0 Xxสภาพแวดล้อม & กลยุทธ์ Ibmib-

  • Uploaded by: Phot KHAMTHIP
  • 0
  • 0
  • May 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View 0 Xxสภาพแวดล้อม & กลยุทธ์ Ibmib- as PDF for free.

More details

  • Words: 2,401
  • Pages: 30
สภาพแวดลอมในการจัดการธุรกิจระหวางประเทศ ในการบริการงานของผูบริหารในบริษัทระหวางประเทศนั้น สิ่งที่สําคัญไดแกผูบริหาร เหลานีจ้ ะตองทําหนาที่ของตนบนสภาพแวดลอมที่มีความหลากหลาย โดยผูบริหารเหลานี้นอก จากจะตองคํานึงถึงปจจัยในทองถิ่นที่ตนรับผิดชอบ แตขณะเดียวกันก็ตองคํานําถึงสภาพแวด ลอมในประเทศเจาของกิจการและสภาพแวดลอมระหวางประเทศที่จะกระทบตอการดําเนินงาน ของกิจการอีกดวย สภาพแวดลอมที่จะตองพิจารณาในการจัดการระหวางประเทศประกอบดวย สภาพแวดลอม 3 ชนิด ไดแก 1. สภาพแวดลอมในประเทศเจาของกิจการ (Domestic Environment) 2. สภาพแวดลอมในประเทศที่ไปลงทุน (Foreign Environment) 3. สภาพแวดลอมระหวางประเทศ (International Environment) 1. สภาพแวดลอมในประเทศเจาของกิจการ (Domestic Environment) สภาพแวดลอมในประเทศเจาของกิจการ (Home country) หรทอสภาพแวดลอมทองถิ่น (Domestic Environment) เปนปจจัยพื้นฐานในการพิจารฯาวางแผนการดําเนินงานของธุรกิจ ระหวางประเทศ เนื่องจากเปนฐานที่ตั้งของสํานักงานใหญหรือบริษัทแมอันเปนที่บัญชาการ ความเปนไปตางๆ ของกิจการในตางประเทศ ปจจัยสําคัญหลายประการที่มีผลกระทบตอกิจการ ไดแก เงื่อนไขทางเศรษฐกิจ กฎหมาย การเมืองและปจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวของ 1. บรรยากาศทางการเมือง กิจการที่ดําเนินธุรกิจระหวางประเทศมักมีศักยภาพสูงใน การบริหารจัดการ สามาถสรางยอดขายไดในปริมาณมากทั้งจากตลาดภายใน ประเทศและตลาดตางประเทศ ดังนั้นกิจการเหลานี้จึงมีบทบามตอการพัฒนา เศรษฐกิจภายในขอลประเทศดวยซึ่งยอมมีผลตอเสถียรภาพทางการเมืองภายในดวย เนื่องจากความมั่นคงของเสถียรภาพของรัฐบาลภายใตระบอบทุนนิยมมักขึ้นอยูกับ ความเจริญทางเศรษฐกิจเปนสําคัญ ยิ่งไปกวานั้นผลกระทบโดยตรงที่สําคัญอีก ประการหนึ่งไดแก การกําหนดนโยบายทางเศรษฐกิจและการระหวางประเทศของรัฐ บาลแตละคณะอาจแตกตางกันโดยเฉพาะอยางยิ่งในเรื่องที่เกี่ยวของกัลภาษีอากร และโควตาการสงออกหรือนําเขาสินคา (Tariffs and Quotas Practices) ถึงแมการ

2

กระทําดังกลาวจะมีขอจํากัดจากกลไกทางการคาโลก แตวิธีการดังกลางก็ยังคงมีบท บาทสําคัญซึ่งผูบริหารบริษัทขามชาติจะตองคํานึงถึง 2. บรรยากาศการแขงขันภายในประเทศ ผูบริหารธุรกิจระหวางประเทศจําเปนตองให ความสําคัญกับวัตถุประสงคของคูแขงภายในประเทศดวย ทั้งนี้เพราะกิจการอื่นๆ ภายในประเทศอาขนโยบายหรือยุทธศาสตรการแขงขันในตลาดโลกคลายคลึงกัน หากคูแขงขันดังกลาวสามารถพัฒนาสินคาหรือบริการใหมีคุณสมบัติที่เหนือกวาของ กิจการ ก็อาจกอใหเกิดความไดเปรียบกิจการ ทั้งนี้เพราะในประเทศที่พัฒนาแลวคู แขงขันจากประเทศเดียวกันจะมีปจจัยพื้นฐานที่สํ าคัญเชนการสงเสริมจากรัฐบาล คลายๆกัน ปจจัยสนับสนุนอื่นๆ คลายๆกัน ดังนั้นความไดเปรียบในบางเรื่องจะกอให เกิดความแตกตางในดานการแขงขันแตในประเทศที่กําลังพัฒนาอาจจะมีปญหาใน เรื่งของมาตรการสงเสริมที่เริ่มมีขึ้นและถูกนํ าไปใชในลักษณะของการเลือกปฎิบัติ หากกิจการเพิกเฉยอาจกอใหเกิดการเสียโอกาสตอคูแขงขันที่คอยติดตามมาตรการ ตางๆเหลานั้น และสามารถไดประโยชนจากมาตรการเหลานั้น 3. สถานการณทางเศรษฐกิจ ปจจัยทางเศรษฐกิจของทองถิ่นนับเปนปจจัยที่มีผลตอการ เปลีย่ นแปลงในทางการคาระหวางประเทศ เพราะการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจภาย ในอาจสงผลถึงนโยบายรัฐบาลในสวนที่เกี่ยวของกับธุรกิจ หรืออาจสงผลกระทบตอ ธุรกิจโดยตรง แตอยางไรก็ดีมิไดหมายความวาการตกตํ่าของเศรษฐกิจภายในจะมี ความแปรผันโดยตรงตอการตกตํ่าของการดําเนินธุรกิจระหวางประเทศ ทั้งนี้เนื่องจาก การถดถอยทางเศรษฐกิจภายในอาจจะปนแรงผลักดันใหผูบริหารตองดําเนินยุทธวิธี ในการนํากิจการออกสูตางประเทศในอัตราที่สูงขึ้น 4. ปจจัยทางดานสังคมและสภาพแวดลอมอื่นๆ เปนปจจัยทั่วไปที่จะเอื้ออํานวยใหเกิด การพัฒนาทั้งองคการและบุคคลในอันที่จะมีความสามารถในการแขงขันกับนานา ประเทศไดหากกลไกทางสังคมไมดีพอ อาจเปนอุปสรรคทั้งบุคคลและองคการตอการ แขงขันทางธุรกิจ ตัวอยางเชนในประเทศสหรัฐอเมริกา รัฐบาลไดจัดโรงเรียนให ประชาชนอยางเพียงพอมีมาตรฐานและสะดวกตอการเขาศึกษา ผูบริหารที่ไดรับมอบ หมายใหไปทํางานในตางประเทศจึงไมตองพะวงเมื่อตนกลับมาแลวจะหาโรงเรียนที่มี คุณภาพใหลูกเรียนไมได ในขณะที่ในประเทศไทย เมื่อผูบริหารไดรับการคัดเลือกให ไปปฏิบตั ิงานในตางประเทศ บุคคลเหลานั้นอาจตองพะวงวาถาใหลูกลาออกจากโรง เรียนไปตางประเทศ เมื่อกลับมาจะหาโรงเรียนใหลูกเรียนไดหรือไมเปนตน ปจจัยดัง

3

กลาวหากพิจารณาเพียงผิวเผินก็ไมนาจะสําคัญอะไร แตปจจัยทางสังคมในลักษณะ ดังกลางอีกหลายชนิดนอกจากจะไมสงเสริมแลวยังเปนตัวบั่นทอนความสามารถของ ประเทศในการแขงขันและพัฒนาทางธุรกิจเปนอยางมาก 2. สภาพแวดลอมในประเทศที่ไปลงทุน ( Foreign Environment) สภาพแวดลมในประเทศที่ไปลงทุน ( Host country) หมายถึง ประเทศที่บริษัทขามชาติ จากตางประเทศมาลงทุน ในการพิจารณาสภาพแวดลอมในตางประเทศนี้ จะประกอบไปดวย วัฒนธรรม เศรษฐกิจ กฎหมาย สถานการณทางการเมือง อุปสรรคทางการคา คูแขงขันจากทอง ถิน่ ปละปจจัยที่เกี่ยวของกับอัตราแลกเปลี่ยน (Rodrigues: 1996) 1. สภาพแวดลอมทางวัฒนธรรม (Culture) เนื่องจากวัฒนธรรมเปนพื้นฐานของความ คิดและแนวปฏิบัติของผูอยูในสังคมแตละแหง ดังนั้นวัฒนธรรมจึงมีบทบาทสําคัญตอ ผูบ ริหารในธุรกิจระหวางประเทศเปนอยางยิ่ง เนื่องจากผูบริหารเหลานี้จะตองแสดง บทบาททางการจัดการบนพื้นฐานของความแตกตางทางวัฒนธรรมของบุคลากรจาก ตางเชือ้ ชาติและภาษา ประเทศที่มีบทบาทสําคัญในดานการคาระหวางประเทศเชน สหรัฐอเมริกาเอง ก็ใหความสําคัญตอปจจัยทางวัฒนธรรมเปนอยางมาก ถึงกระนั้นก็ มีรายงานทางการวิจัยพบวาผูบริหารบริษัทขามชาติชาวอเมริกันเองประสบความลม เหลวและสรางความเสียหายมากกวา $ 2,000,000,000 ตอป ซึ่งมีสาเหตุมาจากการ ที่ผูบริหารเหลานั้นมีการเตรียมตัวที่ไมพอเพียงที่จะปรับตนเองใหเขากับวัฒนธรรม ของประเทศอื่น (Copeland &Griggs,1985) 2. สภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจ ( Economic ) สภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจในตาง ประเทศจะมีโครงสรางพื้นฐานมาจากการผลิตสินคาหรือบริการ การจัดจําหนายสูผู บริโภค ปริมาณความตองการสินคาของประชาชนในประเทศเหลานั้น กลไกของแต ละประเทศในการสนับสนุนหรือเปนอุปสรรคตอระบบการคา แตในทางปฏิบัติผู บริหารที่ผานการบริหารในประเทศตางๆ จะเห็นความแตกตางทางเศรษฐกิจของแต ละประเทศไดดี เนื่องจากแตละประเทศอยูในขั้นตอนของพัฒนาการทางเศรษฐกิจที่ แตกตางกัน ซึ่งมักจะสงผลตออุปสงคและอุปทานในสินคาและบริการชนิดตางๆ และ มีผลการะทบโดยตรงตอการบริหารการตลาดของกิจการ สําหรับการพิจารณาทําการ

4

ลงทุนในตางประเทศของบริษัทขามชาตินั้นเพื่อพิจารณาจากภาพรวมของแนวโนม การเปลีย่ นแปลงประชากร รวมทั้งผลผลิตมวลรวมประชาชาติและปจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยว ของก็จะทําใหมองเห็นความเปนไปไดในระดับหนึ่ง(ตารางที่ 2-1 ) ทั้งนี้เพราะผลผลิต ประชาชาติมวลรวมประชาชาติ (Gross National Product, หรือ GNP)เกี่ยวของกับ สินคาและบริการที่เกิดขึ้นในประเทศใดประเทศหนึ่ง ตารางที่ 2-1 Statistics on population and GNP of some countries (1991)

อยางไรก็ดีการบันทึกรายการผลผลิตมวลรวมประชาชาติของบางประเทศโดยเฉพาะ ประเทศกําลังพัฒนานั้น หนวยงานของรัฐที่ทําหนาที่บันทึกอาจมิไดบันทึกรายการที่เกิดขึ้นจาก เศรษฐกิจขนาดเล็กหรือเศรษฐกิจทองถิ่น หรือที่เรียกวา (Sub-culture economies, หรือ (SCEs) ไดแกประชากรที่ผลิตเพื่อการบริโภคของตนเอง หรือทําการคาในลักษณะการแลกเปลี่ยนสินคา ตอสินคา (Barter) ซึง่ ในหลายประเทศอาจมีลักษณะดังกลาวเปนจํานวนมาก นอกจากนี้ผลิต ภัณฑมวลรวมตอหัวจะเสดงถึงการเพิ่มของความตองการบริโภคสินคาและบริการ ซึ่งจะเปนชี้ให เห็นโอกาสทางการตลาดของบริษัทขามชาติทั้งหลาย 3. สภาพแวดลอมทางการเมืองและกฎหมาย การดําเนินธุรกิจใดก็ตามโดยเฉพาะอยาง ยิง่ ธุรกิจที่มีขนาดใหญ ผลกระทบระหวางกิจการกับสังคมจะมีสูง เนื่องจากผลการ ดําเนินงานของธุรกิจจะมีผลตอระบบเศรษฐกิจในสังคมนั้นๆ สูง ในขณะเดียวกัน ธุรกิจก็ตองการปริมาณประชาชนจํ านวนมากมาบริโภคสินคาและบริการที่ตนนํ า เสนอ ดังนั้นการเมืองจึงมีบทบามสําคัญตอเศรษฐกิจและการดําเนินธุรกิจของบริษัท ขามชาติเหลานี้ จุดสําคัญที่ผูบริหารจะตองใหความสําคัญไดแก ในหลายประเทศ โดยเฉพาะประเทศที่เพิ่งเปดตนเองออกรับการลงทุนจากตางประเทศ ความรูสึกถึง ความเปนธุรกิจของชาติอื่นไมใชของชาติตนเองอาจจะมีอยูสูงทั้งในหมูประชาชนและ ผูบ ริหารประเทศ ซึ่งเปนความรูสึกที่อยูภายในมิไดเห็นเดนชัดแตก็มีความออนไหวตอ ทัศนคติของบุคคลเหลานั้น ซึ่งจะสงผลไปยังพฤติกรรมตางๆ ถาเกิดในหมูผูมีบทบาท ในการบริหารประเทศยอมจะสงผลไปยังกลไกที่รัฐใชเปนเครื่องบริหารราชการแผน ดินเชน กฎหมายและระเบียบปฏิบัติตางๆ เปนตน ในแงของกฎหมายของประเทศ ตางๆ นั้น ความแตกตางปรากฏใหเห็นไดอยางชัดเจนทั้งในดานเนื้อหาและราย ละเอียดตลอดจนผลบังคับใช เปนที่ทราบกันโดยทั่วไปวา กฎหมายในประเทศที่มี ความเจริญและเปนผูนําทางเศรษฐกิจในโลก จะมีรายละเอียดและมีเนื้อหาครอบ คลุมกวางขวางทั้งในดานสภาพแวดลอมและจริยธรรม ในขณะที่กฎหมายในประเทศ

5

ที่กําลังพัฒนาและประเทศดอยพัฒนาหลายประเทศมีความลาหลังและเปนอุปสรรค ตอการดําเนินธุรกิจระหวางประเทศ แมในหลายประเทศจะมีกฎหมายที่เกี่ยวของ บังคับใชัอยูแตผลทางปฏิบัติอาจมีนอยและผลบังคับใชัอาจลดประสิทธิภาพลงเนื่อง จากมาตรฐานจริยธรรมของผูรับผิดชอบตอการบังคับใชัในแตละประเทศตางกัน กฎหมายหลายชนิดจะมีบทบาทโดยตรงตอการจัดการเชน กฎหมายแรงงาน กฎหมายภาษีอากร และกฎหมายการคาตางๆ 4. คูแ ขงขันในประเทศที่ไปลงทุน เปนปกติของธุรกิจระหวางประเทศทั่วไปที่จะตอง เผชิญคูแขงขันดั้งเดิมซึ่งอาจเปนของประเทศที่ไปลงทุนหรือเปนของตางประเทศเชน เดียวกัน โดยทั่วไปคูแขงขันที่ไมใชกิจการขามชาติมักจะมีเทคโนโลยีดานตางๆ ตํ่า กวากิจการขามชาติแตก็มีขอไดเปรียบในแงของการบริหารที่มีความชํานาญและเขา ใจระบบวัฒนธรรมทองถิ่นไดดี แตก็มักจะมีปญหาในเรื่องของระบบงานและการขาด แคลนเงินทุน นอกจากนี้การแขงขันกับธุรกิจในบางประเทศอาจพบปญหาของการให สินบน (Bribery) แกผมู ีสวนไดเสียตอการดําเนินงานของกิจการเชนเจาหนาที่ของรัฐ เปนตน ทําใหบริษัทขามชาติจากบางประเทศประสบปญหาในการแขงขัน ตัวอยาง เชนสหรัฐอเมริกาซึ่งมีกฎหมายปองกันการทุจริตที่เขมงวด เชน The U.S. Foreign Corrupt Practice Act of 1977 ทีห่ ามมิใหนักธุรกิจอเมริกันเกี่ยวของกับการใหสินบน แมวาจะเปนธรรมเนียมปฏิบัติปกติของประเทศอื่นๆ ก็ตาม 5. ปจจัยที่เกี่ยวของกับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา (Exchange Rates) ในการดําเนินงาน ของธุรกิจระหวางประเทศนั้น สิ่งที่ผูบริหารตองเผชิญอยางแนนอนไดแกความแตก ตางในอัตราแลกเปลี่ยนเงอนตรา ทั้งนี้เพราะรายการคาที่เกิดขึ้นระหวางสองประเทศ ขึน้ ไป ยอมจะตองเกี่ยวพันกับหนายเงินตราของทั้งสองประเทศ และแตละประเทศก็ ยอมจะมีหนายเงินตราที่แตกตางกัน ยิ่งกวานั้นคาของเงินตราของแตละประเทศยัง อาจเปลีย่ นแปลงทุกวันขึ้นอยูกับหลายปจจัย ดังนั้นจึงตองมีราบการเปรียบเทียบหรือ ปรับคาของรายการที่เกิดขึ้นจากหนวยเงินตราที่แตกตางกันใหเปนคาเดียวกัน ผลของ การปรัลดังกลาวยอมจะสงผลใหเกิดผลดีหรือผลเสียแกกจการในรูปของกํ าไรหรือ ขาดทุนจากอัตรแลกเปลี่บนเงินตรา ตัวอยางเชน ถาบริษัท ABC จํากัดสงสินคาจาก อเมริกามาจําหนายใหบริษัท ABC จํากัดในประเทศไทย ถารายการดังกลาวมีจํานวน ทัง้ สิ้น $1,000,000 ณ วันที่อัตราแลกเปลี่ยนมีคา $1=25 บาท บริษัท ABC จํากัดใน ประเทศไทยจะติดหนี้บริษัทในอเมริกาอยู 1,000,000 x 25 เปนเงิน 25,000,000

6

บาท ถาถึงเวลาชําระหนี้ อัตราแลกเปลี่ยนเทากับ $1=40 บาท บริษัทในประเทศไทย จอตอง นําเงินบาทจํานวน 1,000,000 x 40 =40,000,000 บาท นับเปนผลตางถึง 15,000,000 บาท ซึง่ เปนสวนที่ตอใหเกิดการขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนแกบริษัท ABC จํากัดในประเทศไทย ดังนั้นผูบริหารกิจการระหวางประเทศจึงตองใหความ สําคัญตออัตราแลกเปลี่ยนและกลยุทธในการลดความเสี่ยงจากอัตรแลกเปลี่ยนโดย ใชตนทุนที่ตํ่า 3.สภาพแวดลอมระหวางประเทศ สภาพแวดลอมชนิดนี้ตางจากสภาพแวดลอมในตางประเทศตรงที่เปนสภาพแวดลอมที่ พิจารณากลไกการดําเนินการทางเศรษฐกิจของเขตเศรษฐกิจตางๆ กลุมประเทศหรือองคกรการ คาที่มีผลตอการดํ าเนินธุรกิจการคาระหวางประเทศในขณะที่สภาพแวดบอมในตางประเทศ หมายถึงสภาพแวดลอมในประเทศที่กิจการไปลงทุนโดยตรง และการรวมกลุมของประเทศตางๆ เพื่อการคาเสรี (The Consolidation of Nations into Free Trade Blocks) ก็ยังคงมีอยางตอ เนือ่ ง ลักษณะการรวมกลุมเชนนี้เคยสงผลตอเศรษฐกิจโลกมาแลวเชนกรณี OPEC(The Organizations of Petroleum Exporting Nations) ซึง่ เมื่อรวมกลุมกันแลวกลายเปนผูคานํ้ามัน รายใหญของโลก ทําใหสามารถกําหนดราคานํ้ามันในตลาดโลกได สงผลใหเกิดวิกฤติการนํ้ามัน ในโลกอยูเปนระยะเวลานาน ในปจจุบันการรวมกลุมของสหภาพยุโรปหรือ EU(The European Union) ไดรับความสนใจและเชื่อวาความเปนเอกภาพทางเศรษฐกิจ (Economic Unification) ของประเทศเหลานี้จะสงผลตอการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมทางการคาระหวางประเทศ หลายประการ

องคกรระหวางประเทศและเขตเศรษฐกิจที่มีบทบาทตอการคาระหวางประเทศ ในปจจุบันองคการระหวางประเทศมีมากมาย องคการเหลานี้จัดตั้งขึ้นโดยวัตถุประสงค ตางๆ และไดรับการยอมรับจากประเทศสมาชิกในการปฎิบัติตามแนวทางที่ไดรวมกันกําหนดขึ้น องคการระหวางประเทศที่ถูกจัดตั้งขึ้นนั้น มีทั้งเพื่อความมั่นคงแหงรัฐในสวนที่เกี่ยวของกับการ หลีกเลี่ยงสงคราม บางองคการก็ถูกจัดตั้งชึ้นเพื่อเปนกลไกในดานความรวมมือทางเศรษฐกิจ บา

7

มองคการก็มีวัตถุประสงคเพื่อมนุษยธรรมและความเทาเทียมของสิทธิมนุษยชน และวัตถุ ประสงคของการจัดตั้งองคการระหวางประเทศก็มักคลอยตามสถานการณในโลกดวย ตัวอยาง เชนในยุคที่โลกมีทีทาวาจะเกิดสงครามไมวาจะเปนระหวางลัทธิการเมืองหรือระหวางประเทศ องคการหลายองคการก็ถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อแกปญหาหรือเปนพันธมิตรกันเพื่อความรวมมือทาง ทหาร แตเมื่อโลกวางเวนจากสงครามและยังไมมีที่ทาวาจะเกิดสงคราม องคการหลายองคการ เกิดขึ้นเพื่อความรวมมือทางการคา รวมทั้งองคการที่เคยเกิดขึ้นเพื่อความรวมมือทางทหารก็อาจ เพิม่ บทบาทเปนการรวมมือทางการคาแทนเปนตน สําหรับองคการระหวางประเทศที่สําคัญและ มีบทบาทตอธุรกิจระหวางประเทศทั้งทางตรงหรือทางออมตัวอยางเชน 1. องคการสหประชาชาติ (The United Nations) องคการสหประชาชาติหรือ UN เปนองคกรก ลางระหวางประเทศที่ไดรับการยอมรับจากประเทศตางๆทั่วโลกจัดตั้งขึ้นดวยความรวมมือ ของนานาประเทศภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง องคการสหประชาชาติมีบทบาทตอโลก ครอบคลุมดานตางๆ ไมวาจะเปนทางทหาร ทางการคา ทางเกษตร ทางการศึกษาสาธรณสุข และอืน่ ๆ สําหรับในสวนที่เกี่ยวของกับธุรกิจนั้นมีทั้งบทบาทโดยตรงในฐานะผูบริโภคหรือทาง ออมอื่นๆ ตัวอยางของบทบาทโดยตรงเชน ในแตละปองคการสหประชาชาติจายเงินมากกวา 750 ลานดอลลารในการซื้อสินคาหรือบริการทั่วโลก สวนในทางออมองคการสหประชาชาติ เองก็มีหนวยงานยอย (Specialized Agencies)ที่มีบทบาทตอการดําเนินธุรกิจระหวาง ประเทศเชน UN Conference on Trade and Development เปนตน และยังมีสิ่งพิมพที่ เกีย่ วของกับบริษัทขามชาติโดยตรงเชน วารสาร Transnational Corporation เปนตน 2. ธนาคารโลก(The World Bank) ธนาคารโลกหรือมีชื่อเต็มวา The International Bank for Reconstruction and Development (IBRD) ธนาคารโลกมีโครงสรางหลักที่สําคัญ ไดแกตัว ธนาคารโลกเอง บริษัทการเงินระหวางประเทศ (The International Finance Corporation หรือ IFC) และองคการพัฒนาระหวางประเทศ (The International Development Association หรือ IDA) ในแงของธนาคารโลกเองที่ธุรกิจใหความสําคัญไดแก การที่ ธนาคารโลกใหนานาประเทศกูเงินเพื่อพัฒนาเปนจํานวนมหาศาลในแตละป เงินเหลานี้นจะ ตองหมุนเวียนไปสูระบบเศรษฐกิจในแตละแหงซึ่งก็คือการซื้อสินคาและบริการนั่นเอง เงินกู ดังกลาวไมวาจะเปนเงินกูที่มีเงื่อนไขผอนปรน (Soft Loan) ที่มีองคการพัฒนาระหวาง ประเทศเปนผูจัดการ ลวนมีบทบาทที่จะทําใหเกิดคาใชจายในประเทศตางๆ ที่กูเงินไป และมี ผลกระทบตอยอกจําหนายสินคาและบริการของธุรกิจระหวางประเมศทั้งหลาย นอกจากนั้น

8

ธนาคารโลกยังมีบางหนวยงานเชน (The World Bank’s Center for Arbitration)ซึ่งชวยแก ปญหาในการดําเนินธุรกิจระหวางประเทศ (Ball&McCulloch,1993,p.127) 3. องคการการคาโลก (World Trade Organization หรือ WTO) นับเปนหนวยงานที่มีบทบาท ตอการคาระหวางประเทศเปนอยางมาก โดยไดพัฒนามาจากการเจรจาวาดวยขอตกลง ระหวางประเทศวาดวยภาษีศุลกากรและการคา (General Agreement on Tariffs and Trade หรือ GATT) ในระยะแรก เปนขอตกลงรวมกันของนานาประเทศโดยมีสหรัฐอเมริกา เปนแกนนําในอันที่จะขจัดอุปสรรคทางการคาระหวางประเทศที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะอยางยิ่ง อุปสรรคทางภาษีอากร โดย GATT มีบทบาทสําคัญตอการดําเนินธุรกิจระหวางประเทศโดย เปนองคกรกลางที่วางกฎขอบังคับในสวนที่เกี่ยวของกับการคาระหวางประเทศ ประการ สําคัญยังมีบทบาทในการไกลเกลี่ยขอพิพาทที่เกิดจากการคาระหวางประเทศตางๆ ดังนั้น ธุรกิจระหวางประเทศจึงตองติดตามบทบาทและกิจกรรมตางๆ ของ GATT เพราะจะมีผล กระทบตอการคาระหวางประเทศของนานาประเทศ และยอมมีผลตอการดําเนินงานของกิจ การขามชาติสวนใหญ ตอมาเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1995 ไดปรับเปนองคการการคาโลก (Robin et al.,1998)มาจากชื่อเต็มวา World Trade Organization หรือที่นิยมเรียกวา WTO โดยองคการดังกลาวจะรับผิดชอบขอตกลงทางการคาที่สําคัญสามประการ ไดแก ขอตกลง ในสวนที่เกี่ยวกับขอตกลงของ GATT ทีม่ มี าแตเดิม ซึ่งจะเกี่ยวของกับการจําหนายสินคา ตางๆ (Trade in Goods ) ขอตกลงใหมทางการที่เดี่ยวของกับการใหบริการ(New General Agreement on Trade in Services หรือ GATS) และขอตกลงในสวนที่เกี่ยวของกับสินทรัพย ทางปญญา (New Agreement Covering Intellectual Property Rights) ภารกิจสําคัญที่ WTO หรือ GATT รับผิดชอบจะประกอบไปดวย ภารกิจแรกไกแก กฎหรือระเบียบที่รัดกุมใน การทีจ่ ะใชเปนแนวทางปฎิบัติของประเทศตางๆ ในการทําการคาระหวางกัน และจะทําให บรรดาผู  ส  ง ออกหรื อ นํ าเข า สิ น ค าได รับ รู ว  า กฏระเบีย บของบางประเทศอาจเป น สิ่ ง ที่ไ ม สามารถยอมรับไดในกฏหมายระหวางประเทศ (not Acceptable under International Laws ) ภารกิจประการตอมาไดแกการเกี่ยวของกับการสรางความเสมอภาคทางการคาโลก (The Liberlization of world Trade ) เพือ่ ที่จะทําใหการคาระหวางประเทศตางๆ ดําเนินไป โดยเสมอภาคตามจุดมุงหมายดั้งเดิมของ GATT ทัง้ นีเ้ พราะกฎหมายและวิธีการทางภาษี ศุลกากรของประเทศตางๆ มีความแตกตางกันอยูทั้งมากและนอย ผลของความแตกตาง เหลานั้นจะกอใหเกิดความไดเปรียบหรือเสียเปรียบระหวางประเทศคูคาอันจะนํ ามารซึ่ง อุปสรรคทางการคา (Trade barrier) ทีเ่ กิดขึ้นในโลก โดยเปาหมายสําคัญไดแกการขจัดการ

9

กีดกันทางการคา (Discrimination) โดยมีเปาหมายที่จะใหบรรดาประเทศตางๆ ปรับ กฎหมายหรือระเบียบตางๆ ทางการคาของตนเชนภาษีศุลกากรใหมีความเสมอภาคในการที่ จะดําเนินการคาขายระงประเทศตางๆ 4. ประชาคมยุโรป (The European Union) ในระยะแรกของการรวมกลุมใชชื่อ The European Community หรือ The European Economic Community ประกอบดวยประเทศเบลเยี่ยม เยอรมัน ฝรั่งเศส อิตาลี ลักซเซมเบอรกและเนเธอแลนด ตอมาภายหลังมีเดนมารก ไอรแลนด สหราชอาณาจักร กรีซ สเปนและโปรตุเกส เปาหมายคือการขจัดอุปสรรคทางการคา ตลอด จนสงเสรมการเคลื่อนยายทุน แรงงานและทรัพยากร เพื่อใหเกิดความเปนอันหนึ่งอันเดียวใน หมูป ระเทศสมาชิก อันจะทําใหกลไกทางเศรษฐกิจเปนไปไดอยางเสรี การรวมกลุมกันของ ประเทศดังกลาวในยุโรป ทําใหเปนกลุมที่มีความแข็งแกรงทางเศรษฐกิจและการกลุมหนึ่ง เนื่องจากกลุมดังกลาวมีประชากรมากและมีการบริโภคสินคาและบริการเปนอันดับสองรอง จากสหรัฐอเมริกา ทําใหมีผลกระทบโดยตรงตอลูทางการคาของประเทศตางๆ และสงผลไป ยังบริษัทขามชาติดวย เนื่องจากการรวมกลุมดังกลาวทําใหเกิดบทบาทสําคัญตอการคาโลก ในแงของการสงออกและนําเชาสินคาและบริการสูประเทศในกลุมใกลเคียงกับสหรัฐอเมริกา ซึง่ เคยมีบทบาทสําคัญในการชี้นําทิศทางการคาโลก นอกจากนี้ EU ยังมีแผนการที่จะนําเงิน ตราสกุลหลักของกลุม (The European Currency Unit หรือ ECU) ออกใช แนวทางดังกลาว ยอมจะทํ าใหเงินสกุลดอลลารสหรัฐอเมริกาซึ่งเคยเปนเงินสกุลหลักในการใชชําระหนี้ตาง ประเทศลดบทบาทลงเนื่องจากเงินตราที่ EU นําออกใชจะเปนเงินตราที่มีรากฐานทาง เศรษฐกิจของประเทศในกลุมซึ่งมีอัตราสวนสํ าคัญในปริมาณการคาระหวางประเทศใกล เคียงกับสหรัฐอเมริกา ทําใหบางประเทศอาจลดความสําคัญกับเงินตราสกุลดอลลารสหรัฐที่ จะใชเปนเงินทุนสํารองระหวางประเทศ โดยหันมาใชเงินตราสกุลยุโรปแทน สิ่งเหลานี้ยอมมี ผลทัง้ ทางตรงและทางออมตอบริษัทที่เกี่ยวของกับการคาระหวางงประเทศทั้งสิ้น 5. เขตการคาเสรีอเมริกาเหนือ (North America Free Trade Area,NAFTA) เปนเขตการคาที่ ประกอบดวยประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดาและเม็กซิโก มีจุดประสงคขจัดอุปสรรคทางภาษี ศุลกากร (Tariffs) ในสินคาตางๆ ที่มีระหวางประเทศทั้งสาม แตสิ่งที่ทําใหกลุมมีความสําคัญ และมีบทบาทตอโลก เนื่องจากสหรัฐอเมริกาเพียงประเทศเดียวก็เปนประเทศที่มีการสงออก และนําเขารายใหญที่สุดของโลก (ตารางที่ 2-2) ประการสําคัญคือประชาชนอเมริกันมีศักย ภาพในการซื้อสูงมากกวาประเทศใดๆ ในโลก ทั้งยังมีพลเมืองมากถึงกวา 250 ลานคน ทําให อเมริกาเปนแหลงใหญในการจําหนายสินคาทั้งจากบริษัทของอเมริกันเองและจากทั่งทุกมุม

10

โลก ดังนั้นการรวมกลุมทางการคาระหวางสหรัฐอเมริกากับเม็กซิโกจึงเปนที่สนใจจาก ประเทศคูค าอื่นๆ ทั่วโลก สําหรับผลกระทบตอประเทศไทยนั้น เม็กซิโกเปนประเทศในกลุม NAFTA ซึง่ มีลกั ษณะคลายประเทศไทย กลาวคือยังเปนประเทศที่ไมมีความแข็งแกรงทาง เศรษฐกิ จ และอาศั ย ความได เ ปรี ย บจากค า แรงงานในการดึ ง ดู ด การลงทุ น เช น เดี ย วกั บ ประเทศไทย การรวมกลุมดังกลาวอาจทําใหเม็กซิโกมีความไดปรียบและชวงชิงตลาดการคา กับสหรัฐอเมริกาซึ่งเปนตลาดที่สําคัญของประเทศไทยไปได ตารางที่ 2-2 World Trade in Merchandise Export

และปริมาณการบริโภคและผลิตของสหรัฐอเมริกาเพียงประเทศเดียวก็มากวา หลายๆ ประเทศในโลกรวมกัน จากขอมูลดังกลาวทําใหเขตการคาเสรีอเมริกาเหนือมีบทบาทตอธุรกิข การคาระหวางประเทศ นอกจากนี้แลวปจจัยสําคัญอีกชนิดหนึ่งไดแกบริษัทขามชาติที่มีบท บาทตอการคาโลกจํานวนมากเปนบริษัทของอเมริกา ดังนั้นในการศึกษาในเรื่องที่เกี่ยวกับ การคาระหวางประเทศจึงตองเกี่ยวพันกับเขตเศรษฐกิจดังกลาว 6. สมาคมอาเชี่ยน (Association of Southeast Asian,ASEAN) เปนสมาคมที่จัดตั้งขึ้นในป 1967 ประกอบดวย บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปรและประเทศไทย แมใน ระยะแรกสมาคมอาเชียนจะมีกิจกรรมที่เกี่ยวกับความรวมมือทางทหารอยูมากเนื่องจากการ คุกคามของกลุมประเทศคอมมิวนิสต แตในปจจุบันการคุกคามดังกลาวไดหมดสิ้นลงทําให กลุมประเทศในสมาคมอาเชียนถูกจับตามากจากประเทศอุตสาหกรรมและบริษัทขามชาติ เนือ่ งจากเปนเขตที่มีศักยภาพที่จะเปนไดทั้งผูผลิตและผูบริโภค เนื่องจากประเทศในกลุมมี ประชากรรวมกันถึงประมาณ 330 ลานคน และมีพัฒนาการทางเศรษฐกิจสูง ทั้งยังสามารถ เปนศูนยกลางการคมนาคม การขนสงและแมกระทั่งศูนยกลางทางการเงินไดอีกดวย ยิ่งไป กวานั้นการที่อาเชียนมีอาณาเขตที่ไมหางจากจีนมากนัก ทั้งมีขนบธรรมเนียมและวัฒนธรรม ทีใ่ กลเคียงกับจีน ทําใหประเทศในกลุมอาเชียนมีศักยภาพที่จะติดตอคาขายกับจีน ซึ่งเปน ประเทศที่มีพลเมืองมากที่สุดในโลกและมีแนวโนมที่จะมีบทบาททางเศรษฐกิจในอนาคตอัน ใกล 7. เขตการคาเสรีอาเชียน (Asean Free Trade Aera, AFTA)เปนโครงการที่เริ่มในสมัยนาย อานันท ปนยารชุนเปนนายกรัฐมนตรี โดยเริ่มอยางเปนทางการในการประชุมสุดยอดอาเชีย นครั้งที่ 4 ในวันที่ 18 มกราคม 2535 โดยมีวัตถุประสงคที่จะกระตุนใหเกิดพการเสรีในกลุม ประเทศอาเชียโดยมิใหภาษีเปนอุปสรรคตอการคาระหวางกัน และยังสงผลใหเกิดการขยาย การลงทุนในภูมิภาคทั้งจากการลงทุนภายในกลุมเองและการลงทุนจากนอกภูมิภาค โดยมี

11

เปาหมายที่จะลดภาษีศุลกากรใหครอบคลุมสินคาทุกประเภทยกเวนสินคาเกษตร และโดยที่ ประเทศในกลุมอาเชียนมีบทบาทสําคัญทางเศรษฐกิจและมีศักยภาพที่จะพัฒนาตนเองทาง เศรษฐกิจ เขตการคาดังกลาวจึงมีความสําคัญ แมวาปนะเทศในกลุมดังกลาวโดยเฉพาะ อยางยิง่ ประเทศไทยจะประสบปญหาทางเศรษฐกิจอยางรุนแรง จนเปนเหตุใหเกิดการชะงัก งันไปบางก็ตาม นอกจากกลุมหรือสมาคมดังกลาวแลวยังมีกลุมหรือสมาคมทางการคาระหวางประเทศ อืน่ ทีม่ บี ทบาทในภูมิภาคตางๆ ของโลก องคการเหลานี้จะมีบทบาทในเรื่องกิจกรรมทางการคา และทําใหเกิดเขตเศรษฐกิจเฉพาะ (Economics Block) เนื่องจากขอตกลงระหวางสมาชิกใน กลุม ในขณะที่ GATT ก็มนี โยบายที่จะทําใหเกิดการคาเสรีขึ้นในโลก ดังนั้นธุรกิจขามชาติที่มี ขนาดใหญจึงตองติดตามทิศทางการเคลื่อนไหวของหนวยงานเหลานี้ เพราะจะมีผลโดยตรงตอ การดําเนินธุรกิจของบริษัทขามชาติ เนื่องจากธุรกิจขามชาติมักมีขนาดใหญตองการผูบริโภค จํานวนมหาศาลมารองรับสินคาหรือบริการที่ผลิตขึ้น บริษัทขามชาติจึงตองแสวงหาตลาดจาก ทุกมุมโลกซึ่งทําใหตองไปเกี่ยวของกับเขตเศรษฐกิจและองคการระหวางประเทศตางๆ ดังได กลาวมาแลว

12

กลยุทธการลงทุนในตางประเทศ ในการดําเนินธุรกิจใดๆ ก็ตามจุดเริ่มตนจะอยูที่การลงทุน แตการลงทุนในตางประเทศจะ มีปจ จัยที่ทําใหผูลงทุนตองพิจารณาสูงกวาธุรกิจที่ทําการลงทุนภายในประเทศ ปจจัยดังกลาวมี ทัง้ ในแงกฎหมายในตางประเทศ กฎหมายระหวางประเทศ และกฎหมายภายในประเทศที่เกี่ยว ของกับการลงทุนในตางประเทศ นอกจากนี้ผูลงทุนยังตองเผชิญยุทธวิธี (Business Strategy) จากคูแ ขงขันที่หลากหลายและอาจมีความชํานาญในการดําเนินธุรกิจในทองถิ่นนั้นๆ สูงกวา ผู บริหารธุรกิจระหวางประเทศจึงตองกําหนดแนวทางที่เหมาะสมในการลงทุนในตางประเทศ เพื่อ ใหกิจการในตางประเทศที่ไปลงทุนสามารถอยูรอดและพัฒนาในเวลาตอมาได ความลมเหลว ของการดําเนินธุรกิจในตางประเทศมิไดมาจากความบกพรองของผูบาริหาารแตเพียงอยางเดียว การเลือกกวิธีการลงทุนที่ไมเหมาะสมก็เปนปจจัยที่ทําใหธุรกิจไมสามารถดําเนินการไดอยางมี ประสิทธิภาพเชนกัน Ball & McCulloch (1993) ไดแบงการพิจารณาการลงทุนในตางประเทศไว สองแนวทางกวางไดแก การลงทุนในตลาดทุนเพื่อวัตถุประสงคในผลตอบแทนที่เปนตัวเงิน (Portfolio Investment) และการลงทุนในลักษณะที่จะทําใหกิจการสามารถบริหารธุรกิจที่ไดลง ทุนไว (Foreign Direct Investment หรือ FDI) การลงทุนในตลาดทุนเพื่อวัตถุประสงคในผลตอบแทนที่เปนตัวเงิน (Portfolio Investment) การลงทุนในลักษณะนี้หมายถึงการซื้อหุนหรือพันธบัตรโดยมีวัตถุประสงคที่จะไดรับผล ตอบแทนจากเงินลงทุนแตมิไดมีวัตถุประสงคที่จะเขาไปบริหารกิจการดังกลาว ดังนั้นการลงทุน โดยการซื้อหุนหรือพันธบัตรจากกิจการของประเทศอื่นเพื่อวัตถุประสงคดังกลาว จึงไมจําเปนตอง รักษาสัดสวนของจํานวนหุนใหสูง อยางไรก็ดีวิธีการลงทุนในลักษณะเชนนี้ก็สามารถใหผลตอบ แทนทีส่ งู และเปนที่นิยมในหมูนักลงทุน แตในแงของการจัดการแลวผูลงทุนจะไมมีบทบาททาง การจัดการตอกิจการทที่ไดลงทุนไว การลงทุนในลักษณะที่จะทําใหกิจการสามารถบริหารธุรกิจที่ไดลงทุนไว (Foreign Direct Investment หรือ FDI)

13

หมายถึงการลงทุนที่ผูลงทุนมีสวนในการเปนเจาของกิจการเพียงพอที่จะมีบทบาทสําคัญ ในการควบคุมทางการจัดการ (Significant Management Control) แนวคิดหลักของการลงทุน โดยตรงในตางประเทศไดแกการมุงควบคุมสินทรัพยของบริษัทในประเทศอื่น การลงทุนโดยตรง ในตางประเทศของบริษัทขามชาติจากประเทศตางๆ มักจะเกิดขึ้นโดยกิจการจากประเทศที่ พัฒนาแลว (Developed Countries) เปนสวนใหญ มีเพียงสวนนอยที่เกิดโดยประเทศดอย พัฒนาหรือประเทศที่กําลังพัฒนารวมทั้งประทศที่เคยใชระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสตมากอน จะเห็นวาสหรัฐอเมริกายังคงเปนประเทศที่เปนผูนําในอัตราสวนของการลงทุนในตางประเทศ ใน ชวงแรกคือในชวงป ค.ศ. 1967-1972 มากกวาครึ่งหนึ่งของการลงทุนในตางประเทศที่เกิดขึ้นใน โลกเปนของสหรัฐอเมริกา (ตารางที่ 3-1) แมวาในระยะหลังอัตราสวนดังลาวจะลดลงเนี่องจาก สัดสวนการลงทุนของประเทศอื่นที่เพิ่มขึ้นเปนอยางมาก ตารางที่ 3-1 Outflow of FDI out of Developed Countries 1967-1973 (million of dollars)

การลงทุนโดยตรงโดยกิจการจากประเทศที่จําไปลงทุนหรือประเทศแม (Home country) ยังประเทศที่รับการลงทุน (Host country )นัน้ ไมจําเปนที่จะตองโอนเงินจากประเทศแมไปยัง ประเทศทีจ่ ะรับการลงทุนเสมอไป ทั้งนี้เพราะบริษัทแมอาจโอนเงินไปลงทุนหรือกูยืมเงินจาก แหลงเงินทุนในประเทศที่จะถูกลงทุนหรือหลายวิธีรวมกัน ดังนั้นจึงสรุปไดวาการลงทุนโดยตรงใน ตางประเทศตองการการโอนกรรมสิทธิในความเปนของสูผูลงทุน ในขณะที่กระบวนการทางการ เงินอาจมีไดหลายวิธี ปจจัยที่สงเสริมใหเกิดการลงทุนในตางประเทศ Grosse & Kujawa (1995) พบวาในชวงป 1960-170 เหตุผลสําคัญของการลงทุนในตาง ประเทศของกิจการตางๆ เกิดจากวัตถุประสงคที่ตองการจะขายสินคาของตนเนื่องจากไดประสบ ผลสําเร็จอยางเต็มที่ในการขายสินคาดังกลาวภายในประเทศ จนกระทั่งอุปสงคของสินคาดัง กลาวในทองถิ่นถึงจุดอิ่มตัวแลว ตอมาวัตถุประสงคดังกลาวไดพัฒนามาเปนการลดตนทุนคาขน สงสินคาไปขายและกลายมาเปนการลดตนทุนการผลิตในที่สุด เนื่องจากพัฒนาการทาง เศรษฐกิจของประเทศอุตสาหกรรมทําใหตนทุนคาแรงงานในประเทศเหลานั้นสูง การเคลื่อนยาย ฐานการผลิตไปยังแหลงที่คาแรงงานตํ่าและใกลตลาดที่ผูบริโภคตองการจะทําใหประหยัดทั้งตน ทุนการผลิตและตนทุนคาขนสง ตัวอยางเชนการยายฐานการผลิตอุตสาหกรรมยานยนตของ

14

ประเทศตางๆ มายังประเทศไทยเปนตน ในยุคปจจุบันความไดเปรียบเนื่องจากการลงทุนในตาง ประเทศอาจมีปจจัยเพิ่มขึ้นอีกหลายประการสรุปไดดังนี้ 1.เพือ่ แสวงหาตลาดใหมๆ ทั้งนี้เพราะผลจากความเจริญทางวิทยาการไดสงผลใหอุตสาห กรรมตางๆ สามารถผลิตสินคาออกสูตลาดไดเปนจํานวนมาก ในบางครั้งก็มากเกินความ ตองการของผูบริโภคในทองถิ่น ทําใหตองไปหาตลาดในตางประเทศเพื่อรองรับสินคาเหลานั้น เหตุผลนีเ้ ปนเหตุผลที่สําคัญมากประการหนึ่ง การสงสินคาออกและการไปลงทุนในตางประเทศ ของกิจการตางๆ มักเกิดจากการที่กิจการประสบความสําเร็จในประเทศแมอยางสูงแลวจึงขยาย ตลาดสูนานาประเทศ 2.เพือ่ ลดตนทุนคาขนสง นับเปนปจจัยที่เห็นไดคอนขางชัดเจนอีกปจจัยหนึ่ง โดยเฉพาะ อยางยิ่งผลิตภัณฑที่มีขนาดใหญตองเสียคาใชจายในการขนสงมาก ตัวอยางเชนรถยนตเปนตน ถาหากบริษัทผลิตรถยนตในญี่ปุนจะสั่งเหล็กจากประเทศในยุโรปลงเรือผานประเทศไทย เพื่อไป ผลิตยังโรงงานในประเทศญี่ปุน เมื่อผลิตเสร็จก็จะตองนํารถสําเร็จรูปดังกลาวขนสงทางเรือกลับ มาขายยังประเทศไทย ดังนั้นถากิจการดังกลาวยายฐานการผลิตมายังประเทศไทยแลวทําการ ผลิตรถยนตในประเทศไทยเพื่อจําหนายในประเทศไทยและประเทศอื่นในภูมิภาคก็จะลดตนทุน ในสวนทีเ่ ปนของคาขนสงลงไปได โดยเฉพาะอยางยิ่งถาคาขนสงสินคาชนิดนั้นๆ นับเปนตนทุนที่ มีอตั ราสวนสูงในจํานวนตนทุนทั้งหมด ก็ยอมจะทําใหตนทุนสินคาชนิดดังกลาวลดลงเปนจํานวน มากตามไปดวย 3.เพือ่ ลดตนทุนการผลิต แนวคิดดังกลาวตรงกับทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับความไดเปรียบ ระหวางประชาชาติ(National Comparative Advamtage) ที่วากิจการควรพิจารณาเลือกผลิต สินคาในประเทศที่สามารถผลิตสินคาชนิดนั้นๆ ไดในตนทุนที่ตํ่าที่สุด ทั้งนี้เพราะตนทุนการผลิต ตางๆ ในแตละประเทศยอมจะแตกตางกัน เชน คาแรง คาใชจายในการจัดหาพื้นที่ คา สาธารณูปโภคและคาใชจายอื่นๆ ดังนั้นการเลือกประเทศที่มีความไดเปรียบทางตนทุนการผลิต ยอมจะสงผลถึงราคาสินคาที่ลดตํ่าลลงบนพั้นฐานของคุณภาพที่คงเดิมได ตัวอยางเชน กิจการที่ เกี่ยวของกับสิ่งทอเปนกิจการที่อาจใชเทคโนโลยีไมสูงแตจําเปนตองใชแรงงานคนเปนจํานวน มาก หากทําการผลิตสินคาประเภทสิ่งทอในประเทศที่มีคาแรงงานสูงยอมจะทําใหผลผลิตมี ราคาสูงและยากที่จะหลีกเลี่ยงได เนื่องจากกิจการตองพึ่งแรงงานคนเปนหลัก ถาจะพัฒนา เครือ่ งจักรมาใชแทนแรงงานคนก็เปนเรื่องที่ตองใชเวลานานและอาจเปนไปไดยาก วิธีการที่ เหมาะสมที่สุดที่กิจการทั่วไปเลือกใชคือการเคลื่อนยายฐานการผลิตออกไปยังประเทศอื่นที่มีคา

15

แรงงานถูกกวา แนวทางดังกลาวยังอาจพบไดในรูปของการประกอบสินคาจากตางประเทศเพื่อ ใชภายในประเทศดวย (Offshore Assembly) เชนการที่บริษัทผลิตเครื่องใชไฟฟาของสหรัฐ อเมริกาสงชิ้นสวนที่ผลิตในอเมริกาไปประกอบในไตหวันหรือฮองกงแลวสงกลับไปใชในสหรัฐ ครัน้ ไตหวันหรือฮองกงเริ่มมีตนทุนสูงขึ้น ก็ยายไปใชวิธีการดังกลาวกับกลุมประเทศในทวีป อเมริกาใต และยังพัฒนาไปสูการผลิตชิ้นสวนในประเทศใดประเทศหนึ่งและสงไปประกอบในอีก ประเทศหนึ่งแลวจึงสงกลับไปจําหนายภายในประเทศ 4.เพือ่ เขาหาแหลงวิทยาการและทักษะเฉพาะ ถาผลิตภัณฑใดๆ ที่ตองใชเทคโนโลยีและ ความเชีย่ วชาญเฉพาะ กิจการก็อาจตองไปลงทุนในประเทศที่มีความเชี่ยวชาญในสิ่งเหลานั้นแม วาจะกอใหเกิดขอเสียเปรียบทางดานอื่นก็ตาม ตัวอยางเชนการจะไปตั้งบริษัทผลิตเครื่องมือ แพทยในประเทศที่มีคาแรงตํ่าแตขาดแคลนนักวิจัยหรือนักประดษฐยอมไมกอใหเกิดผลดีและขอ ไดเปรียบจากการคนควาหาผลิตภัณฑใหมๆ หรือการตั้งธุรกิจที่เกี่ยวของกับอวกาศในประเทศที่ ขาดแคลนผูเชี่ยวชาญทางวิศวกรรมยานอวกาศยอมเสียเปรียบการไปตั้งในสหรัฐอเมริกาที่มีผู เชีย่ วชาญดานอวกาศอยูเปนจํานวนมาก แมวาสหรัฐอเมริกาจะเปนประเทศที่มีคาแรงงานสูงก็ ตาม ดวยเหตุนี้ฝายวิจัยและพัฒนาของธุรกิจจากหลายประเทศจึงเขาไปตั้งอยูในประเทศสหรัฐ อเมริกาซึ่งมีความพรอมทางการวิจัยสูง 5.เพือ่ การจัดหาวัตถุดิบ การลงทุนในตางประเทศในลักษณะเชนนี้เปนสิ่งที่เกิดขึ้นได โดย เฉพาะจากประเทศที่ประสบความสําเร็จทางอุตสาหกรรมแตขาดแคลนทรัพยากรภายในประเทศ ตัวอยางเชนประเทศญี่ปุนซึ่งเปนประเทศอุตสาหกรรมหนัก ตองการทรัพยากรประเภทแรธาตุ และนํ้ามันไปใชในการผลิต แตโดยที่ประเทศญี่ปุนเองไมมีทรัพยากรดังกลาวภายในประเทศ ดัง นั้นธุรกิจของญี่ปุนจึงตองมีการทํ าสัญญาซื้อทรัพยากรดังกลาวจากบริษัทของตางประเทศที่ สามารถจักหาทรัพยากรดังกลาวใหได หรืออีกทางเลือกหนึ่งไดแกการที่ญี่ปุนไปทําการลงทุนโดย ตรงในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับแรธาตุและทรัพยากรในประเทศที่แหลงทรัพยากรดังกลาว 6.เพือ่ การแขงขันกับคูแขงขัน โดยทั่วไปแลวผูบริหารธุรกิจระหวางประเทศจะตองคอย ตรวจสอบสถานภาพการดําเนินงานของคูแขงขันในตางประเทศอยูเสมอ การอยูกับที่ของการจัด การธุรกิจระหวางประเทศซึ่งมักปนกิจการขนาดใหญ และปลอยใหคูแขงขันดําเนินธุรกิจในดิน แดนใหมตามลําพัง ยอมหมายถึงการปลอยใหคูแขงขันมีสวนแบงในตลาดโลกสูงขึ้นเรื่อยๆ จาก ชองวางทางการตลาดเหลานั้น นับเปนสิ่งอันตรายตอการดําเนินงานในระยะยาว เพราะคูแขงขัน จะไดประโยชนจากสวนแบงตลาดที่สูงขึ้นในแงของตนทุนตอหนวยที่ตํ่า (Economy of Scales) และสงผลไปยังตนทุนในการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ นอกจากนี้การปลอยใหคูแขงขันไป

16

ดําเนินธุรกิจในประเทศอื่นๆ ลวงหนายอมจะทําใหคูแขงขันมีความชํานาญกับการดําเนินธุรกิจใน ประเทศนั้นมากกวา ทําใหลําบากตอการแขงขันในภายหลัง 7.สาเหตุอนื่ ๆ เชน การสรางคานิยมใหแกชื่อเสียงของกิจการและผลิตภัณฑในตาง ประเทศ การหาทางออกเนื่องจากขอจํากัดทางการคาระหวางประเทศตางๆ และเหตุผลอื่นๆ ที่ จะกอใหเกิดการไดเปรียบอยางคุมคาตอธุรกิจแตละชนิด กิจการแตละกิจการ ในประเทศแตละ ประเทศ สําหรับการเขาสูตลาดในตางประเทศนั้น สิ่งสําคัญที่ผูบริหารกิจการขามชาติจะตองรับรู กอนทีจ่ ะเขาไปรับผิดของกิจการที่จะดําเนินงานในตาประเทศ ไดแกจะเขาไปเปดตลาดในตาง ประเทศและเริ่มตนลงทุนดวยวิธีการอยางไร การเริ่มตนธุรกิจในตางประเทศสามารถเริ่มไดหลาย วิธี โดยแตละวิธีมีความไดเปรียบหรือเสียเปรียบอยูในตัวเอง ปจจัยทางดายผลิตภัณฑและขอ จํากัดตางๆ จะเปนสิ่งที่มีผลกระทบตอบริษัทขามชาติในการเลือกที่จะทําการลงทุนดวยวิธรีการ อยางไร สําหรับวิธีการดําเนินธุรกิจในตางประเทศที่พบเห็นโดยทั่วไปดังนี้ การสงออก (Exporting) นับเปนวิธีการพื้นฐานในการดําเนินธุรกิจระหวางประเทศ ทั้งนี้เพราะกิจการเพียงแตแสวง หาตลาดสําหรับสินคาของตนพรอมทั้งวิธีการในการจําหนายสูผูบริโภค สวนกระบวนการผลิตอัน เปนกระบวนการที่ซับซอนนั้นจะดําเนินการในปรหะเทศเจาของกิจการดั้งเดิม (Home country) วิธกี ารสงออกแบงออกไดเปนสองวิธีไดแก การดําเนินกิจกรรมสงออกผานบริษัทตัวแทนการสง ออกหรือขายสินคาใหกับบริษัทนําเขาและสงออก (Indirect exporting) แตวิธีดังกลาวไมไดทํา ใหกิจการมีความชํานาญในการดําเนินธุรกิจตางประเทศมากนัก และยังตองเสียคาตอบแทนให กับตัวแทนดังกลาว ทั้งตลาดในตางประเทศยังขึ้นอยูกับตัวแทนเหลานั้นอีกดวย สวนอีกวิธีหนึ่ง ไดแก การดําเนินกิจการรมสงสินคาออกไปตลาดในตางประเทศดวยกิจการเอง (Direct exporting) โดยกิจการอาจมีแผนกสงออกหรือมอบหมายใหผูจัดการฝายขายรับผิดชอบ ในการ เปรียบเทียบชองทางการจัดจําหนายจากผูผลิตสูผูบริโภคระหวางตลาดภายในประเทศกับการสง ออกจะมีความแตกตางกันที่ขั้นตอนการจัดจําหนายของการสงออกจะมีหลายขั้นตอนดังรูปที่ 31

17 รูปที่ 3-1 การเปรียบเทียบชั้นตอนการจัดจําหนายระหวางตลาดภายในกับการสงออก

นอกจากความแตกตางในเรื่องของขั้นตอนการจัดจําหนายดังกลาวแลว ยังมีเรื่องของตน ทุนทีส่ งู กวาสินคาที่ผลิตและจําหนายภายในประเทศ เนื่องจากมีหลายขั้นตอนมากกวา อยางไรก็ ดีสนิ คาที่ผลิตโดยบริษัทขามชาติมักมีปริมาณมากทําใหไดเปรียบในเรื่องของตนทุนตอหนวย ทํา ใหสนิ คานําเขาบางครั้งอาจมีราคาถูกกวาที่ผลิตภายในประเทศ ตัวอยางเชนผลิตภัณฑชิ้นสวน รถยนตทผี่ ลิตจําหนายในประเทศไทย ในชวงที่รัฐบาลบังคับใหใชชิ้นสวนภายในประเทศในขณะ ทีร่ ถยนตบางยี่หอและบางรุนอาจมียอดจําหนายตอมีตํ่ามาก เชนไมถึงรอยคันตอปทําใหตองทํา การผลิตชิ้นสวนดังกลาวเปนจํานวนนอย ถาจะใหตนทุนตํ่าก็ตองลดคุณภาพลงเปนอยางมาก ในขณะทีก่ ารสั่งชิ้นสวนดังกลาวจากตางประเทศจะมีตนทุนถูกกวา เนื่องจากชิ้นสวนดังกลาง ผลิตในตางประเทศเปนจํานวนหลายลานชิ้นตอป แตเมื่อประเทศไทยเปนฐานการผลิตรถยนต เพือ่ การสงออกดวย ทําใหปริมาณผลิตแตละปมากพอที่จะทําการผลิตชิ้นสวนไดคุมทุน โดยได ผลิตภัณฑที่มีตนทุนตํ่าและคุณภาพดี ผลกระทบตอการสงออกและนําเขาที่สําคัญอีกประการ หนึง่ ไดแกผลกระทบจาอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหวางประเทศ ผลกระทบดังกลาวอาจกอให เกิดกําไรหรือขาดทุนแกบริษัทนําเขาหรือสงออกเปนจํานวนมหาศาลตอป การลงทุนทั้งหมด (Wholly owned subsidiary) หมายถึงการที่ผูลงทุนทําการลงทุนใหมในตางประเทศเอง โดยเฉพาะอยางยิ่งในปจจุบัน ทีป่ ระเทศตางๆ เปดเสรีเพื่อใหนักลงทุนตางชาติลงทุนในประเทศตนเองไดมากขึ้น จากการที่แต กอนสัดสวนของทุนระหวางนักลงทุนจากตางชาติและนักลงทุนจากทองถิ่นถูกกําหนดขึ้น ทําให เกิดปญหาในดานการบริหารและทําใหเปนอุปสรรคประการหนึ่งที่นักลงทุนตางชาติใหความสน ใจ การลงทุนใหมในตางประเทศทั้งหมดนั้น เกิดขึ้นในลักษณะที่กิจการจากประเทศหนึ่งไปลง ทุนในอีกประเทศหนึ่งโดยมีสัดสวนทุนเปนสวนใหญหรือทั้งหมด ทําใหอํานาจทางการบริหารอยู ในมือบริษทั แมโดยสิ้นเชิง การลงทุนในลักษณะนี้จะมีผลตอกิจการที่จะขยายขอบเขตการดําเนิน งานไปยังประเทศอื่นในแงที่กิจการมีอํานาจในการกําหนดแผนการและสิ่งตางๆ ไดอยางเต็มที่ ตามทีส่ ํานักงานใหญตองการ โดยมิตองพะวงกับนักลงทุนจากทองถิ่น เพียงแตตองปฏิบัติตาม กรอบของกฎหมายในประเทศที่ไปลงทุนเทานั้น และกรอบของกฎหมายดังกลาวก็เปนสิ่งที่ สามารถศึกษาไดลวงหนา ขอเสียเปรียบไดแกการที่กิจการไมมีความชํานาญในขอมูลทองถิ่นดี พอทําใหโดยทางทฤษฎีแลวอาจแขงขันกับผูอื่นไดลําบาก แตในทางปฏิบัตินั้นบริษัทขามชาติมัก

18

มีความไดเปรียบธุรกิจทองถิ่นหลายประการเชน การมีทุนในการดําเนินงานสูงและตนทุนของเงิน ทุนเหลานั้นตํ่า ทําใหกิจการเหลานั้นสามารถจัดหาบุคคลากรทองถิ่นที่มีคุณภาพดีได นอกจากนี้ ความเชี่ยวชาญทางระบบการจัการและเทคโนโลยีที่กาวหนาก็เปนองคประกอบที่ทําใหไดเปรียบ ธุรกิจทองถิ่น ประการสําคัญอีกประการหนึ่งไดแกการที่บริษัทขามชาติมักมีตลาดจากทุกมุมโลก ดังนัน้ หากประสบปญหาการทําตลาดในระยะแรก ก็สามารถหาตลาดอื่นมาปอนการะบวนการ ผลิต จนกวาจะมีความเชี่ยวชาญในตลาดทองถิ่นได ทําใหธุรกิจจากตางชาติมักประสบความ สําเร็จไดดีกวาธุรกิจทองถิ่น และบางครั้งทําใหธุรกิจทองถิ่นเองตองเลิกกิจการไปในที่สุด การรวมทุน (Joint venture) การรวมทุนที่จัดวาเปนธุรกิจระหวางประเทศ (International Joint Venture) ไดแกการที่ บริษทั ใดบริษัทหนึ่งมีเจาของเปนบริษัทมีเจาของเปนบริษัทอื่นสองบริษัทหรือมากกวา โดยบริษัท เหลานัน้ เปนบริษัทที่มาจากคนละประเทศ โดยทั่วไปแลวการตวมทุนกับธุรกิจทองถิ่นในการลง ทุนในธุรกิจมีวัตถุประสงคเพื่อนําขอไดเปรียบที่แตละฝยมีมาใช ในปจจุบันเกิดสภาวะการแขงขัน ทางธุรกิจสูง ทําใหการรวมทุนระหวางกิจการตางประเทศมีสูง การแขงจันที่เคยมรระหวางกิจการ ของประเทศหนึ่งกับกิจการของอีกประเทศกนึ่ง กลายเปนการรวมทุนระหวางกิจการจากประเทศ ทีเ่ คยแขงขันกัน สําหรับวัตถุประสงคหลักที่มีการรวมในระหวางประเทศนั้น Beamish (1994) ไดสรุปไวสี่ประการไดแก 1) การนําเสรอผลิตภัณฑสูตลาดในตางประเทศ 2) การเพิ่มศักยภาพใน การแขงขันของผลิตภัณฑที่มีอยูแลว 3) การขยายขอบเขตธุรกิจไปสูผลิตภัณฑอื่น และ4) การนํา ผลิตภัณฑจากตางประเทศเขามาในประเทศ วัตถุประสงคทั้งสี่ประการสามารถอธิบายไดดังนี้ 1. การนําเสนอผลิตภัณฑสูตลาดในตางประเทศ ดังที่ไดกลาวมาแลววากิจการที่ประสบ ความสําเร็จจากตลาดภายในประเทศและมองเห็นลูทางที่จะจําหนายสินคาของตนได ในตางประเทศ ยอมมองหาชองทางที่จะขยายขอบเขตการดําเนินงานไปยังตลาดใน ตางประเทศ แตปจจัยที่ธุรกิจทั้งหลายใหความสําคัญในการเริ่มตนธุรกิจในประเทศ ตางๆ ไดแกความเสี่ยง(Risk) ปจจัยในเรื่องความเสี่ยงเกิดไดจากหลายสาเหตุ ไมวา จะเปนปญหาทางการตลาด การจัดการ การผลิต สถานการณที่แวดลอมในตาง ประเทศ แตโดยสรุปแลวเกิดจากความไมแนนอนที่ธุรกิจไมทราบลวงหนา ทําใหธุรกิจ ตองคํานึงถึงผลที่จะเกิดขึ้นหลังจากการลงทุนจํานวนมหาศาลไปแลว การรวมทุนกับ

19

กิจการทองถิ่นซึ่งอาจมีฐานการตลาดอยูแลว และมีประสบการณในการดําเนินงานใน ดานตางๆ ในทองที่ เปนการลดความเสี่ยงลงไดในระดับหนึ่ง ผลความไดเปรียบอีก ประการหนึ่งไดแกการนําเทคโนโลยีจากตางประเทศมาผสมผสานกับความชํานาญ ดานการตลาดของกิจการทองถิ่น ยอมจะกอใหเกิดความไดเปรียบตอคูแขงขันในทอง ถิน่ มาก และทําใหผูบริโภคไดใชผลิตภัณฑตีราคาถูกการนําเสนอผลิตภัณฑใหมใน ตางประเทศโดยการรวมทุนนี้ ในผลิตภัณฑอุตสาหกรรมบางชนิดมีรากฐานมาจาก การติดตามลูกคาประจําไปยังตางประเทศดวย ตัวอยางเชนบริษัทรถยนตของญี่ปุน เมือ่ ขยายฐานการผลิตไปยังสหรัฐอเมริกา บริษัทผูจัดสงชิ้นสวนให (Supplier) ก็อาจ ตองการที่จะไปจําหนายชิ้นสวนใหกับกระบวนการผลิตในอเมริกา และบริษัทรถยนต เหลานีก้ อ็ าจตองการซื้อชิ้นสวนจากบริษัทผูจัดสงชิ้นสวนเดิมที่เคยซื้อในญี่ปุน แต บริษทั ชิน้ สวนของญี่ปุนเองอาจไมแนใจในการที่จะไปผลิตเองในสหรัฐอเมริกา เนื่อง จากตนเองไมมีความชํานาญพอจึงเลือกที่จําใชวิธีรวมทุนกับผูผลิตชิ้นสวนบางรายใน สหรัฐ ทําใหสามารถเขไปเปดกิจการในสหรัฐไดโดยมีความเสี่ยงลดลง บริษัทผูผลิต ชิ้นสวนในสหรัฐเองก็จะไดลูกคารายใหญจากญี่ปุนทําใหผลการดําเนินงานของตนดี ขึ้น 2. การเพิ่มศักยภาพในการแขงขันของผลิตภัณฑที่มีอยูแลว การรวมทุนเปนวิธีการที่ สําคัญอีวิธีหนึ่งของบริษัทขามขาติในการที่จะรักษาสถานภาพทางธุรกิจหรือเพิ่มขีด ความสามารถในการแขงขัน ตัวอยางเชนการตองการลดตนทุนการผลิตโดยรวมทุน ในโครงการวิจัยหรือการผลิตที่ตองใชเงินทุนสูง จะเห็นไดจากการที่บริษัทรถยนตบาง บริษทั เชน วอลโว เปอโยต และเรโนลต รวมทุนกันในการผลิตเครื่องยนต ทําใหการ ผลิตเครื่องยนตนั้นสามารถกอใหเกิดการประหยัดตนทุนการผลิตจากปริมาณผลิตที่ สูง (Economy of Scales) ดังนั้นรถทั้งสามยี่หอจึงสามารถลดตนทุนจากคาเครื่อง ยนตลงไปไดในระดับหนึ่ง ทําใหในปจจุบันการรวมทุนของบริษัทรถยนตมีสูงขึ้นเรื่อยๆ ตัวอยางที่จะเห็นไดอยางชัดเจนในเรื่องการลดตนทุนทีทําใหกิจการที่มีศักยภาพใน การแขงขัน ไดแกสมมุติวามีบริษัทรถยนตสามบริษัทไดแกบริษัท A บริษัท B และ บริษัท C ถาบริษัทดังกลาวจะลงทุนในการวิจัยสามโครงการไดแก โครงการพัฒนา เครือ่ งยนตใชเงินทุน 2.000 ลานบาท โครงการที่สองเปนการพัฒนาระบบสงกําลังใช เงินทุนอีก 2,000 ลานบาท และโครงการที่สามพัฒนาชวงลางใชเงินทุนอีก 2,000 ลานบาท ถาบริษัททั้งสามบริษัทไมไดรวมทุนกัน บริษัททั้งสามจะตองใชเงินทุนบริษัท

20

ละ 6,000 ลานบาทในการพัฒนาระบบทั้งสามระบบ แตถารวมทุนกันโดยใหบริษัท A พัฒนาเครื่องยนต บริษัทB พัฒนาระบบสงกําลัง และบริษัท C พัฒนาระบบชวงลาง บริษทั ทัง้ สามบริษัทจะใชทุนการวิจัยเพียงบริษัทละ 2,000 ลานบาท 3. การขยายขอบเขตธุรกิจไปสูผลิตภัณฑอื่น บริษัทที่ประสบความสําเร็จในธุรกิจชนิด หนึง่ จนถึงจุดอิ่มตัว อาจมีความตองการที่จะขยายสายการผลิตไปสูธุรกิจอื่น เนื่อง จากธุรกิจเดิมไมสามารถขยายตลาดไดอีกตอไป แตการขยายตัวไปสูธุรกิจอื่นที่ไมเคย ทํามากอน อาจกอใหเกิดปญหาเนื่องจากการขาดความรูและประสบการณทั้งทาง เทคนิคการผลิตและการตลาด ตัวอยางเชนบริษัทมิตซูบิชิ บริษัทฟูจิ และบริษัทคาวา ซากิที่แนะนําเครื่องบิน YX-11 ออกสูตลาดและไมประสบความสําเร็จ ทางแกที่ดีที่สุด คือการเขารวมทุนกับบริษัทโบอิ้งโดยบริษัทโบอิ้งเปนผูออกแบบและทดสอบในขณะที่ ทางฝายญี่ปุนเปนผูผลิตและขาย วิธีการรวมทุนในลักษณะดังกลาวจะทําใหกิจการ สามารถขยายไปสูสินคาชนิดอื่นที่ตนอาจไมสามารถผลิตไดดีในระยะแรก และเมื่อมี ประสบการณและเรียนรูเทคโนโลยีเพียงพอก็สามารถปรับไปสูการดําเนินงานเองใน ระยะตอมา 4. การนําผลิตภัณฑจากตางประเทศเขามาในประเทศ กิจการทองถิ่นที่มีความสามารถ ทางการตลาดในทองถิ่น อาจตองรักษาสถานภาพทางธุรกิจของตนโดยจัดหาผลิต ภัณฑชนิดใหมๆ มาจําหนาย แตการคนควาวิจัยดวยตนเองอาจตองใชเวลา และก็ อาจสูคูแขงไมไดทั้งคุณภาพและราคา การรวมทุนกับกิจการตางประเทศอาจเปนวิธี การที่ลงทุนนอยไดผลเร็วและคุมคาสําหรับธุรกิจทองถิ่นที่ตองการสูกับคูแขงขันภาย ในประเทศ การตกลงในเรื่องมอบใบอนุญาตการผลิต (Licensing agreement) ไดแกการที่เจาของผลิตภัณฑ (Licensor) ใหใบอนุญาตผูอื่น (Licensee) ทีจ่ ะผลิตสินคา หรือผลิตภัณฑของตนภายใตเงื่อนไขที่ตกลง โดยเรียกรองคาธรรมเนียม (Fee) เปนการตอบแทน การมอบใบอนุญาตการผลิตใหกิจการทองถิ่นทําการผลิตสินคาภายใตเครื่องหมายการคาของกิจ การเปนกลยุทธการเขาสูตลาดตางประเทศโดยเร็ว โดยที่กิจการเพียงแคถายทอดเทคโนโลยีการ ผลิตในขณะที่กิจการทองถิ่นเปนผูทําการตลาด ปจจัยที่ทําใหกิจการเลือกวิธีมอบใบอนุญาตการ ผลิตในการเขาสูธุรกิจระหวางประเทศสรุปไดดังนี้

21

1. ธุรกิจอาจขาดแคลนเงินทุน และปจจัยอื่นๆ เชน บุคลากรและความชํานาญในตาง ประเทศ การเลือกวิธีนี้จะทําใหสามารถขยายฐานการผลิต การตลาด และกําไรไปสู ประเทศอื่นๆ โดยมีกิจกรรมตางๆ นอยกวากลยุทธอยางอื่น 2. ธุรกิจอาจใชวิธีการมอบใบอนุญาตใหผูอื่นในการทดลองตลาดในชวงแรก กอนที่จะ เขามาทําเองทั้งหมดในภายหลัง เพราะการลงทุนเองทั้งหมดในชวงแรกโดยที่ยังไม ทราบภาวะทางการตลาดและธุรกิจเองก็ยังไมมีความชํานาญเปนการเสี่ยงสูง กิจการ ทีเ่ ลือกวิธีการมอบใบอนุญาตการใหผูอื่นผลิต เนื่องจากกระบวนการผลิตสินคาดัง กลาวไมใชเทคโนโลยีอันเปนรากฐานที่สําคัญของกระบวนการผลิต โดยทั่วไปมักเปน ธุรกิจทีใ่ ชเทคโนโลยีทั่วๆ ไปที่ไมใชความลับอยางสูง และมีผลกระทบสําคัญตอบริษัท แม นอกจากนี้แลว การใหผูอื่นผลิตเปนการคุมคากวา และผูที่ไดใบอนุญาตการผลิต ก็ไมมแี นวโนมวาจะเปนคูแขงขันได หรือเทคโนโลยีที่เกี่ยวของกับสินคาหรือกระบวน การผลิตเปลี่ยนแปลงรวดเร็วเกินกวาที่ผูรับมอบใบอนุญาตจะตามทันและกลายเปนคู แขงขันในภายหลัง 3. ขนาดของตลาดที่จะขยายมีกําลังซื้อไมพอเพียงที่จะไปลงทุนเอง เพราะการไปลงทุน ในดินแดนอื่นของบริษัทขามชาติมักตองใชเงินทุนสูงกวาธุรกิจทองถิ่นในระยะแรก หากกําลังซื้อมีไมมากพอก็จะไมคุมทุน 4. อุปสรรคจากกฎหมายที่เกี่ยวของกับการลงทุนของกิจการตางชาติในประเทศที่จะไป ลงทุนมีขอั จํากัดที่ทําใหเขาไปลงทุนเองไมได หรือสถานการณทางเศรษฐกิจและการ เมืองในประเทศที่จะไปลงทุนมีความเสี่ยงสูง ถึงแมการมอบใบอนุญาตใหผูอื่นผลิตจะเปนวิธีการที่งายตอการขยายการดําเนินงานไป ยังตลาดที่ไมคุนเคย รวมทั้งไมตองลงทุนเพียงแตอาจมีคาใชจายเกิดขึ้นบางไมมากนัก แตวิธีการ นี้ก็ยังมีความเสี่ยงตอเจาของใบอนุญาต (Licensor) เนื่องจากผูรับมอบอํานาจการผลิตจะตองรู ถึงกระบวนการตางๆ ของขั้นตอนการผลิตและอาจทําการผลิตแขงขันกับกิจการเองในที่สุด นอก จากนีแ้ ลวยังมีความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นตอชื่อเสียงของกิจการและผลิตภัณฑ ถาผูรับมอบอํานาจ การผลิตไมสามารถรักษามาตรฐานการผลิตและคุณภาพของสินคาไวไดดีพอ ซึ่งอาจกอใหเกิด ผลกระทบตอการดําเนินงานทางการตลาดของกิจการทั่วโลก

22

การใหสัมปทาน (Franchising) นับเปนรูปแบบหนึ่งของการมอบใบอนุญาต (Licensing) มักนิยมใชในธุรกิจคาปลีกหรือ ภัตตาคาร โดยผูรับมอบสัมปทานจะตองปฏิบัติตามรูปแบบและกฏเกณฎที่ไดกําหนดขึ้นเพื่อ ความเปนเอกลักษณของเคื่องหมายการคา แตกิจการผูใหสัมปทานจะเปนผูชวยเหลือทางดาน เทคโนโลยีการผลิต การบริการและดานอื่นๆ เชนสินคาคงคลังและระบบการจัดการตางๆ รวมทั้ง การฝกอบรมบุคลากรตลอดจนการโฆษณาและสงเสริมการจําหนาย นอกจากนี้แลวสัญลักษณ และชื่อเสียงของผลิตภัณฑ (Brand Name) เปนสิ่งที่ทําใหมีผูอยากเขามาซื้อสัมปทาน เนื่องจาก ผูซ อื้ เองก็จะไดเริ่มตนธุรกิจโดยมีลูกคาโดยทันที ปจจัยที่เกี่ยวของกับการใหสัมปทานมีดังนี้ 1. ผูใหสัมปทาน (Franchisor) หรือเจาของสัมปทานไดแกบริษัทของสินคาหรือเครื่อง หมายการคาที่จะทําการมอบใหผูใดหรือกิจการใดประกอบธุรกิจภายใตชื่อของกิจการ เชน บริษัท เซเวน-อีเลเวน เปนตน 2. ผูรับสัมปทาน (Franchisees) ไดแกผูที่ขอเขาทําธุรกิจภายใตชื่อที่ผูใหสัมปทานเปน เขาของเชนการที่บุคคลใดบุคคลหนึ่งจะขออนุญาตเปดรานคายอยแหงหนึ่งโดยใชชื่อ เซเวน-อีเลเวน 3. ตัวแทนเจาของสัมปทานในแตละประเทศ (Master Franchise) เปนผูที่ไดรับสิทธิราย สําคัญที่จะทําหนาที่เปนตัวแทนของบริษัทแมในการขยายสาขาไปทั่วประเทศ 4. คาธรรมเนียมแรกเขา (Franchise Fee) เปนจํานวนเงินที่ผูรับสัมปทานจะตองจายให แกเจาของสัมปทานในครั้งแรกที่จะเริ่มเปดดําเนินกิจการ มูลคาดังกลาวเจาของ สัมปทานจะเปนผูกําหนดขึ้น 5. คาธรรมเนียมประจําปตามยอดขาย (Royalty Fee) เปนคาธรรมเนียมที่ผูรับสัมปทาน จะตองจายใหกับเจาของสัมปทาน โดยทั่วไปจะคิดเปนเปอรเซ็นตของยอดขาย สัญญาการผลิต (Contract Manufacturing) เปนวิธีการที่กิจการทําสัญญากับกิจการอื่นใหผลิตสินคาใหตน แตกิจการทําการตลาด เอง วิธนี เี้ หมาะสําหรับสินคาบางประเภท โดยทั่วไปอาจเปนสินคาที่เจาของเครื่องหมายการคามี ปญหาตอการผลิตในประเทศอื่นๆ เชน ไมคุมทุนที่จะลงทุน ในขณะที่มีศักยภาพทางการตลาด

23

ดังนัน้ การใหผูอื่นผลิตจะเปนการลดภาระบางสวนออกไป ตัวอยางเชนบริษัทคาเครื่องใชไฟฟา จากประเทศหนึ่งตองการจะขายตูเย็นในอีกประเทศหนึ่ง แตการขนสงตูเย็นจากประเทศหนึ่งไป อีกประเทศหนึ่งจะไมคุมทุน การไปตั้งโรงงานก็อาจเปนการเสี่ยงและมีภาระเพิ่ม ดังนั้นการจาง บริษทั อืน่ ผลิตตูเย็นให แลวกิจการเปนผูขายจึงเปนทางเลือกที่ดี เพราะจะตัดภาระทางการผลิต หรือขนสงสินคาสําเร็จรูปไปได วิธกี ารตางๆ ของกลยุทธในการเขาดําเนินการในประเทศอื่นที่ไดกลาวมาแลวนั้น ไม สามารถใชไดในทุกประเทศ โดยจะตองขึ้นอยูกับขอจํากัดหลายประการเชน ขอจํากัดทาง กฎหมายและนโยบายรัฐบาลทั้งในประเทศแมและประเทศที่กิจการจะไปดําเนินงาน นโยบาย และกลยุทธของบริษัท สถานการณทางการแขงขันในตลาดสินคาประเภทนั้นๆ ตลอดจนเงื่อนไข อืน่ ๆ ทีจ่ ะกอใหเกิดความไดเปรียบเสียเปรียบตอการดําเนินงาน สิ่งเหลานี้เปนสิ่งที่ธุรกิจที่ ตองการขยายการดําเนินงานไปสูระดับนานาชาติจะตองพิจารณา เพื่อกําหนดแนวทางการ ปฏิบตั ใิ หเกิดผลดีและลดความเสี่ยงที่จะเกิดจากกลยุทธที่ใชในการลงทุน พันธมิตรทางธุรกิจ (Business Alliances) เปนกลยุทธที่มีความสําคัญตอการดําเนินธุรกิจในปจจุบันมาก และยังรวมถึงการเริ่มเขาสู ตลาดในตางประเทศอีกดวย จากในอดีตที่ธุรกิจทําการแขงขันกันเองสูง ทําใหธรกิจที่ยังไมเติบโต ปรือแข็งแรงพอไมสามารถแขงขันไดและตองเลิกไปในที่สุด ทําใหธุรกิจที่แข็งแรงอาจกลายเปนผู ผูกขาดไปในที่สุด การใชกลยุทธพันธมิตรทางธุรกิจ หมายถึงการรวมมือกันระหวางกิจการกับกิจ การอืน่ เชน คูแขงขัน ผูขายวัตถุดิบ ลูกคา ผูจัดจําหนาย หรือธุรกิจอื่นๆ ทั้งที่ดําเนินธุรกิจเดียวกัน หรือแตกตางกัน เพื่อที่จะกอใหเกิดประโยชนกับกระบวนการผลิต การจัดจําหนาย และการ บริการ (Phatak,1996,p.286) วิธกี ารที่จะสรางพันธมิตรทางธุรกิจมีไดทั้งที่เปนการรวมมือกัน ระหวางธุรกิจโดยปราศจากการรวมทุนเพื่อเปนเจาของกิจการรวมกัน (Collaboration without Equity) หรือ การรวมทุน (Joint Venture) ระหวางกิจการที่ไดกลาวถึงไปแลวขางตน นอกจากนี้ ยังมีการเขาไปถือหุนในกิจการที่จะเปนพันธมิตร (Equity Ownership) โดยอาจเปนการถือฝาย เดียวหรือสองฝายก็ได วิธีการขางตนนอกเหนือจากการรวมหุน (Joint Venture) ที่ไดกลาวไปแลว มีรายละเอียดดังนี้

24

1.

2.

การรวมมือกันโดยปราศจากความเปนเจาของรวมกัน (Collaboration without Equity) หมายถึงการที่กิจการตั้งแตสองกิจการขึ้นไปรวมมือกันในโครงการตางๆ ที่ จะกอใหเกิดประโยชนตอทั้งสองฝาย แตการรวมมือดังกลาวเปนไปตามขอตกลงที่ ไดทําระหวางกัน เชนการทําสัญญารวมมือตางๆ แตมิไดมีการถือหุนกันระหวางกิจ การ ตัวอยางเชน การที่บริษัท โซนี่ ซึ่งเปนบริษัทยักษใหญของญี่ปุนในอุตสาห กรรมอิเลคโทรนิคทางดานบันเทิงไดจับมือเปนพันธมิตรกับบริษัทขนาดเล็กแตมี เทคโนโลยีสูงในสหรัฐอเมริกาหลายบริษัท เพื่อรวมมือกันในดานงานวิจัย กระบวน การผลิต โดยรวมมือกับบริษัทพานาวิชชั่น พัฒนาเลนสสําหรับกลองโทรทัศน ใน ขณะเดียวดันก็รวมมือกับบริษัท คอมเพรสชั่นแลบ ในสวนที่เกี่ยวกับการพัฒนา อุปกรณที่จะใชประชุมทางไกลอิเลคโทรนิค (video-conferencing machine) (Gupta,1991,p.B2) นอกจากตัวอยางของบริษัท โซนี่แลว ก็ยังมีบริษัทเดมเลอรเบนซ ที่รวมมือกับบริษัทมิตซูบิชิรวมมือกันในหลายโครงการเชน โครงการที่เกี่ยว กับรถยนต ยานอวกาศ และชิ้นสวนอิเลคโทรนิค นอกจากนี้ยังมีการรวมมือระหวาง บริษัทอีซูซุและบริษัทซูบารุในสหรัฐอเมริกาเพื่อพัฒนาเครื่องยนตบางรุนเปนตน โดยที่ความรวมมือกันของกิจการดังกลาวมิไดมีการถือหุนระหวางกันแตอยางใด ความรวมมือที่เกิดขึ้นจึงมักเปนขอตกลงที่มีระยะเวลาจํากัด เพื่อใหบรรลุวัตถุ ประสงคตามโครงการใดโครงการหนึ่งเทานั้น การถือหุนในกิจการที่เปนพันธมิตร (Equity Ownership) วิธีการนี้ หมายถึงการที่ ฝายใดฝายหนึ่งหรือทั้งสองฝายมีสวนในการเปนเจาของกิจการของอีกฝายหนึ่ง โดยการถือหุนแตปริมาณหุนที่ครอบรองอยูไมมากพอที่จะมีบทบาทในการจัดการ อยางแทจริง เชนการที่บริษัท ฟอรด ถือหุน บริษัทมาสดาอยู 24 เปอรเซ็นต (Phatak, 1996) และทั้งสองกิจการก็มีโครงการรวมในการผลิตรถยนตเปนตน ทํา ใหฟอรด เข า ไปมีส วนในการจํ าหนา ยรถยนตในญี่ปุ  น ที่ ม าสดา เป น ผูผลิตและ จําหนาย

วัตถุประสงคที่กิจการใชกลยุทธพันธมิตรธุรกิจ การแขงขันกันทางธุรกิจที่ตอเนื่องกันมาเปนเวลานานๆ ทําใหกลยุทธตางๆ ไดรับการ พัฒนาอยางตอเนื่อง กลยุทธที่ไดรับการพัฒนาอาจมีลักษณะที่แตกตางกันออกไปขึ้นอยูกับ

25

สถานการณเหลานั้นสําหรับเหตุผลตางๆ ที่กอใหเกิดการรวมมือเปนพันธมิตรทางธุรกิจนั้น มี หลายสาเหตุเชน 1. เพือ่ ขยายตลาดไปยังตลาดใหมในตางประเทศ นังเปนเหตุผลสําคัญประกาหนึ่งของ กิจการทั่งไปในการเลือกเปนพันธมิตรกับบริษัทอื่นๆ ทั้งนี้เพราะการเขาไปยังตลาด ใหมๆ ทีกิจการยังไมเคยทําธุรกิจในตลาดเหลานั้นยอมจะมีความเสี่ยงวูง โดยเฉพาะ กิจการขนาดใหญที่ตองใชเงินทุนสูง ประกอบกับมีผูอื่นที่มีความชํานาญและยึดครอง ตลาดอยูยิ่งจะเพิ่มความเสี่ยงขึ้นไปอีก ในขณะที่จุดเดนของกิจการอาจมีสินคาแปลก ใหมทเี่ ปนที่สนใจของผูบริโภค ทําใหเปนสิ่งจูงใจใหบริษัทที่มีความชํานาญในพื้นที่สน ใจ โอกาสที่จะรวมมอเปนพันธมิตรทางธุรกิจจึงเกิดขึ้นไดจากเหตุผลดังกลาว ตัว อยางเชน บริษัทยักษใหญทางการสื่อสารของสหรัฐอเมริกาอยาง เอทีแอนดที (AT&T) ซึง่ มีแนวคิดที่จะเปนบริษัทที่มีการดําเนินธุรกิจโทรศัพทสากล (Global Phone company) เพือ่ ใหบรรแนวคิดดังกลางบริษัทเอทีแอนดทีจึงใชวิธีเปนพัธมิตรธุรกิจกับ บริษทั อืน่ ๆ ทั่วโลก โดยจัดตั้งนโยบายหุนสวนทั่วโลก WorldPartner ทําใหกิจการมี พันธมิตรทั้งในญี่ปุนโดยเปนพันธมิตรากับบริษัทโคคูไซ เดนวา และสิงคโปรเปนพันธ มิตรกับ สิงคโปรเทเลคอม ในขณะที่คูแขงขันรายสําคัญเชน บริษัทบริทิช เทเลคอมมิว นิเคชัน่ ซึง่ มีวัตถุประสงคที่จะเปนผูนําทางวการสื่อสารในโลกก็ใชวิธีเดียวกัน โดยเขา เปนพันธมิตรกับบริษัท เอ็มซีไอ (MCI) ซึง่ เปนบริษัทยักษใหยอันดับสองในวงการสื่อ สารของสหรัฐอเมริกาในการบริการโทรศัพททางไกล (Long Distance Carrier) รอง จากเอทีแอนดที ซึ่งทําใหกิจการทางโทรคมนาคมอื่นตองเขารวมเปนพันธมิตรกันเพื่อ เพิม่ ศักยภาพในการแขงขันกับบริษัทดังกลาว โดย บริษัท สปรินท (Sprint) ของสหรัฐ อเมริกาเขารวมมือกับดอยสซ เทเลคอม เอจีของเยอรมัน (Deutsche Telecom AG Germany) และ ฟรานซ เทเลคอม (France Telecom) เปนตน 2. เพือ่ กระจายความเสี่ยงจากการลงทุนขนาดใหญ การลงทุนของธุรกิจขนาดใหญใน สายธุรกิจเดิมแตตางพื้นที่หรือในธุรกิจแขนงอื่นๆ นั้น กิจการเหลานี้ตองใชเงินจํานวน มหาศาลเพื่อลงทุนทําใหเกิดความเสี่ยงจากการลงทุนตามไปดวย การกระจายความ เสีย่ งโดยการเปนพันธมิตรกับกิจการอื่นจึงเปนทางเลือกที่ดีทางหนึ่ง แตมิใชเกี่ยวของ กับเงินทุนเทานั้น แตปจจัยสําคัญไดแกความชํานาญในการทําธุรกิจแขนงตางๆ ใน

26

แตละพื้นที่ของแตละกิจการมีแตกตางกัน การเปนพันธมิตรกับและแบงความรับชอบ ใหแตละบริษัทตามความชํานาญเฉพาะอยางจะกอใหเกิดผลดีกวาลงทุนตามลําพัง แมกิจการจะตองการลงทุนตามลําพังก็ตาม อุตสาหกรรมที่เปนตัวอยางไดชัดเจนได แกอตุ สาหกรรมผลิตเครื่องบิน เนื่องจากตนทุนการผลิตที่มหาศาลของการผลิตเครื่อง บิน ทําใหบริษัทที่ประกอบธุรกิจการบินมักจะรวมมือกับกิจการอื่นหรือแมกระทั่งคู แขงขันในการผลิตเครื่องบิน ทั้งๆ ที่บริษัทเหลานี้ตองการลงทุนตามลําพังํามตองการ รวมมือกับผูอื่นเพราะกลัวเทคโนโลยีจะรั่วไหลก็ตาม ตัวอยางเชนกรณีที่บริษัทโบอิ้ง รวมมือกับบริษัทฟูจิ มิตซูลิชิและคาวาซากิของญี่ปุนเพื่อผลิตเครื่องบินโบอิ้ง 777 โดย บริษทั ของญี่ปุนจะเปนผูสรางโครงเครื่องบินประมาณ 20 % โดยมีวัตถุประสงคของ โบอิง้ ก็คือการเรงแขงขันกับบริษัท แอรบัส ที่กําลังมีเครื่องรุน A 330 และ A 340 ใน ขณะที่บริษัทญี่ปุนก็จะไดรับการถายทอดเทคโนโลยีการทําเครื่องบินโดยสารขนาด ใหญเพราะแมบริษัทญี่ปุนเชน บริษัทฟูจิจะเคยผลิตเครื่องบินมาแลวก็ตามแตก็เปน เครือ่ งบินขนาดเล็ก การจะขามไปทําเครื่องบินโดยสารขนาดใหญไมใชเรื่องที่จะทําได งาย การเขาเปนพันธมิตรกับผูที่มีความชํานาญอยูแลวจะชวยใหมีความเปนไปได มากกวา 3. แชรคา ใชจายและความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการวิจัยและพัฒนา คาใชจายที่เกิดขึ้นจาก การวิจยั และพัฒนานั้นสําหรับสินคาบางชนิดอาจเปนรายจายจํานวนมหาศาล หรือ สินคาทีต่ องใชตนทุนในการวิจัยสูงในขณะที่ผลิตภัณฑมีการลาสมัยเร็ว สิ่งเหลานี้เปน ปจจัยที่กระตุนใหเกิดความรวมมือระหวางกิจการที่อยูในธุรกิจเดียวกัน ตัวอยางเชน การที่บริษัท เท็กซัสอิน สตรูเมนท (Texas Instrument) ของสหรัฐอเมริการวมมือกับ บริษัทอื่นหลายบริษัทเชนฟูจิสึ (Fujisu) เอ็นอีซี (NEC) โตชิบา (Toshiba) ชารป (Sharp) ซึง่ เปนบริษัทญี่ปุนในการคนควาวิจัยอุปกรณชิ้นสวนคอมพิวเตอร และยัง รวมมือกับโตชิบาในป 1998 ในการพัฒนาหนวยความจําชนิด 16 MB (Phatak,1996,p.290) จะเห็นไดวาการรวมมือกันในสวนที่เปนการคนควาการวิจัย นัน้ เมื่อไดผลออกมาและนําไปผลิตขายโดยกิจการตางๆ จะทําใหตนทุนการวิจัยตอ หนวยของสินคาแตละชนิดลดตํ่าลงมาก ถาไมรวมทุนกันแลวนอกจากจะไมสามารถ ประสานเทคโนโลยีกันแลว ตนทุนในการวิจัก็อาจสูงมากจนไมคุมคาตอการวิจัยเพื่อ ใหไดผลิตภัณฑที่มีเทคโนโลยีใหมๆ ออกจําหนาย

27

4. เพื่อตอบโตการโจมตีของคูแขงขัน (Counterattack) ในหลายสถานการณที่การแขง ขันทางธุรกิจมีสูง โดยเฉพาะอยางยิ่งคูแขงขันรายใหมที่มีศักยภาพทางเงินทุนและ เทคโนโลยีสูง ทําใหธุรกิจที่เคยมีสวนแบงตลาดแตเดิมตองจับมือรวมกันเพื่อทําการ แขงขันกับคูแขงขันรายใหมๆ ตัวอยางเชนการสูญเสียสวนแบงทางการตลาด คอมพิวเตอรในยุโรปของบริษัทโอบีเอ็มใหกับคูแขงขันรายอื่น เชน ฮิวเลตต-แพคการด คอมแพคโตชิบาและมิตซูบิชิ รวมทั้งการขยายตัวในตลาดยุโรปของผูผลิตจากญี่ปุน เชน ฮิตาชิ อ็นอีซี ฟูจิสึ ทําใหไอบีเอ็มตองหันมาเปนพันธมิตรกับบริษัทยุโรปซึ่งเคย เปนคูแ ขงขันมาแตเดิม เพื่อตอสูกับคูแขงขันจากญี่ปุนเหลานั้น ทั้งนี้เพราะกิจการจาก ญี่ปุนมีความแข็งแกรงในตลาดเครื่องใชไฟฟาอิเลคโทรนิคซึ่งเปนตลาดที่ใกลเคียงกับ ตลาดคอมพิวเตอร ไมวาจะเปนกระบวนการผลิตและกลยุทธทางการตลาดเมื่อผนวก กับชื่อเสียงแตเดิมทําใหสามารถแยงสวนแบงทางการตลาดคอมพิวเตอรไดไมยากนัก ถาไมรวมกับบริษัทยุโรปซึ่งอยูในสถานการณคลายกันก็อาจสูญเสียสวนแบงตลาด มากขึ้นเรื่อยๆ 5. ปจจัยอื่นๆ เชนการที่กิจการเขาเปนพันธมิตรกับกิจการอื่นเพื่อตองการเรียนรูสิ่งตางๆ จากพันธมิตร ตัวอยางเชนบริษัทตางชาติที่เขาไปเปนพันธมิตรกับกิจการทองถิ่นเพื่อ เรียนรูการตลาด ในขณะที่กิจการทองถิ่นเปนพันธมิตรเพื่อเรียนรูเทคโนโลยี ใน อนาคตเมื่อทั้งสองฝายหรือฝายใดฝายหนึ่งเชื่อมั่นวาตนเองพรอมก็อาจเปนคูแขงขัน กันในที่สุด หรืออาจรวมกันเพื่อการประหยัดทรัพยากรและลดตนทุน เชนการที่บริษัท การเขารวมเปนพันธมิตรกันเพื่อใชทางเขาของแตละบริษัทแลัวยังเปนการบริหาร ทรัพยากรหรือสินทรัพยอยางมีประโยนตอโลกอีกดวย นอกจากนี้หลายกิจการยังอาจ รวมมือกันโดยมีวัตถุประสงคที่แตกตางกันตัวอยางเชน ในชวงกอนหนาป 1991 เล็ก นอยบริษัทโซนี่ซึ่งเปนบริษัทยักษใหญของญี่ปุนในดานเครื่องใชไฟฟาและอิเลคโทร นิคไดเขารวมเปนพันธมิตรทางธรุกิจกับบริษัทแอปเปลคอมพิวเตอรของสหรัฐอเมริกา ทัง้ นี้เพราะโซนี่มีความสนใจในธุรกิจคอมพิวเตอรสวนบุคคล(Personal Computer หรือ PC) ในขณะที่ แอปเปลเองมีความสนในที่จะขยายผลิตภัณฑของตนในสวนของ คอมพิวเตอรขนาดเล็กที่ผูใชสามารถนําติดตัวไปได(Note Book Computer หรือ Laptop Computer) แตแอปเปลไมมีความชํานาญในการผลิตเครื่องคอมพิวเตอร ขนาดเล็ก และรูตัวดีวาตองใชเวลานานมากกวาที่จะพัฒนาทักษะและความชํานาญ ดานนี้ ในขณะที่เทคโนโลยีและรูปแบบของคอมพิวเตอรเปลี่ยนอยางรวดเร็วมาก วิธี

28

หนึง่ ไดแกการใหผูชํานาญเชนโซนี่ผลิตให ในขณะที่โซนี่ซึ่งมีความชํานาญสูงมากใน การผลิตเครื่องใชไฟฟาที่มีขนาดเล็กก็จะสามารถเรียนรูเทคโนโลยีคอมพิวเตอรได ผล จากการเขาเปนพันธมิตรระหวางสองกิจการดังกลาวทําใหคอมพิวเตอรแมคอินทอช รุน เพาเวอรโนตบุค 100 (Macintosh Powernotebook 100) กลายเปนรุนที่ขายดีที่ สุดในเวลาตอมา ปญหาที่เกิดจากกลยุทธการเปนพันธมิตรธุรกิจ แมวาการเขารวมเปนพันธมิตรกันของธุรกิจตางๆ จะมีผลดีตอการดําเนินงานและแม กระทัง่ เปนความจําเปนก็ตาม แตการเขาเปนพันธมิตรของธุรกิจเหลานั้นก็อาจกอใหเกิดปญหา ในการดําเนินงานขั้นในภายหลัง ทั้งนี้เพราะการเขารวมเปนพันธมิตรกันของแตละกิจการระหวาง ประเทศนั้น ตองเกี่ยวของกับจัจจัยหลายประกาครที่อาจเแนตัวการที่มทําใหเกิดปญหาไดเชน ความแตกตางทางวัฒนธรรม ผลประโยชนและเปาหมายขัดแยงกันเปนตน ปจจัยดังกลาวอาจ สรุปไดดังนี้ 1. ปยหาที่เกิดจากความแตกตางทางวัฒนธรรม ทั้งนี้เพราะวัฒนธรรมเปนปจจัยพื้น ฐานของจิตใจมนุษยที่จะกอใหเกิดผลตอการแสดงออกทั้งพฤติกรรมและทัศนคติ ตางๆ ความแตกตางระหวางวัฒนธรรมจะมีผลทั้งกับการเจรจาเพื่อกําหนดขอตกลง และการปฏิบัติงานรวมกันในอนาคต ผลของความแตกตางที่เกิดขึ้นอาจชักนําไปสู ความเขาในผิดทั้งในแงความคิด พฤติกรรมการแสดงออก การสื่อสารซึ่งอาจกอให เกิดปญหาได ตัวอยางเชนที่บริษัทญี่ปุนและสหรัฐอเมริกาเขาเปนพันธมิตรกันนั้น มักมีปญหาเนื่องจากวัฒนธรรมเพราะญี่ปุนมีวัฒนธรรมตะวันออกที่ใหความสําคัญ กับหมูคณะมากกวาตนเอง ในขณะที่วัฒนธรรมอเมริกันใหความสําคัญกับสิทธิสวน บุคคล(Individual Right) สูง ทําใหคนญี่ปุนมักมองวาคนอเมริกันไมรับผิดชอบตอ ความสําเร็จในภาพรวม ไมใหความรวมมือในการทํางาน ในขณะที่คนอเมริกันก็จะ มองวาคนญี่ปุนกาวกายสิทธิสวนตัว ในเมื่อตนไดทํางานสวนของตนเรียบรอยแลว ความรับผิดชอบก็ควรสิ้นสุดลงดังนี้เปนตน 2. การสูญเสียความเปนอิสระในการดําเนินงานตางๆ การเขารวมเปนพันธมิตรธุรกิจ นัน้ สิง่ ที่หลีกเลี่ยงไมไดก็คือจะตองมีการทําสัญญาหรือขอตกลงระหวางกัน จึงตกลง

29

เหลานั้นมักจะกลายมาเปนขอจํากัดในการดําเนินงานของฝายใดฝายหนึ่งหรือทั้ง สองฝาย โดยเฉพาะในกรณีที่กิจการขนาดใหญปละขนาดเล็กเจาเปนพันธมิตรกัน กิจการขนาดใหญสามารถไดเทคโนโลยีมาในระยะเวลาอันสั้น ในขณะที่กิจการ ขนาดเล็กก็จะไดเงินทุนหมุนเวียนมาใชพัฒนากิจการอยางรวดเร็ว แตขอตกลงที่ เกิดขึ้นอาจกอใหเกิดความผูกพันที่ไมสามารถทําสิ่งตางๆ ไดอยางคลองตัวก็อาจ เปนผลใหความเปนพันธมิตรตองสิ้นสุดลง 3. ความเสี่ยงตอการเปดเผยความลับสําคัญของกิจการ ดังที่ไดกลาวมาแลววาการเขา รวมเปนพันธมิตรกันของธุรกิจนั้น จะกอใหเกิดผลประโยชนรวมกัน แตอยางไรก็ดี ผลประโยชนอาจแตกตางกันไดเชนฝายหนึ่งตองการเรียนรูเทคโนโลยีในขณะที่อีก ฝายหนึ่งตองการเรียนรูตลาดเปนตน การเขาเปนพันธมิตรที่จะกอใหเกิดผลดีใน ระยะยาวตอความเปนพันธมิตรนั้นไดแกการที่ทุกฝายมีความซื่อตรงตอกัน หาก ฝายใดเอาเหรียบอีกฝายหนึ่งโดยนําสิ่งที่ไดเรียนรูมาหาผลประโยชนใสตนเพียงขาง เดียว ยอมทําใหความเปนพันธมิตรตองสิ้นสุดลงอยางแนนอน 4. ความไมเขาใจกันในระหวางพันธมิตร การที่กิจการตางกิจการโดยเฉพาะอยางยิ่ง กิจการทีเ่ คยเปนคูแขงขันเขารวมเปนพันธมิตรกันนั้น สิ่งที่มักเกิดขึ้นเสมอไดแก ความระแวงหรือไมไววางใจซึ่งกันและกัน ทั้งนี้เพราะหลายสถานการณการเขาเปน พันธมิตรเกิดจากความจําเปนในการรักษาผลประโยชนของทั้งสองฝาย ทําใหการ กระทําตางๆ ที่เกิดขึ้นอาจเปนที่ระแวงของพันธมิตรอื่น เชนหากฝายใดไมสามารถ ปฏิบัติใหบรรลุเปาหมายตามที่ตกลงอาจถูกมองวาไมนาไวใจ ทั้งๆ ที่ไดทําอยาง เต็มความสามารถแลวก็ตาม 5. การเปลี่ยนแปลงของสถานการณทางธุรกิจ การเปลี่ยนแปลงสถานการณตางๆ ที่ เกิดขึน้ ในโลกของธุรกิจไมวาจะเปนสถานการณทางเศรษฐกิจ การเมือง กฎหมาย และขอตกลงทางการคาระหวางประเทศจะมีผลตอกิจการแตละกิจการไมเทากัน ดังนั้นหากการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมีผลทําใหกิจการใดกิจการหนึ่งหรือทั้งสองกิจ การไมจําเปนตองพึ่งพาการเปนพันธมิตรอีกตอไป ความเปนพันธมิตรก็อาจสิ้นสุด ลง ตัวอยางเชนการเขารวมทุนของบริษัทขามขาติกับบริษัททองถิ่นที่เกิดขึ้นเนื่อง จากกฎหมายที่ใหกิจการตางชาติถือหุนเกิน 49 % ครั้นมีการยกเลิกกฎหมายดัง กลาวก็ไมจําเปนที่จะตองเปนพันธมิตรกันตอไป

30

การผสมผสานระหวางความเปนสากลกับความเปนทองถิ่น การเขาลงทุนในตางประเทศของบริษัทขามชาติตามที่ไดกลาวมาแลวนั้น ไมวาจะเปนใช กลยุทธแบบใดหรือแมกระทั่งการใชกลยุทธความเปนสากล (Global) ก็ตาม โดยทั่วไปแลวมี ความเปนไปไดสูงที่ผูบริหารจากตางประเทศจะใหความสําคัญกับผูบริหารระดับสูงในทองถิ่น เนือ่ งจากเปนบุคคลสําคัญที่จะเชื่อมตอไปยังบุคลากรระดับลางตอลงไป สิ่งที่จะกอใหเกิดความ สํ าเร็จตอกิจการขามชาติไดแกการที่ผูบริหารจาตางประเทศใหความสํ าคัญอยางแทจริงตอ พนักงานระดับลางรวมทั้งการใหความสําคัญกับความตองการของประชาชนในทองถิ่น โดยมี วิสยั ทัศนที่มีความเปนสากล แนวคิดในลักษณะดังกลาวเรียกวา “Glocalozation” โดยมาจากคํา จํากัดความที่วา “thinking globally but acting locally” (Phatak,1996,p.303) ดังนั้นในแนว ทางของการจัดการดวยลักษณะ Glocalozation นั้น ผูบริหารในภูมิภาคหรือตามบริษัทในเครือ ในประเทศตางๆ จะมีอิสระในการที่จะพัฒนาแผนปฏิบัติทางผลิตภัณฑ การตลาด การเงิน เพื่อ ใหมึความสอดคลองกับสถานการณในทองถิ่นไมวาจะเปนในดานเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและ วัฒนธรรม ในขณะที่ยังมีการควบคุมจากบริษัทแมรวมทั้งยังรับกลยุทธระยะยาว (Long-term Strategy) จากบริษัทแมอีกดวย ตัวอยางเชนบริษัทเครื่องใชไฟฟาจากญี่ปุนซึ่งรับกลยุทธระยะ ยาวจากญี่ปุน แตผูบริการในภูมิภาคมีอิสระอยางสูงในการที่จะปรับแผนการดานตางๆ เพื่อการ แขงขันในทองถิ่น รวมทั้งปจจัยที่สําคัญไดแกอิสระในการพัฒนาผลิตภัณฑใหมสูตลาดดวย สรุปแลวการดํ าเนินงานของธุรกิจในตางประเทศในสวนของการเริ่มดําเนินการใหมนั้น การจะขยายออกไปดวยวิธีการอยางไรจึงจะสามารถเขาถึงตลาดและแขงขันจนอยูรอดไดเปนสิ่ง สําคัญเปนอยางยิ่งตอรูปแบบการกําหนดกลยุทธจากบริษัทแม ทั้งนี้เพราะไปแขงขันในตลาด และสภาพแวดลอมระหวางประเทศใหมๆ ที่กิจการยังไมมีความชํานาญเปนเรื่องที่คอนขางยาก ตอความสําเร็จหากมีแผนการหรือกลยุทธไมดีพอ แตการที่มีความเชี่ยวชาญทางกลยุทธระหวาง ประเทศตลอดจนความพรอมในดานเงินทุนและเทคโนโลยีการบริหาร ทําใหบริษัทขามชาติ สามารถเอาชนะธุรกิจทองถิ่นได ทั้งๆ ที่กิจการเหลานั้นเปนของตางประเทศ

Related Documents

Xx
November 2019 37
Xx
November 2019 17
Xx
November 2019 39
0 0
October 2019 81
Blagues Xx
October 2019 23

More Documents from "phm"

May 2020 3
May 2020 3
May 2020 3
11case Priceline
May 2020 4
May 2020 4