ช่องทางใหม่ในการโฆษณา และการสร้างภาพลักษณ์องค์กร

  • Uploaded by: Teeraset
  • 0
  • 0
  • October 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View ช่องทางใหม่ในการโฆษณา และการสร้างภาพลักษณ์องค์กร as PDF for free.

More details

  • Words: 490
  • Pages: 3
"ช่องทางใหม่ในการโฆษณา

และการสร้างภาพลักษณ์องค์กร"

By charlot ความจริงจะใช้คำาว่า “ช่องทางใหม่” ก็ไม่ใช่เสียทัง้หมด เพราะว่าช่องทางท่ด ี ิฉันจะเขียนถึงนี เ้ป็ นช่องทางท่ีมีมา

นาน เรียกว่าเกินกว่า 10 ปี แต่ช่องทางนีย ้ ังถูกตีกรอบอยู่ จากการท่ีไม่มีกฎหมายรองรับ ซ่ ึงต่างกับบางธุรกิจท่ี กฎหมายอนุญาตให้ทำาได้ แต่เร่ ืองนีค ้ ือเร่ ืองท่ีเป็ นสีเทา (หมายถึงไม่ชัดเจน) มาตลอดกว่า 10 ปี จนเม่ ือเดือน

มีนาคมท่ีผ่านมาได้มีการออก พ.ร.บ.การประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. 2551 ซ่ ึงถือ ได้ว่าเป็ นตัวกระตุ้นให้เกิดจุดเปล่ียนในช่องทางใหม่ นัน ่ คือ ธุรกิจโทรทัศน์ดาวเทียมและเคเบิลทีวี เพราะปั จจัย

สำาคัญคือ การท่ีจะให้มีการโฆษณาได้เหมือนฟรีทีวี แต่เวลาในการโฆษณานัน ้ เฉล่ีย 6 นาทีต่อชัว่โมง คือ คร่ ึง หน่ ึงของฟรีทีวี

รายละเอียดในการประกอบธุรกิจโทรทัศน์ดาวเทียมและเคเบิลทีวีนัน ้ ดิฉันคงจะไม่พูดถึงในวันนี เ้พราะ

วัตถุประสงค์หลักคือ ต้องการท่จี ะพูดถึงการโฆษณาและการสร้างภาพลักษณ์องค์กร โดยการใช้ช่องทาง

โทรทัศน์ดาวเทียมและเคเบิลทีวี ก่อนอ่ ืนมาทราบถึงความแตกต่างและความผสมผสานของทัง้สองช่องทางก่อน โดยภาษาง่ายๆ เข้าใจง่ายๆ คือ

โทรทัศน์ดาวเทียมนัน ้ เป็ นการท่ีออกอากาศโดยการยิงสัญญาณขึ้นไปผ่านดาวเทียม ซ่ ึงก็แล้วแต่ว่าดาวเทียม

นัน ้ ๆ จะมีขอบข่ายท่ีกว้างไปถึงไหนบ้าง ซ่ ึงโดยปกติแล้วขอบข่ายนัน ้ ๆ จะเกินประเทศเดียว อาจจะครอบคลุมถึง 20-30 ประเทศ ก็แล้วแต่ว่าใช้บริการดาวเทียมดวงไหน

ดังนัน ้ คนรับสัญญาณดาวเทียมได้นัน ้ เป็ นกลุ่มคนท่ีมีเคร่ ืองรับสัญญาณดาวเทียมท่ีเป็ นจานดาวเทียม ซ่ ึงก็ต้อง มีผู้ประกอบการรายใหญ่ 2-3 ราย ท่ีเราจะเห็นตามบ้านเป็ นจานสีแดง สีเหลือง สีฟ้า ซ่ ึงพวกนัน ้ เป็ นระบบ

direct to home คือ การท่ีต้องเป็ นสมาชิกจึงจะรับสัญญาณได้ ซ่ ึงเป็ นความถ่ีผ่าน KU-band (วันนีจ้ะขอ พูดแค่นีก ้ ่อน มิฉะนัน ้ ท่านผู้อ่านจะเวียนหัวกับเทคนิค)

ส่วน เคเบิลทีวี ถ้าอธิบายง่ายๆ ก็คือ การส่งสัญญาณไปตามสาย ถ้าจะให้เห็นภาพก็ คือ True vision (UBC

เดิม) ในระยะแรกๆ ท่ีผ่านเคเบิลใยแก้ว จริงๆ แล้วผู้ประกอบการธุรกิจเคเบิลภายในประเทศไทยนัน ้ มีกว่า 300 ราย แต่คนกรุงส่วนใหญ่จะรูจ้ ักแค่ UBC (ขอเรียกตามความคุ้นเคย) คนท่ีรจู้ ักเคเบิลทีวท ี ่ีนอกจาก UBC กลาย เป็ นคนอยู่รอบนอก ไม่ใช่ต่างจังหวัดนะคะ แค่รอบนอกกรุงเทพฯ เช่น รังสิต ปทุมธานี นนทบุรี ฯลฯ แม้แต่ ใจกลางเมือง เช่น สามย่าน เยาวราช ก็จะรู้จักเคเบิลทีวีเจ้าอ่ ืนๆ เป็ นอย่างดี

ท่ีดิฉันเขียนว่า เป็ นการผสมผสานของสองช่องทางนัน ้ คือว่า ผู้ประกอบการสถานีโทรทัศน์ดาวเทียมส่วนใหญ่

จะพ่ึงเคเบิลทีวี คือ ให้ทางเจ้าของเคเบิลซ่ ึงมีจานรับสัญญาณดาวเทียมอยู่แล้ว รับสัญญาณของช่องตัวเองมาเป็ น

ช่องหน่งึ ในเคเบิลทีวี เพ่ ือต้องการให้เกิดผู้ชมเป็ น mass เพราะเคเบิลทีวท ี ัว่ประเทศนัน ้ มีสมาชิกประมาณ 2.5 ล้านครัวเรือน ในขณะท่ีสมาชิกของจานดาวเทียมมีเพียง 5 แสนราย

เขียนมาตัง้นานเพ่ิงจะมาเข้าเร่ ืองตรงท่ีว่า การมีผู้เป็ นสมาชิกกว่า 2.5 ล้านครัวเรือน ซ่ ึงเทียบเท่ากับประมาณ 10 ล้านคน (ภาษาโฆษณาเรียก eye ball) นัน ้ เป็ นเร่ ืองท่ีนา่ สนใจมาก สำาหรับเจ้าของสินค้าและบริษัทท่ี ต้องการจะสร้างแบรนด์

ทำาไมจึงเป็ นเช่นนัน ้

ประการแรก “ต้นทุน” หรือค่าโฆษณานัน ้ ถูกมากๆ ถ้าหากมองเร่ ืองของการโฆษณาก่อนว่าต้องการซ้ือ air

time หรือเวลาในการโฆษณาเพียงอย่างเดียว เช่น เวลาโฆษณาในช่วงละครหลังข่าวของช่องเบอร์ 1 และ เบอร์ 2 ของวงการ TV จะอยู่ท่ี 450,000 บาทต่อนาที (ขอย้ำาต่อนาที!) เงินจำานวนเดียวกันอาจจะใช้กับโทรทัศน์

ดาวเทียมหรือเคเบิลได้ทัง้เดือน ! ทัง้นีห ้ มายความแค่ช่วงคร่งึ ปี นี ห ในการเปิ ดรับโฆษณา

้ รือช่วงคร่ ึงปี หน้าท่ีทัง้สองธุรกิจอยู่ช่วงตัง้ไข่

ขณะเดียวกัน จำานวนผู้ชมก็ไม่น้อยหน้า มีฐานแล้วถึงเกือบ 10 ล้านคน แต่ก็ไม่ได้หมายความว่า ชีวิตมันจะง่าย

ขนาดนัน ้ เพราะช่องโทรทัศน์ทเ่ี ป็ นฟรีทีวีมีเพียง 6 ช่อง คือ 3, 5, 7, 9, NBT และ Thai PBS โดยมีโฆษณา ได้เพียง 4 ช่อง แต่ก็สามารถครอบคลุมผู้ชมได้กว้างขวาง โดยหากละครท่ีมีเรทติง้ดีๆ เช่น นางทาส หรือ ดาว เป้ือนดิน ของช่อง 7 ท่ีมีเรทติง้สูงสุด ทุบสถิติละครในปี นี โ้ดยเรทติง้อยู่ท่ีกว่า20 ก็หมายถึงคนดูเร่ ืองนัน ้ ๆ

เกิน 10 ล้านคน! แต่สถานีในเคเบิลทีวีและโทรทัศน์ดาวเทียมมีเป็ นร้อยช่อง (หากนับท่ีผลิตกันเอง ไม่ได้ดึง รายการต่างประเทศมาก็มีกว่า 50 ช่องแน่นอน) ดังนัน ้ ผู้ชมก็จะกระจัดกระจาย

ตัวช่วยในขณะนีค ้ ือ การท่จี ะมีการวัดเรทติง้ช่องต่างๆ ซ่ ึงก็จะช่วยให้เห็นภาพในระดับหน่ ึง แต่ไม่ใช่จะวัดได้

ละเอียดเหมือนฟรีทีวี เพราะ “งบประมาณ” และ “ความซับซ้อน” ของการวัดมีมากกว่าหากจะทำาเต็มรูปแบบ แต่ก็จะเห็นเป็ นรูปธรรมของการเร่ิมต้นประมาณเดือนสิงหาคมนี้

ดังนัน ้ ช่องหรือสถานีทจ่ี ะได้รับอานิสงส์ในครัง้นี ใ้นช่วงต้นน่าจะเป็ นช่องหรือสถานีท่ีมีแบรนด์(ท่ด ี ี) หรือเป็ น สถานีรายใหญ่

สถานีรายใหญ่ก็มีอยู่มากราย เช่น Nation Channel, Next Step, Live TV, Money Channel, Ten

Station ฯลฯ สำาหรับรายใหม่ก็จะมี บริษัท มีเดีย ออฟ มีเดียส์ ท่ีดิฉันดูแลอยู่ ก็คงจะเปิ ด 2 สถานีก่อน แต่ก็

เป็ นสถานีท่ีเป็ นระดับ Platinum คือ การท่ีจะร่วมมือกับช่อง 7 นำาละครของช่อง 7 มาฉายซ้ำา รวมถึงซีรีส์ดงั ๆ เช่น Full House, Coffee Prince และยังมีพันธมิตรค่ายภาพยนตร์รายใหญ่ท่ีจะนำาภาพยนตร์ต่างประเทศ ดังๆ มาฉาย เราจึงให้คำาจำากัดความช่องนัน ้ ว่า “ช่องดูหนัง ดูละคร” และอีกช่องคือ ช่อง “ข่าวและสาระ” ท่ี

ดำาเนินการโดยทีมข่าวมืออาชีพจาก TITV และมีดาราข่าวคับจอ เช่น ต๊ะ นารากร, เชิงชาย หว่างอุ่น, ชิบ จิตนิยม

ฯลฯ เจ้าของสถานีรายใหม่อีกรายหน่งึ คือ คุณติ๋ม TV Pool ก็จะเปิ ดช่อง “TV Pool” ซ่ ึงไม่ต้องให้คำาจำากัด ความก็เห็นภาพว่าน่าจะสนุกสนาน มีข่าวดาราล้นจอ

โทรทัศน์ดาวเทียมและเคเบิลทีวี จึงเป็ นทางเลือกใหม่สำาหรับเจ้าของสินค้าท่ีต้องการโฆษณา และเข้าถึงกลุ่มเป้ า หมายท่ี mass มากๆ นอกจากนัน ้ ยังมีเจ้าของสินค้าค่ายใหญ่ๆ เช่น สหพัฒนพิบูล ก็ลงทุนเปิ ดสถานีของ

ตนเอง ผลิตเอง ช่ ือ S Channel (S คงย่อมาจาก สหพัฒน์) ซ่ ึงมีรายการต่างๆ ตาม life style ของกลุ่มเป้ า หมายและตัวผลิตภัณฑ์ ค่ายโอสถสภาก็ใช้วิธีร่วมทุนกับ Live TV เพราะไม่อยากผลิตรายการเอง แต่ใช้ผู้ท่ีมี ความชำานาญผลิต เพ่ ือให้เกิด win win

ท่ีกล่าวมานีเ้ป็ นเพียงการรำามวยเท่านัน ้ ภายหลังจากท่ีกฎหมายมีการเปิ ดช่องให้โฆษณาได้ ระฆังยกแรกยังไม่

เร่ิมเลย ท่านผู้อ่านคงเร่ิมสนใจและนึกสนุกแล้วใช่มัย ้ คะ สำาหรับเร่ ืองการสร้างแบรนด์โดยใช้ช่องทางใหม่ๆ เหล่า นี ค ้ งขอยกยอดไปคราวหน้านะคะ

More Documents from "Teeraset"

October 2019 10
October 2019 7
October 2019 10
October 2019 8
October 2019 12
October 2019 7