamped วึ่ง ผลตอบสนองชั่วครูของระบบเกิดการแกวงภายใตการหนวง

3. กรณี Critical Damped ( ξ

= 1)

กรณีนี้ รากของสมการคุณลักษณะจะมีคาเทากันและอยูบน แกน Real ทางครึ่งซายของระนาบ s ซึ่งผลตอบสนองตอเวลาของ ระบบจะเหมือนหรือคลายกับผลตอบสนองของระบบอันดับหนึ่ง และไมมีการแกวง

4. กรณี Overdamped ( ξ

> 1)

กรณีนี้รากของสมการคุณลักษณะจะมีคาไมเทากันแตจะบน แกน Real ทางครึ่งซายในระนาบ s ทั้งหมด และผลตอบสนองตอ เวลาของระบบจะเหมือนหรือคลายกับผลตอบสนองของระบบ อันดับหนึ่ง และไมการแกวง 5. กรณี Negative Damped ( ξ

> 1)

กรณีนี้รากของสมการคุณลักษณะจะอยูบนแกน Real ทางครึ่งขวา ในระนาบ s และระนาบจะไมมีเสถียรภาพ ทฤษฎีที่เกี่ยวของ ระบบอันดับสอง หรือ Second Order Systems พิจารณาระบบอันดับ สองในรูปขางลางนี้ โดยที่การปอนกลับจะเปนแบบ Unity Feedback H(s)=1 +

E(s)

C(s)

ω -

2 n

s ( s + 2ξ ω n )

ผลตอบสนองตออินพุตที่เปนแบบ Unit Step (Unit Step Response)

กรณี Undamped ( ξ =0 )

จากสมการทั่วไปของฟงกชันถายโอนของลูปปดคือ คือ

ωn2 C (s) = 2 R( s ) s + 2ξωn s + ωn2

เมื่อ ( ξ =0 ) จะไดวา

จะเห็นวาผลตอบสนองของระบบจะเกิดการแกวงชั่วครูดวยความถี่

ω2 C ( s) = 2 n 2 R ( s ) s + ωn

และแปรคาไปตามอัตราความหนวง

คาความคลาดเคลื่อนจะหาไดจาก

สมการคุณลักษณะของลูปปดคือ

e(t ) = r (t ) − c(t )

∆ ( s ) = s 2 + ωn 2 = 0 รากของสมการคุณลักษณะคือ

=

s1 , s2 = ± jωn นั่นคือ รากของสมการคุณลักษณะจะอยูบนแกน Imaginary ในระนาบ s

ωn

โดยมีคาเทากับ

และเมื่ออินพุตเปน Unit Step R(s) มีคาเทากับ 1/s จะไดวา

C ( s) =

ωn

2

s ( s + ωn 2 ) 2

c(t ) = 1 − cos ωnt นั่นคือ เมื่อ

t=0

เมื่อทําการแปลงลาปลาซ จะได

(t

ωn

<1)

∆( s ) = s 2 + 2ξωn s + ωn 2 = 0 รากของสมการคุณลักษณะคือ

s1 , s2 = −ξωn ± jωn 1 − ξ 2 = −α ± jω โดยที่ α Damping Factor หรือ Damping Constant ω Damping Natural Frequency ดังนั้น เมื่อนําไปกําหนดจุดไวบนระนาบจะไดความสําพันธที่สําคัญคือ

ξ = damping _ ratio =

α ωn

อนึ่งคาของ

ωn 2 s ( s 2 + 2ξωn s + ωn 2 )

ทําการแปรงกลับลาปลาซจะไดวา

≥0

e −ξωnt 1− ξ

2

เสมอ

กรณี Critical Damped ( ξ =1)

และคาอินพุทเปน Unit Step จะได

C ( s) =

ωn 2 ( s + ωn ) 2 s

ทําการแปรงกลับลาปลาซจะได

c(t ) = 1 − e −ωnt (1 + ωn t ) (t ≥ 0) ซึ่งจะเห็นวา ผลตอบสนองเวลาของระบบอันดับสองนี้ไมมีการแกวง กรณี Overdamped

(ξ f 1)

กรรีนี้รากของสมการคุรลักษณะจะมีคาไมเทากันแตจะเปนคาจริงที่ เปนลบทั้งสองคา นั่นคือ

s1 = −(ξ + ξ 2 − 1)ωn s2 = −(ξ − ξ 2 − 1)ωn และเมื่อคาอินพุทเปน Unit Step จะได

C ( s) =

เมื่ออินพุทเปน Unit Step R(s) มีคาเทากับ 1/s จะไดวา

เมื่อ t

ω จะตองนอยกวา ωn

2

ξ = cos θ

C (t ) = 1 −

sin(ωn 1 − ξ 2 t + cos −1 ξ )

นั่นคือ คาความคลาดเคลื่อนของระบบจะเกิดการแกวงที่มีความหนวงและ เมื่อเขาสูสภาวะคงที่ คาความคลาดเคลื่อนจะมีคาเทากับศูนย

สมการคุณลักษณะของลูปปดคือ

C ( s) =

1− ξ

2

s1 , s2 = −ωn

≥ 0)

ตอเนื่องกันไป โดยที่ความถี่ของการแกวงคือ

ω = ωn 1 − ξ

e −ξωnt

กรณีนี้ รากของสมการคุณลักษณะจะมีคาเทากัน นั่นคือ

เอาทพุทของระบบจะเกิดการแกวงอยาง

กรณี Underdamped ( 0 < ξ

ξ

ω

sin(ωn 1 − ξ 2 t + cos −1 ξ )

ωn 2 ( s + ξωn + ωn ξ 2 − 1)( s + ξωn − ωn ξ 2 − 1) s

ทําการแปลงลาปลาซจะได

ωn

e − s1t e − s2t c(t ) = 1 + ( − ) s2 2 ζ 2 − 1 s1

(t ≥ 0)

ผลตอบสนองของระบบอันดับสองในกรณีนี้จะคลายกับผลตอบสนองของ ระบบอันดับหนึ่ง และประกอบไปดวยเทอมของExponential ที่ลดลงเร็ว (หมายถึง Time Constant ที่มีคานอย)อาจจะตัดทิ้งไดเพราะมีผลตอ ผลตอบสนองที่นอย ขอกําหนด (Specifications) ของผลตอบสนองชั่วครูของระบบอันดับสอง สมรรถนะของระบบอันดับสองจะแสดงในเทอมของปริมารตาง ๆ ใน โดเมนของเวลาโดยจะวิเคราะหสมรรถะจากผลตอบสนองชั่วครุของระบบ ตออินพุทเปน Unit Step สําหรับขอกําหนดตาง ๆ ประกอบดวย

1. Maximum Overshoot ซึง่ ในบางครั้งจะแสดงในเทอมของ percent maximum overshoot เปนคาแตกตางระหวางเอาทพุทที่มี คาสูงสุดของระบบกับเอาทพุทที่สภาวะคงที่

ωn 1 − ζ 2 t = nπ

และ

n = 0,1, 2,... nπ t= ωn 1 − ζ 2

Percent Maximum Overshoot= [M p / Css ]

tp =

จะไดวา

M p = Cmax − Css

Maximum Overshoot จะใชแสดงถึงเสถียรภาพสัมพัทธของระบบ โดยทั่วไประบบที่มี Overshoot มากนั้นจะไมเปนที่ตองการนอกจากนี้ Maximum Overshoot จะเปนขอกําหนดสําหรับการออกแบบระบบควบคุม ดวย 2.

td

Delay Time

Delay Time

td

tr

เปนชวงเวลาที่ผลตอบสนองชั่วครูของระบบมีคา

เพิ่มขึ้นจาก 10 % ไปถึง 90% ของคาที่สภาวะคงที่ ในบางครั้ง อาจจะถือไดวา Rise Time เปนชวงเวลาที่ผลตอบสนองมีคาจาก 10% - 90% หรือ 5% - 95% หรือ 0% - 100% ของคาที่สภาวะคงที่ ก็ได 4.

Settling time t s

Settling time

ts

เปนชวงเวลาที่ผลตอบสนองตอเวลาของระบบมี

คาเขาสูชวง 2% หรือ 5% ของคาที่สภาวะคงที่และมีคาอยูในชวงนี้ ตลอด หรือหมายถึงคาเวลาที่ผลตอบสนองตอเวลาเปลี่ยนสภาพ จากผลตอบสนองชั่วครูไปเปนผลตอบสนองที่สถาวะคงที่ Peak Time ( t p หรือ t max ) Peak Time เปนคาของเวลาที่ผลตอบสนองชั่วครุของระบบเกิด Maximum Overshoot

5.

ขอกําหนดตาง ๆ เหลานี้จะใชวัดคุณลักษณะของผลตอบสนองชั่วครุตอ อินพุทแบบ Unit Step เทานั่น แตไมสามารถจะนําไปใชในทุกกรณีไดเชน ระบบที่เปนแบบ Critical Damped และ overdamped นั้นจะไมมีคาของ Maximum overshoot และ peak time นอกจากนี้ ขอกําหนดเหลานี้จะ ใชไดกับระบบที่มีเสถียรภาพเทานั้นเพราะระบบที่ไมมีเสถียรภาพนั้น ผลตอบสนองของระบบจะมีขนาดใหญขึ้นเรื่อย ๆ จนไมสามารถควบคุม ได การคํานวณหาขอกําหนดตาง ๆ ของผลตอบสนองชั่วครุของระบบอันดับ สอง ในหัวขอนี้จะแสดงถึงวิธีการหาคาตาง ๆ โดยพิจารณาเอาทพุตของ ระบบอันดับสองที่มีอินพุทแบบ Unit Step

C ( s) =

ωn 1 − ζ 2

Mp โดยที่คาตาง ๆ เหลานี้จะอยูในเทอมของ

ξ และ ωn

และในที่นี้จะ

กําหนดระบบอันดับสองเปนแบบ Undedamped

tp

Peak Time

จากสมการขางตน ทําการหาคาอนุพันธอันดับหนึ่งเทียบกับเวลาและให คาอนุพันธที่หาไดมีคาเทากับศูนย

Rise Time t r

Rise Time

π

เปนชวงเวลาที่ผลตอบสนองชั่วครูของระบบมีคา

เขาสู 50% ของคาที่สภาวะคงที่ 3.

เมื่อ

ωn 2 s( s 2 + 2ξωn s + ωn 2 )

และผลตอบสนองตอเวลาคือ 2 ωn dC (t ) e −ζ ωnt sin ωn 1 − ζ 2 t ; t ≥ 0 = 2 dx 1− ζ

dC (t ) ωn e −ζωnt = [ζ sin(ωt + θ ) − 1 − ζ 2 cos(ωt + θ )] 2 dx 1− ζ ; t ≥ 0 จัดรูปใหมคือ 2 ωn dC (t ) = e −ζ ωnt sin ωn 1 − ζ 2 t ; t ≥ 0 dx 1− ζ 2

กําหนดให dc(t)/dt มีคาเทากับ 0 จะได

sin ωn 1 − ζ 2 t = 0 หรือ

ωn 1 − ζ 2 t = nπ

n = 0,1, 2,...

นั่นคือ

t=



n = 0,1, 2,...

ωn 1 − ζ 2

คาสูงสุดคาแรกของผลตอบสนองชั่วครูของระยบบจะเกิดขึ้นเมื่อ ดังนั้น

tp =

tp

(หรือ

n=1

tmax )

π ωn 1 − ζ 2

t = tp โดยทั่วไป สําหรับคาตาง ๆ ของ n ที่เปนเลขคี่ (n=1,3,5,…) สมการ ขางตนจะแสดงถึงเวลาตาง ๆ ที่เกิด Overshoot ขึ้น และ n ที่เปนเลขคู (n=2,4,6,…) นั้นจะเปนเวลาที่เกิด Undershoot Maximum Overshoot

Mp

Maximum Overshoot จะเกิดขึ้นที่เวลา Peak Time คา

t = tp

ลงในสมการผลตอบสนองตอเวลา จะไดวา

tp

ดังนั้นแทน

3

ts =

tr =

ζωn 0 < ζ < 0.69

n=1,2,3,…. หรือ

c(t ) max or min = 1 + (−1) n −1 e − nπζ /

1−ζ 2

ซึ่งจะสอดคลองกับอัตราหนวงที่อยูในชวง

cmax − 1 = e−πζ /

ของ

1−ζ 2

1−

Percent maximum overshoot=100e −πζ /

1−ζ 2

จะเห็นวา Maximum Overshoot ของระบบอันดับสองขึ้นอยูกับอัตราการ

ζ

เทานั้น

0 < ζ < 1.0

ผลตอบสนองเวลา c(t) ใหเทากับ 0.5 แลวหาคาของ td ซึ่งเปนวิธีที่ คอนขางจะยาก วีที่งายกวาก็คือ การนําเอาคาของ

0 p ζ p 1 เสนโคงก็สามารถประมาณดวยเสนตรง นั่นคือ 1 + 0.7ζ td ≅ 0 < ζ < 1.0

ของ

ωn

ts ≅

td

ดวยสมการอันดับสอง จะได

ζωn

ζ

tr =

1 1− ζ

e−ζωnts = 1.05

2

ωn t s = −

1

ζωn

ln(0.05 1 − ζ 2 )

ts ≅

3.2

ζωn

;0

< ζ < 0.69

กรณีทั่วไป

ts = ts =

4

(2% criterion)

ζωn 3

(5% criterion)

ζωn

พีชคณิตของภาพบล็อก (Block Diagram Algebra) พีชคณิตของภาพบล็อก คือ ขบวนการที่จะจดรูปของภาพบล็อกที่ ยุงยากซับซอนใหเปนภาพบล็อกที่งาย รูปแบบของภาพบล็อกที่ลดรูปจะ ทําใหงายและสะดวกขึ้น

3.2

Rise Time t r การหารคา Rise time ในทางคณิตศาสตรนั้น การใชกรณีของการ เปลี่ยนแปลงของผลตอบสนองตอเวลา c(t) ที่เปลี่ยนแปลงจาก 0% 100% หาคาที่ภาวะคงที่ ลํากําหนดใหผลตอบสนนองตอเวลา c(t) มีคา เทากับ 1 จากนั้นหาคา Rise time ออกมา ซึ่งจะเปนวิธีที่งายที่สุดในทาง คณิตศาสตร แตวิธีที่งายกวาก็คือ การนําเอาคาของ ωntr ตอคาตาง ๆ ของ

นั้น สามารถจะใชวิธีการประมาณไดโดยใช

นั่นคือ

ωntr ตอคาตาง ๆ

มา plot ดังแสดงในสมการ ขางลาง ซึ่งจะเห็นวา ตลอดยาน

หรือทําการประมาณคาของ

0 p ζ p 0.69

จะได

การหาคาที่แนนอนของ Delay Time นั้นทําไดโดยการแทนคาของ

ζ

การหา

กรอบ (envelope) ของผลตอบสนองตอเวลามาคํานวณโดยที่กําหนดให

และ

ของ

0 < ζ < 0.69

คาของ settling time ที่แนนอนกคอนขางทําไดยากเชนกัน แตในกรณี

Maximum Overshoot จะเกิดขึ้นที่ n=1 นั่นคือ

Delay Time

ωn

Settling Time t s Settling time ของระบบอันดับสองตออินพุทแบบ Unit Step จะ สามารถวัดออกมาไดเฉพาะเมื่อ Maximum Overshoot มีคามากวา 5%

n=1,2,3,….

หนวง เทานั้น

1 − 0.4167ζ + 2.917ζ 2

มา plot เชนเดียวกับกรณีของ Delay time จะไดวา

1 − 0.4167ζ + 2.917ζ

2

ωn

หรือทําการประมาณคาของ t r ดวยสมการอันดับสองจะได

การทดลอง ระบบควบคุมมอเตอรกระแสตรง เตอรตอไปนี้ตามลําดับ

และตารางคาพารามิเตอรของมอร

Gc(s) Vref e -

1 s

Ka

Gp(s) ea -

1 Ra

KT Kb

1 Js + b

ω

Ktach

Vt

1.จงหาฟงกชันถายโอนของระบบควบคุมลูปปด,

T.F.

=

Gc(s)

=

Gp(s)

=

=

=

Vteah ( s ) Vref ( s )

=

Vtach ( s ) Vraf ( s )

G c (s )G p (s )K tach 1 + G c (s )G p (s )K teah

1 ×Ka s 1 1 ×KT × Ra Js + b 1 1 1+ ×KT × ×Kb Ra Js + b

KT R a (Js + b) KK 1+ T b R a (Js + b)

Tachometer Sensitive, K tach

0.00955 V/rad/s

Motor Torque Constant, KT

0.027 Nm/A

Motor Back EMF Constant, K b

0.027 V/rad/s

Motor Armature Resistance, K a

5.3 Ohms

Motor Fricttion,b

6 ×10−6 Nms 1.57 ×10−6 Kgm 2

Motor Armature Inertia,J

=

3.จงใชคาพารามิเตอรจากตาราง คํานวณคา

=

=

K a K T K tach RaJ R a b + K T K b K a K T K tach 2 s + s+ RaJ RaJ

2.ผลตอบสนองในสภาวะอยูตัวของระบบเมื่อสัญญาณอินพุตเปนแบบ ขั้นบันได

lim v tach (t)

t→∞

=

limsVtach (s)

s→0

=

K a K T K tach RaJ 1 lims ⋅ ⋅ sin −1 θ R b K K K K K + s→0 T b s2 + a s + a T tach s RaJ Ra J

ζ

และ

ωn

เมื่อ

K n =0.5, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 8, 70 และ120 T.F. =

=

⎛ Ka ⎜ ⎝ s

K a K T K tach 2 R a Js + R a bs + K T K b s + K a K T K tach

s =0

=1

KT R a (Js + b) + K T K b

⎞ KT ⎞⎛ ⎟⎜ ⎟ ( K tach ) ⎠ ⎝ R a (Js + b) + K T K b ⎠ ∴T.F. = ⎞ K ⎛ KT 1 + ⎛⎜ a ⎞⎟ ⎜ ⎟ ( K tach ) ⎝ s ⎠ ⎝ R a (Js + b) + K T K b ⎠ K a K T K tach s(R a Js + R a b + K T K b ) = s(R a Js + R a b + K T K b ) + K a K T K tach s(R a Js + R a b + K T K b )

K a K T K tach RaJ + R b K KKK TK b s2 + a s + a T tach RaJ RaJ

Ka=0.5;

ω2n

15.4939 s + 91.4313s + 15.4939

T.F. =

2

91.4313 2 × 3.9362

T.F. =

= 8.2124

2

123.9516 s + 91.4313s + 123.9516 91.4313 ω2n = 123.9516 ωn = 11.1334 ξ = 2 ×11.1334

Ka = 4;

= 11.6142

2

61.9758 s + 91.4313s + 61.9758 91.4313 ωn = 7.8725 ξ= 2 × 7.8725

T.F. =

= 61.9758

ξ=

30.9879 s + 91.4313s + 30.9879 91.4313 ωn = 5.5667 ξ= 2 × 5.5667

T.F. =

= 30.9879

Ka = 2;

ω2n

30.9879K a s + 91.4313s + 30.9879K a 2

= 15.4939 ωn = 3.3962

Ka = 1;

ω2n

K a (0.027)(0.00955) (5.3)(1.57 ×10 −6 ) −6 (5.3)(6 ×10 ) + (0.027)(0.027) K a (0.027)(0.00955) s2 + s+ (5.3)(1.57 ×10 −6 ) (5.3)(1.57 ×10 −6 )

= 5.8070

2

= 4.1062

185.9274 s + 91.4313s + 185.9274 91.4313 ω2n = 185.9274 ωn = 13.6355 ξ = 2 ×13.6355

Ka = 6;

T.F. =

247.9032 s + 91.4313s + 247.9032 91.4313 ω2n = 247.9032 ωn = 15.7449 ξ = 2 ×15.7449

Ka = 8;

T.F. =

Ka = 70;

ω2n

Ka = 120;

ω2n

2169.2 s + 91.4313s + 2169.2 91.4313 ωn = 46.5747 ξ = 2 × 46.5747

R a Js 2 + (R a b + K T K b )s R Js 2 + (R a b + K T K b )s + K a K T K tach = a (5.3)(1.57 ×10 −6 )s 2 + ((5.3)(6 ×10 −6 ) + (0.027)(0.027))s −6 2 −6 = (5.3)(1.57 ×10 )s + ((5.3)(6 ×10 ) + (0.027)(0.027))s + K a (0.027)(0.00955)

= 2.9035

Ka = 2 จะไดวา

E(s) (8.3210 ×10 −6 )s 2 + (7.6080 ×10 −6 )s Vref = (8.3210 ×10 −6 )s 2 + (7.6080 ×10 −6 )s + 5.1570 ×10 −6

2

3718.5 s + 91.4313s + 3718.5 91.4313 ωn = 60.9795 ξ = 2 × 60.9795

T.F. =

= 3718.5

= 3.3527

2

T.F. =

= 2169.2

s(R a Js + R a b + K T K b ) s(R a Js + R a b + K T K b ) + K a K T K tach =

2

= 0.9816

e(t)

2

Vtach = 0.7497

4. พล็อตผลตอบสนองขั้นบันไดของสัญญาณเอาทพุต และสัญญาณ ผิดพลาด ( Vtach (t ) และ

Vteah ( s ) Vref ( s )

=

e(t ) ) เมื่อคา K a

ที่ใชในแตละกรณีดวย E(s) และ Vteah สัมพันธกันคือรวมกันไดเทากับ input (Unit step) = 1

61.9758 2 s + 91.4313s + 61.9758

5.

ความสัมพันธของสัญญาณทั้งสอง

damped และ critical damped บนกราฟเดียวกันพรอมระบุคา Ka ที่ใชใน

GTOTAL(s) Vref

E

Gc(s)

Ea

Gp(s)

จงคํ านวณค า Ka ที่ ทําให ผ ลตอบสนองของระบบเป น แบบ critical

damped และพล็อตผลตอบสนองของ vtach(t) กรณี over damped, under

ω

Ktach

Vtach

แตละกรณีดวย จากรูปมาตรฐาน T.F. =

จากรูป Vtach = Gtotal(s)E(s)

และฟงกชัน

E(s) = Vtach – Vref ∴ จะไดวา

=

=

E(s) Vref

=

1 Vref 1 + G total (s)

1 ⎞ K ⎛ KT 1 + ⎛⎜ a ⎞⎟ ⎜ ⎟ ( K tach ) ⎝ s ⎠ ⎝ R a (Js + b) + K T K b ⎠ 1 s(R a Js + R a b + K T K b ) + K a K T K tach s(R a Js + R a b + K T K b )

ω2n s 2 + 2ξωn s + ω2n

K a K T K tach RaJ R b + K T K b K a K T K tach s2 + a s+ RaJ RaJ

เทียบพจนจะไดวา ωn =

และ 2ξωn =

∴ ξ=

K a K T K tach RaJ

Ra b + KTK b RaJ

Ra b + KTK b 1 RaJ ⋅ ⋅ RaJ 2 K a K T K tach

45.7157 ⋅

=

0.0323 Ka

กรณี under damped จะเกิดขึ้นเมื่อ 0<ξ<1

45.7157 ⋅

0.0323 Ka

<1

∴Ka > 67.5046 ในการพล็อตกราฟจะใช 200 กรณี critical damped จะเกิดขึ้นเมื่อ ξ = 1 ∴Ka = 67.5046 กรณี over damped จะเกิดขึ้นเมื่อ 1 < ξ ∴0 < Ka < 67.5046

ในการพล็อตกราฟจะใช 20

6. จงพล็ อตผลตอบสนองขั้ นบั น ไดของระบบเมื่ อปรั บ ค า Ka ตามข อ 3 พรอมเขียนไฟล Matlab (M-file) เพื่อคํานวณคาสมรรถนะของระบบ (%overshoot,

tr,

tp

และ ts)

ในกรณี ต า งๆ โดยใช ชื่ อ ไฟล ว า

stepanalysis.m แลวพิมพ script file ดังกลาวในรายงานดวย

เนื่องจากถาวาดกราฟที่เริ่มตนที่จุดเริ่มตน (0) จะทําใหกราฟ บางเสนดูรายละเอียดไดลําบาก ผูจัดทําจึงไดใหกราฟเริ่มตนที่ 1 แทน

stepanalysis.m ka=2; num=[30.9879*ka]; den=[1 91.4313 30.9879*ka]; finalvalue=polyval(num,0)/polyval(den,0) [y,x,t]=step(num,den); [Y,k]=max(y); timetopeak=t(k) percentovershoot=100*(Y-finalvalue)/finalvalue %compute rise time n=1; while t(n)<0.1*finalvalue, n=n+1; end m=1;

while t(m)<0.9*finalvalue, m=m+1; end risetime=t(m)-t(n) %compute settling time l=length(t); while (y(l)>0.98*finalvalue)&(y(l)<1.02*finalvalue) l=l-1; end settlingtime=t(l) step(num,den) จากโปรแกรม stepanalysis.m สามารถเขียนผังงาน หรือ Flowchart ได ดังแสดง

start

คําถาม

Ka

1. จงอธิบายวาคาอัตราขยาย

Ka=2

มีผลอยางไรตอผลตอบสนอง

ของระบบในสภาวะทรานสเซียน อัตราสวนขยาย

Num =[30.9879*Ka]

Ka

คา อัตราขยาย den=[1 91.4313 30.9879*Ka]

Ka

มีผลความสัมพันธกับ ζ

มากขึ้นขึ้น จะทําให

ζ

และ

ωn

คือ เมื่อ

มีคานอยลงและคา

ωn

จะมากขึ้น จะทําใหระบบเขาสูสภาวะ steady state เร็วขึ้น

1 s

2.คา Finalvalue=poly(num ,0)/polyval(den,0)

ที่ตอ cascade ในระบบมีผลอยางไรตอผลตอบสนองของ

ระบบในสภาวะคงตัว -คา

[y,x,t]=step(num ,den)

1 s

เปนตัวบอกถึง input ที่ปอนเขาไปเปนแบบ Unit Step ทําให

ทราบคาของ input ที่ปอนใหกับระบบสามารถนําไปวิเคราะหเปน order ใด

[Y,k]=m ax(y) Tim etopeak=t(k)

Percent overshoot=100*(y-finalvalue)/finalvalue

สรุปผลการทดลอง การวิเคราะหผลตอบสนองในสภาวะทรานสเซียนของระบบควบคุม อันดับสองแบบลูปปดโดยจาย input เปนแบบ Unit step หรือขั้นบันได สามารถพิจารณารูปมาตรฐานของฟงกชันถายโอนลูปปดของระบบอันดับ สองไดดังนี้

% rise tim e

n=1

ถา

ωn2 C (s) = 2 R( s ) s + 2ξωn s + ωn2 0 < ζ < 1 ผลตอบสนองของระบบจะเปนแบบ

underdamp และ

สามารถพิจารณาสมรรถนะของระบบในสภาวะทรานสเซียนจาก

yes

t(n)<0.1*finalvalue n=n+1 no m =1

yes

H t(m)<0.9*finalval & y(1)<1.02*finalvalue

และ ωn ไดดังนี้

tr =

π − cos −1 ζ ωn 1 − ζ 2 π π = ω d ωn 1 − ζ 2

tp =

no % settling tim e

ts =

3

ζωn

,5% หรือ t s

=

4

ζωn

,2%

l=length(t)

%overshoot = yes

y(1)>0.98*finalvalue &y(1)<1.02*finalvalue

ζ

แตถา

ζ ≥1

y p − yss yss

× 100 = e

⎛ −πζ ⎜ ⎜ 1−ζ 2 ⎝

⎞ ⎟ ⎟ ⎠

× 100

ระบบจะมีผลตอบสนองเปนแบบ Criticaldamped และ

Overdamped ซึ่งในกรณีนี้จะไมสามารถกําหนดคาสมรรถนะตาง ๆ ได no l=l-1

Setting tim e=t(1)

Step(num ,den)

end

จากคา

ζ

และ

ωn

เอกสารอางอิง 1. ชกิตติ ตีรเศรษฐ, วิศวกรรมระบบควบคุมและระบบปอนกลับ, คณะ วิศวกรรมศาสตร,มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณ ทหารลาดกระบัง 2. Witheephanich, Kritchai, Feedback Control System Leccture Note EE330., Power Research Group Department of Electrical Engineering Srinakharinwirot University 3. Frankin, Powell, Emami-Naeini, Feedback Control of Dynamic System, 4th Ed., Addison Weslay, 2002.

More Documents from "AllwayLLG"

June 2020 3
June 2020 2
June 2020 2
June 2020 4
Basic Chpper
June 2020 2