พฟติกรรมพลวัตของมอเตอร์กระแสตรง

  • Uploaded by: AllwayLLG
  • 0
  • 0
  • June 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View พฟติกรรมพลวัตของมอเตอร์กระแสตรง as PDF for free.

More details

  • Words: 866
  • Pages: 17
พฤติกรรมพลวัตมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรง

• •

เพื่อศึกษาการควบคุมในขั้นสูงต่อไป พิจารณาเครื่องกลไฟฟ้ ากระแสตรงให้มีข้อ จำากัดต่อไปนี้

– ไม่พจิ ารณาการอิ่มตัวของสนามแม่เหล็ก ิ ผลของอาร์เมเจอร์รีแอคชั่น แรง – ไม่คด

เคลื่อนแม่เหล็กจากอาร์เมเจอร์อยู่ในแนว ขวางขั้วแม่เหล็กหลักอย่างเดียว

วงจรมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบพลวัต

ถ้าสมมติสนามแม่เหล็กเป็ นเชิงเส้น

ea = Kfifωm= Kmωm

T= Kfifia = Kmia

ถ้าเขียนในรูปของสมการลาปลาซ

Ea(s) = Kmωm(s) T(s) = KmIa(s)

เมื่อสวิตช์ปิดที่

t = 0

dia Vt = ea + Raia + Laq dt

dia Vt = Kmωm+ Raia + Laq dt

เขียนเป็ นสมการลาปลาซแบบไม่คิดค่าเริ่มต้น

Vt(s) = Kmωm(s) + RaIa(s) + SLaqIa(s) Vt(s) = Kmωm(s) + RaIa(s)(1+ Sτa) เมื่อ

τa = Laq/ Ra

( ทดสอบหาโดยป้ อน AC )

ส่วนสมการพลวัตของระบบทางกล

dωm T= Kmia = J + Bωm+ TL dt T(s) = KmIa(s)

= Jsωm(s) + Bωm(s) + TL(s) KmIa(s) − TL(s) T(s) − TL(s) ωm(s) = = (B+ Js) B(1+ SJ B)

KmIa(s) − TL(s) ωm(s) = B(1+ Sτ m)

เมื่อ

τ m= J B

ในส่วนกระแสไฟฟ้ าที่เข้าอาร์เมเจอร์ จาก

Vt(s) = Kmωm(s) + RaIa(s)(1+ Sτa) Vt(s) − Ea(s) Ia(s) = Ra(1+ Sτa)

Vt(s) − Kmωm(s) Ia(s) = Ra(1+ Sτa)

จาก

KmIa(s) − TL(s) ωm(s) = B(1+ Sτ m)

Vt(s) − Kmωm(s) Ia(s) = Ra(1+ Sτa)

การทดสอบหาพารามิเตอร์

Ra Km L aq

ทดสอบด้วยแรงดันกับกระแสไฟตรง ได้จากมอเตอร์หมุนตัวเปล่าในสภาวะคงตัว

ทดสอบด้วยแรงดันกับกระแสไฟสลับ

τ mทดสอบ Run down

Ea ωm

ตัวอย่าง

0.5

1

มอเตอร์แบบแยกกระตุ้นมีพารามิเตอร์เป็ น

Laq ~ 0

Ra

=

B ~ 0 แรงเคลื่อนเหนี่ยวนำา อาร์เมเจอร์ของมอเตอร์เป็ น 220 V ที่ 2,000 rpm และ กระแส If เป็ น 1 A มอเตอร์ขบ ั โหลดคงที่

2.5 Kg-m2

ที่

TL

If

และ

= 25 N-m - 1 A และ Vt

J ทั้งหมดเป็ น = 220 Vdc

ค่า

ω

(a )

จงแสดงสมการความเร็ว( ) พร้อมที่มาใน m ฟั งก์ชน ั ของเวลา (b) หาค่ากระแสและความเร็วรอบที่สภาวะคงตัว วิธีทำา

Km =

220 =1.05 (2000 / 60)×2π V/rad/sec

Vt = ea + iaRa = Kmωm+ iaRa T = Kmia = J dωm+ TL dt

จากสมการแรงดัน และแรงบิด จะได้ว่า

RaJ dωm RaTL  J dωm TL  + Vt = Kmωm+ Ra +  = Kmωm+ Km dt Km  Km dt Km 0.5× 2.5dωm 0.5× 25 = 1.05ωm+ + 1.05 dt 1.05

dωm = 1.05ωm+ 1.19 + 11.9 dt

220 11.9 Vt(s) = = 1.05ωm(s) + 1.19sωm(s) + s s 220 − 11.9 174 .874 ωm(s) = = s(1.05+ 1.19s) s(s+ 0.8824 )

198 .2 198 .2 ωm(s) = − s s+ 0.8824

−0.8824 t

ωm(t) = 198 .2(1− e

)

Vt − Kmωm 220 − 1.05ωm ia = = Ra 0.5 −0.8824 t

= 440 − 2.1× 198 .2(1− e

)

−0.8824 t

ia = 23.8+ 416 .2e

***ข้อนี้ไม่ซับซ้อนเพราะว่าไม่พิจารณา τa และτ m ***ถ้าพิจารณาทุกค่าจะซับซ้อนมาก จึงขอนำาเสนอตัวอย่างถัดไป โดยใช้ โปรแกรม MatLab ช่วยจำาลองระบบ****

ตัวอย่าง

2

มอเตอร์แบบแยกกระต้น ุ

1400 A อาร์มาเจอร์ลดลง 20% เมเจอร์เป็ น ไปนี้

500 hp 250 V

มีกระแสอาร์

จงหาค่าความเร็วรอบในฟั งก์ชันของเวลา ถ้าแรงดัน โดยโหลดยังมีคา ่ คงที่ และพารามิเตอร์เป็ นดังต่อ

Ra=0.0035 Laq =0.000175H Km=2.65 V/rad./sec. J = 74.6 Kg-m2 และ ญเสียจากการหมุ น= 5.4เตอร์ kW ให้ทีค่ 900 rpm วิธีทำา พิจความสู ารณาจากสมการ ต้องหาค่ าพารามิ รบถ้วนก่ อน

KmIa(s) − TL(s) ωm(s) = B(1+ Sτ m) แรงบิดส่วนการสูญเสียจากการหมุน

Vt(s) − Kmωm(s) Ia(s) = Ra(1+ Sτa)

TD = Bωm กำาลังส่วนการสูญเสียจากการหมุน P = T ω = Bω 2 rot D m m 5400 ค่าคงที่ส่วนการสูญเสียจากการหมุน B= 2 = 0.608 (2π900 / 60)

Laq τa = = 0.05 Ra

อาจพิจารณาจาก

J τ m= = 122 .7 B

dia Vt = ea + Raia + Laq dt

 J d2ωm B dωm  J dωm B TL    + Laq . 2 + . Vt = ea + Ra . + .ωm+ Km  Km dt Km  Km dt Km dt  2

d ωm dωm Vt = 0.00493 2 + 0.09854 + 2.6508 ωm+ 4.823 dt dt

250 − (1400 )0.03 200 − (1400 )0.03 ωm0 = = 92.5 rad./s ωf = = 73.6 rad 2.65 2.65 อาจแก้ปัญหาโดยใช้ลาปลาซ หรือวิธีอ่ น ื ๆ

หรืออาจแก้ปัญหาโดยใช้สมการเมทริก

dx = Ax+ Bu dt

− 1   dia  − Ra − Km 0 ia   L Vt       dt   La L a a = +       dωm Km B ωm 1 TL  −   0 −   dt    J  J  J ค่าเจาะจงหาจาก

det( A− λ I) = 0 (eig(A) ใน MatLab )

λ1 = −1 0.0 + j2 0.9

λ2 = −1 0.0 − j2 0.9

ค่าเจาะจงแต่ละค่าถือเป็ นรากสมการ จำานวนจริงที่เป็ นลบ ถือว่า ระบบมีเสถียรภาพ

กรณีท่ีมี ค่าเจาะจง หลายค่าจะได้คำาตอบส่วนธรรมชาติ

(natural response) k−1 ti



i=1

i

Re( λ )t

e

เป็ น

sin[Im( λ)t+ φ] −1 0t

ωmnr (t) = Me sin( 2 0.9t+ φ) ค่า

M

และφ

ωm(0) = 9 2.5 dωm(0) = 0

หาจากค่าเริ่มต้น

dt

จึงได้คำาตอบเป็ นสมการความเร็วรอบ เมื่อปรับลดแรงดันไปเป็ น เป็ น

−1 0t

ωm(t) = 2 0.9 5e

200V

cos( 2 0.9t+ 64.43) + 73.6

นำาสมการความเร็วรอบมาเขียนกราฟเป็ นดังรูป

การจำาลองระบบด้วย

MatLab Simulink

จากตัวอย่าง 2 ที่ผ่านไป นำาพารามิเตอร์ท่ีได้ ไปใส่ในบล็อกไดอะแกรม มอเตอร์กระแสตรง

3653.8 1 /0 .6 0 8

C o n st a n t t o rq u e 2 50 V at 0s

7 4 . 6 / 0 . 6 0 8 s+ 1 1 /0 .0 0 3 5

2 .6

T ra n sfe r F c n 1

Speed

0 . 0 0 0 1 7 5 / 0 . 0 0 3 5 s+ 1 T ra n sf e r F c n

G a in

2 .6 50 V at 0 s G ain1

A rm a t u re C u rre n t

บทสรุป พฤติกรรมพลวัตมอเตอร์กระแสตรง ส่วนวงจรอาร์เมเจอร์คิดค่ารีแอคแตน ซ์เพิ่มเข้ามา แก้ปัญหาโดยลาปลาซ หรือเมทริก ต้องการจำาลองระบบอาจใช้

MatLab Simulink

More Documents from "AllwayLLG"

June 2020 3
June 2020 2
June 2020 2
June 2020 4
Basic Chpper
June 2020 2