Nikon D60 Thai Manual

  • Uploaded by: SMII
  • 0
  • 0
  • June 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Nikon D60 Thai Manual as PDF for free.

More details

  • Words: 10,747
  • Pages: 141
ขอแนะนําการใชนี้เปนเพียงพื้นฐานเบื้องตนเทานั้น รายละเอียดควรดูจากคูมือกลองซึ่งผูใชสามารถดาวนโหลดไดที่ Nikon Asia หรือ Digitutor

รายการอุปกรณที่บรรจุในกลอง ควรตรวจสอบอุปกรณที่บรรจุในกลอง D60 ดังมีรายการตอไปนี้

การดความจําจะขายแยกตางหาก ไมรวมกับอุปกรณกลองที่มีในกลอง • กลองถายภาพ D60 • ฝาปดตัวกลอง Body cap • ฝาปดชองมองภาพ DK-5 • ยางรองชองมองภาพ DK-20 (อยูที่ตัวกลอง) • ถานแบตเตอรี่ EN-EL9 พรอมฝาครอบ • แทนชารทถาน MH-23 พรอมสายตอไฟบาน • สายตอหัว USB รุน UC-E4 • สายวิดีโอ EG-D100 • สายสะพาย AN-DC1 ชุดเลนสคท ิ • เลนส AF-S DX 18-55 3.5-5.6G VR ED II • ฝาปดหนาเลนส Front lens Cap • ฝาปดทายเลนส Rear lens cap --------------------------------------------------------------------------------------------------------------• ใบรับประกัน • สมุด คูมอ ื การใชงานภาษาอังกฤษ • สมุด คูมอ ื ฉบับยอ (Quick Guide) • แผนแนะนําการติดตัง ้ โปรแกรมใชงาน (Software Installation Guide) • แผน CD-ROM (Software Suite) • ใบรับประกันภาษาไทย (เฉพาะประเทศไทย)

1 2

3 4

หนาตางรับสัญญาณรีโมทอินฟราเรด สวิทช ปด-เปด

ปุมกดชัตเตอร ปุมกด +/- ชดเชยแสงถายภาพ ปุมตั้งคารูรับแสงถายภาพ ปุมตั้งชดเชยคาแสงแฟลช

5 6

7

ปุม Active D-Lighting เพิ่มคาแสง ปุมรีเซ็ท Reset คําสั่งที่ใชกลอง ไฟสองชวยระบบหาโฟกัส และ ชวยลดตาแดงจากแสงแฟลช และแสดงนับเวลาถอยหลัง

ตําแหนงแสดงระนาบจอ CCD 8 แปนหมุนเลือกโหมดชวยถายภาพ P, S, A, M และ ระบบโปรแกรมชวยถายภาพ อัตโนมัติแบบดิจิตอล Digital Vari-program 9 แฟลชภายในกลอง 10 แผนฝาปดขั้วแฟลช

11 ขั้วไฟฟาแฟลชภายนอก 12 ปุมกดสําหรับปลอยแฟลชหัวกลอง และ +/- ชดเชยคาแสงแฟลช 13 หูรอยสายสะพายกลอง 14 ฝาปดชองปลั้กเสียบสายตอกลอง กับอุปกรณภายนอก 15 ชองปลั้กเสียบสงสัญญาณวีดีโอโทรทัศน 16 ปุมกด รีเซ็ทการทํางานของกลองทั้งหมด

17 ชองปลั้กเสียบสงสัญญาณยูเอสบี 18

ปุมกดตั้งนับเวลาถอยหลัง ปุมฟงคชั่น Fn - Function

19 ปุมกดคลายลอคปลดเลนส 20 จุดแสดงตําแหนงใสเลนส

1 2

กรอบชองมองภาพ และใสอุปกรณเสริม ชองมองภาพ

3 4 5

เซ็นเซอรตรวจจับดวงตา แปนปรับเลนสชองมองภาพใหเขากับสายตา

6 7

11 ไฟแสดงสถานะของการดความจํา 12 ฝาปดชองสายไฟ จากหมอแปลงไฟ (อแดปเตอร) 13 ปุมกลอนลอคฝาปดชองใสถานแบตเตอรี่ 14 ฝาปดชองใสถานแบตเตอรี่ 15 รูเกลียวใสขาตั้งกลอง

ปุมกด ลอคคาแสง AE-L หรือ ลอคจุดโฟกัส AF-L หรือลอคปองกันการลบภาพที่บันทึกไว แหวน หมุนเลือกคําสั่งการทํางาน 16 จอแสดงภาพ LCD หูรอยสายสะพายกลอง 17 ปุมซูมขยายดูภาพที่กําลังแสดงใน LCD ปุมตั้งคาคําสั่งรายการใหกลอง ปุมรีเซ็ท Reset คําสั่งที่ใชกลอง

8

แปนกดสี่ทิศทางเลือกตําแหนงกรอบวางจุด โฟกัส หรือ ใชเลือกคําสั่งรายการตางๆ

18

ปุมเรียกดูภาพยอที่บันทึกไวในการด ปุม Help แสดงคําอธิบายคําสั่ง

9 10

ฝาปดชองใสการดความจํา SD ปุมกด คําสัง่ ลบไฟลภาพทิ้ง

19 20

ปุมกดเรียกดูเมนูเลือกรายการคําสั่ง

ปุมกดเรียกดูภาพถายที่บันทึกไว 21 ฝาปดชองมองภาพ

1 2 3

แสดงตําแหนงกรอบโฟกัสในชองมองภาพ ไฟสัญญาณแสดงวากลองหาโฟกัสไดแลว สัญลักษณ แสดงกรอบหาโฟกัส และ แสดง โหมดเลือกกรอบโฟกัสอัตโนมัติที่เลือกใช

4

สัญญาณ (EL) แสดงวาไดล็อคคาแสงเอาไว

5

11 สัญญาณ แสดงวาแฟลชพรอมใชงาน 12 สัญญาณ แสดง ระดับกําลังไฟฟาในถาน 13 สัญลักษณ แสดง คาชดเชยแสง หรือ ตําแหนงระยะของจุดโฟกัส หรือ คาแสงที่ใช (ในโหมด M แมนนวล) 14 สัญลักษณ แสดง ใชระบบตั้งความไวแสง อัตโนมัติ (Auto ISO) 15 สัญลักษณ “K” แสดงจํานวนภาพที่สามารถ ถายได (หากมีจํานวนเกิน 1000 ภาพ) 16 สัญลักษณ เตือนความผิดปกติในระบบกลอง

แสดงวา ตั้งโหมดชวยถายภาพแบบ โปรแกรมอัตโนมัติ (P* = Program Shift) 6 แสดง ตัวเลขคาเร็วชัตเตอรที่ใชอยู 7 แสดง คารูรับแสงที่เลือกใชอยู 8 แสดงเตือนวา ตั้งคาชดเชยแสงแฟลชเอาไว 9 แสดงเตือนวา ตั้งคาชดเชยแสงถายภาพเอาไว 10 แสดงจํานวนภาพที่ยังถายภาพไดอยู กอนความจําในการดจะเต็ม แสดงจํานวนภาพที่ยังถายภาพไดอยู กอนความจําชั่วคราวจะเต็ม แสดงเวลาตองการตั้งคาสมดุลยแสงขาวแบบแมนนวล แสดงคาชดเชยแสงรอบขางที่ตั้งไว (ใชกับขอ 9. ) แสดงคาชดเชยแสงรอบขางที่ตั้งไว (ใชกับขอ 10. ) แสดง PC เมื่อมีการเชื่อมตอเขาคอมฯ.

การแสดงขอมูลถายภาพ Info Display Format เมื่อกดปุม กลองจะแสดงขอมูลการถายภาพ ที่ จอ LCD ดานหลัง เชน ความเร็วชัตเตอร, คารูรับแสง, ขนาดภาพ ฯลฯ และหากกดซ้ํา ก็จะเปนหนา Quick setting display ให เลือกกําหนดไดวาตองการใหแสดงคาคําสั่งอื่นๆที่เกี่ยวของ อะไรบาง เชน WB, ความไวแสง ISO, ระบบโฟกัส ฯลฯ หากกดซ้ําอีกครั้ง ก็จะเปนการ Off ปดการทํางานของจอ

*ผูใชสามารถเลือกไดวาตองการใหแสดงคาคําสั่งอะไรบาง ภาพสัญลักษณ กราฟฟกแสดงความสัมพันธของความเร็วชัตเตอรและคารูรับแสงที่กําลังใชงาน

คําสั่งถายภาพทีแ ่ สดงบนจอ LCD ดานหลัง ในรูปแบบตางๆ เมื่อจับกลองในแนวนอน

เมื่อจับกลองในแนวตั้ง

1 2

โหมดชวยถายภาพอัตโนมัติที่กําลังใชอยู แสดง ตัวเลขคาเร็วชัตเตอรที่ใชอยู

3

สัญลักษณ แสดงขนาดคารูรับแสงที่ตั้งไว

15 แสดงโหมดเลือกกรอบหาโฟกัสแบบอัตโนมัติ 16 โหมดหาโฟกัสอัตโนมัติ แบบเดี่ยว หรือหาโฟกัส แบบตอเนื่อง ที่กําลังใช 17 แสดงโหมดถายภาพทีละภาพ หรือ ตอเนื่อง

4

สัญลักษณ ภาพกราฟฟกความเร็วชัตเตอร

18 คาความไวแสง ISO ที่กําลังใช

5 6

สัญลักษณ ภาพกราฟฟกคารูรับแสง แสดงแถบมาตรวัดคาแสงถายภาพ และคาชดเชยแสง แสดงคาชดเชยแสงแฟลชที่ใชอยู แสดงโหมดแฟลชสัมพันธ กับความเร็ว มานชัตเตอรที่ใชอยู แสดงคาชดเชยแสงถายภาพที่ใชอยู Help ขอคําอธิบายหรือคําแนะนํา แสดงสถานะของระบบ Active D-Lighting แสดงจํานวนภาพที่ยังถายภาพไดอยู แสดงการทํางาน Preset WB แสดงสถานะการเชื่อมตอกับ PC สัญลักษณ “K” แสดงจํานวนภาพที่สามารถ ถายไดในหลักพัน แสดงระบบวัดแสงที่กําลังใช

19 คาสมดุลยแสงสีขาว WB ที่กําลังใช 20 แสดงขนาดของภาพที่ถูกบันทึก L-Large, M-Medium, S-Small 21 อัตราบีบอัดไฟลภาพที่กําลังใช 22 สัญลักษณ แสดงกรอบหาโฟกัส และ แสดงโหมด เลือกกรอบโฟกัสอัตโนมัติที่เลือกใช 23 แสดงระดับพลังงานไฟฟาในถานแบตเตอรี่ 24 แสดงวาเปดระบบเสียงเตือน (ฺBeep) โฟกัส 25 แสดงเปดใชระบบแตงภาพ Image Optimize 26 แสดงวาเปดระบบความไวแสง ISO อัตโนมัติ

7 8 9 10 11 12

13 14

27 แสดง ผูใชปรับตั้งคาแสงแฟลชไว หรือ ตั้ง คาชดเชยแฟลชไวใชกับแฟลชภายนอก 28 แสดงวาเปดใชระบบพิมพวันที่ลงในภาพ Date Imprint

ในหนาชุดคําสั่ง จัดเตรียมกลอง Set up menu เมื่อใชคําสั่ง Info display format

ผูใชสามารถเลือกรูปแบบการแสดงขอมูลกลองบนจอแสดง LCD ได 3 แบบดังนี้

การแสดงขอมูลแบบคลาสสิก Classic ผูใชสามารถเลือกสีฉากหลังได 3 สี คือ น้ําเงิน, ดํา และ สีสม  การแสดงขอมูลแบบกราฟฟก Graphic ผูใชสามารถเลือกสีฉากหลังได 3 สี คือ ขาว, ดํา และ สีสม  การแสดงขอมูลแบบมีภาพฉากหลัง Wallpaper ผูใชสามารถเลือกสีตัวอักษรได 2 แบบคือ สีออน หรือ สีเขม หมายเหตุ: การแสดงขอมูลแบบมีภาพฉากหลัง Wallpaper ผูใชสามารถเลือกไดจากภาพที่บันทึกไวในการดบันทึกความจํา

หากผูใชปลี่ยนภาพฉากหลัง จากการดความจํา ภาพฉากหลังภาพเดิมจะถูกลบทิ้งไปทันที และไมสามารถเรียก คืนได ภาพฉากหลังที่ใชแสดงจะไมสามารถเขียนลงไปในการดหรือเรียกดูตางหากได ภาพฉากหลัง Wallpaper สามารถดาวนโหลดไดที่ Nikon-Asia Wallpaper

การใชแหวนหมุนเลือกคําสั่งการทํางาน Command Dial ผูใชสามารถใชแหวนหมุนนเลือกคําสั่งการทํางาน Command dial ที่ดานหลังกลอง สําหรับตั้งคาใหกับรายการคําสั่งตางๆ โดยหมุนเลือกโดยตรงที่แหวน หรือ อาจจะใชประกอบกับปุมกดตางๆดังนี้ หนาที่

วิธีใช

สําหรับเลือก คาแสงถายภาพ เมื่อใช P* ในโหมด P- Program Auto(โปรแกรมอัตโนมัติ)

สําหรับตั้ง คาความเร็วชัตเตอร เมื่อใชในโหมด S - Shutter Auto (ผูใชกําหนดความเร็วชัตเตอร) และ เมื่อใชในโหมด M – Manual (ผูใชกําหนดคาแสงเองทั้งหมด)

หมุนไปทางซายหรือขวา สําหรับตั้ง คารูรับแสง เมื่อใชในโหมด A – Aperture Auto (ผูใชกําหนดคารูรับแสง)

สําหรับตั้ง คารูรับแสง เมื่อใชในโหมด M – Manual (ผูใชกําหนดคาแสงเองทั้งหมด)

กดปุม พรอมกับหมุนแหวน

เครื่องหมายที่แสดง บนจอ LCD และในชองมองภาพ

กดปุม พรอมกับหมุนแหวน สําหรับตั้ง คาชดเชยแสง เมื่อใชในโหมด P, S, A

สําหรับตั้ง โหมดแฟลช เมื่อใชในโหมด ดังนี้

สําหรับตั้ง คาชดเชยแสงแฟลช เมื่อใชในโหมด P, S, A, M

กดปุม พรอมกับหมุนแหวน

กด 2 ปุม พรอมกับหมุนแหวน

กดปุม พรอมกับหมุนแหวน สําหรับตั้ง คา Active D-Lighting

เมื่อใชคําสั่งเฉพาะที่ 11 กําหนด หนาที่ของปูม ผูใชสามารถ เลือกได 1 หัวขอคําสั่ง สําหรับใช กําหนดคาการปรับแตงที่ตองการ 1. 2. 3. 4.

ชนิดไฟลภาพ /ขนาดภาพ ชนิดของ White Balance ความไวแสง ISO โหมดถายภาพเดี่ยว/ตอเนื่อง/ รีโมท/ไทมเมอรตั้งเวลา

กดปุม พรอมกับหมุนแหวน

การใชแปนกด 4 ทิศ เลือกคําสั่งการทํางาน

สวิทช เปด-ปด การทํางานของกลอง

เพื่อความปลอดภัย ปองกันกลองตกหลน แนะนําใหใสสายสะพายกลอง AN-DC1 (จัดไวใหกับกลอง) ตามขั้นตอนที่แสดงในภาพ

การชารทถาน แบตเตอรรี่ EN-EL9

เลนสถายภาพ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ฝาปดหนาเลนสแบบหนีบตรงกลาง แหวนโฟกัส (ปรับเปลี่ยนระยะโฟกัส) ของเลนส แหวนซูม (ปรับเปลี่ยนทางยาวโฟกัส) ของเลนส สวิทช ปด-เปด ระบบ ลดความไหวสะเทือน VR Vibration Reduction สวิทช ตั้งระบบโฟกัสอัตโนมัติ/ผูใชปรับเอง (A/M) ขั้วชิพ CPU สงสัญญาณไฟฟาทายเลนส ฝาปดทายเลนส เลขบอกทางยาวโฟกัสของเลนส จุดชี้ทางยาวโฟกัสของเลนส จุดเครื่องหมาย ชี้แสดงตําแหนงที่ใสเลนสกับกลอง

การใสเลนสถายภาพ กับกลอง D60

เริ่มตนใชกลอง เมื่อเปดสวิทชกลอง On เปนครั้งแรก กลองจะแสดงรายการภาษาสําหรับใชคําสั่งงาน เลือกภาษาที่ตองการใชสั่งงานกลอง จากนั้นใหตั้งเวลา และวันที่ กลองจะยังไมสามารถใชถายภาพได จนกวาจะปอนขอมูลเวลา วันที่ เรียบรอยแลว

เมื่อตองการเปลี่ยนเวลานาฬิกาในกลอง หากผูใชเดินทางขามโซนเวลา ผูใชสามารถเปลี่ยนเวลานาฬิกาในกลองไดโดยเพียง ไปที่ชุดรายการคําสั่งการใชงานขั้นพื้นฐาน Set up Menu แลวเลือกคําสั่ง World Time เพื่อเปลี่ยนระบบบอกเวลา หรือ เปลี่ยนโซนเวลา หรือ วันที่ไดทันที

การใสและถอดเปลี่ยนการดความจํา

การปรับโฟกัสชองมองภาพ

การฟอรแมทการดความจํา Format Memory Card เมื่อใชการด SD เปนครั้งแรกในกลอง D60 ควรทําการฟอรแมท เพื่อเตรียมการดสําหรับการเขียน บันทึกภาพ และควรระวังเสมอวาการฟอรแมทเปนการลบไฟลภาพและไฟลตางๆที่มีในการดทั้งหมด ดังนั้นหากไมแนใจ ควรตรวจสอบวาไดทํา copy สําเนาไฟลตางๆที่มีในการดเอาไวเรียบรอยกอนแลว การฟอรแมท การดความจําทําไดดังนี้ 1. เปดสวิทชกลอง

2. กดปุม Menu เรียกเมนูรายการคําสั่ง

3. เลือกชุดรายการคําสั่งจัดเตรียมกลอง Set up (ที่เปนรูปเครื่องหมาย

)

4. กด ขวาเพื่อเขาสูชุดรายการคําสั่ง Set up

5. เลือก หัวขอคําสั่ง Format memory card

6. กลองจะแสดงคําสั่งใหเลือก หากไมแนใจ หรือตองการยกเลิก ใหกดปุม OK หรือ แตะกดปุมชัตเตอรเบาๆ เพื่อยกเลิกการทํารายการ

7. เลือก Yes หากตองการจะฟอรแมทการดความจํา

8. กลองจะทําการฟอรแมทการดความจํา SD ในระหวางนี้ ไมควรปดสวิทชกลอง, เปลี่ยนถาน, หรือ ถอดเปลี่ยนการดความจํา

การถายภาพเบื้องตน Basic Photography บทตอไปนี้จะเปนการอธิบายวิธีการใชกลองอยางงายๆ ดวยโหมดถายภาพอัตโนมัติ โดยจะเปนแบงเปน 4 ขั้นตอนคือ การเตรียมกลอง, การจัดภาพ, การหาโฟกัสและลั่นชัตเตอรถายภาพ, การเรียกแสดงภาพถายที่ถายบันทึกไวแลว รวมทั้งการใชโหมดชวยถายแบบโปรแกรมดิจิตอล (Digital Variprogramms) เพื่อปูพื้นฐานการถายภาพ กอนที่เขาไปสูขั้นตอนที่กาวหนาตอไป

โหมดถายภาพแบบอัตโนมัติ สําหรับการใชงานงายๆเพื่อความสะดวกสบาย เพียงแตยกกลองขึ้นเล็งแลวกดปุมลั่นชัตเตอรถายภาพไดทันที โดยกลองจะจัดการใหหมด ทุกอยาง ตามความเหมาะสมกับสภาพแวดลอมในขณะนั้น ขั้นที่ 1 การเตรียมกลอง 1. เปดสวิทชกลองไปที่ On ถอดฝาครอบเลนส เมื่อเปดสวิทช กลองจะทําความสะอาด จอรับภาพ และ จอ LCD จะแสดงคาการถายภาพ โดยอัตโนมัติ เมื่อยกกลองขึ้นเล็ง กลองจะปดจอ LCD และแสดงขอมูลที่ใน ชองมองภาพแทน

2. หมุนแปนเลือกโหมดไปที่

3. ตรวจดูระดับกําลังไฟฟาในถานแบตเตอรี่

4. ตรวจดูจํานวนภาพที่จะยังสามารถบันทึกในการดความจําได (ตัวเลขที่แสดงนี้ เปนเพียงการประมาณการเทานั้น)

หากการดความจําเต็ม หรือ มีความจุไมพอเพียงตอการบันทึก ไฟลภาพ กลองจะแสดง Card is full บนจอ LCD และ กระพริบ FuL เตือน และแสดงเลขศูนย ในชองมองภาพ

ทุกครั้งที่เปด On หรือ Off ปด สวิทชการทํางานกลอง กลองจะแสดงหนาตางเตือนวา image sensor cleaningแสดง วาขณะนี้กําลังทําความสะอาดจอรับภาพ

สัญลักษณ “K” แสดงจํานวนภาพที่สามารถถายได เชน 1.1 K เทากับ การดความจํายังสามารถบันทึกภาพไดอีก ประมาณ 1.1 x 1,000 = 1,100 ภาพ

กลองจะถูกตั้ง Default มาจากโรงงาน ใหใชไฟลภาพแบบ JPEG normal โดยมีอัตราบีบอัดปกติ และมีขนาดกรอบภาพ Large 3872 X 2592 พิกเซล แตผูใชสามารถปรับเปลี่ยนตามความตองการได

ขั้นที่ 2 การจัดภาพ 1. จับถือกลองแบบที่แสดงในภาพ โดยใชมือขวาจับที่กริปกลอง และรองรับตัวกระบอกเลนส ดวยมือซาย พยายามใหขอศอกทั้งสองอยูแนบลําตัวชวย รองรับน้ําหนัก และกาวเทาไปขางหนาครึ่งกาวเพื่อให ความสมดุลยและกลองนิ่ง

2. กรอบหาโฟกัสอัตโนมัติ

เมื่อผูใชไมไดมองที่ในชองมองภาพ กลองจะแสดงขอมูลถายภาพที่จอ LCD ดานหลังกลองใหเห็น และจะปดการแสดงขอมูลบนจอ LCD ที่ดานหลัง เมื่อผูใชมองที่ในชองมองภาพ

ขั้นที่ 3 การหาโฟกัส และ ลั่นชัตเตอรถายภาพ 1. การหาโฟกัสอัตโนมัติ

2. ลั่นชัตเตอรถายภาพ ใหเพิ่มน้ําหนักกดปุมชัตเตอรไปจนสุด กลองก็จะลั่นชัต เตอรถายภาพ หลังจากที่ชัตเตอรลั่นไปแลว กลองจะแสดงมีไฟสีเขียว แสดงสถานะวากลองกําลังเขียนขอมูลไฟลภาพเขาไป เก็บบันทึกลงในการดความจํา SD

ภาพที่เพิ่งถูกถายไปที่จอแสดงภาพ LCD ที่ดานหลัง กลอง

ขั้นที่ 4 การเรียกแสดงภาพถายที่ถายบันทึกไวแลว หลังจากที่กลองถายภาพไปแลว กลองจะแสดงภาพ ที่บันทึกไวบนจอ LCD ทันที และจะแสดงนานเทาที่ ผูใชตั้งกําหนดไวในเมนูรายการคําสัง่ แสดงภาพ พรอมกับจะแสดงระดับกําลังไฟฟาในถาน และ จํานวนภาพที่การดจะยังบันทึกไวไดใหทราบดวย

การเรียกดูภาพถายที่บันทึกไวในการดความจํา

การลบภาพที่ไมตองการ

คําสั่งสําหรับการแสดงภาพ ในขณะที่กลองกําลังแสดงภาพขนาดเต็มจอ LCD ผูใชสามารถเรียก เลือกคําสั่งไดดังนี้ คําสั่ง แสดงภาพซูมขยายใหญ Zoom in แสดงภาพขนาดยอ View Thumbnails เรียกใชคําสั่งตัดแตงภาพ Retouching ยกเลิกการแสดงภาพ Exit to Shooting

กดปุม

คําอธิบาย ซูมขยายขนาดภาพที่แสดงบนจอ LCD เพื่อตรวจดูบริเวณสวนตางๆในภาพ แสดงภาพขนาดยอเล็ก Thumbnails เพื่อดูหลายๆภาพ หรือ เลือกภาพที่ตองการ กดปุม OK เพื่อเรียกคําสัง่ ตัดแตงภาพ เพื่อตัดแตงภาพที่กําลังแสดงอยูนั้น เมื่อตองการกลับไปที่โหมดถายภาพอยางรวดเร็ว เพื่อพรอมทีจ ่ ะใชกลองถายภาพตอไปไดทันที

การใชโหมดชวยถายภาพดิจิตอลสําหรับสถานการณตา  งๆ นอกจากโหมดชวยถายภาพแบบอัตโนมัติทั้งหมด แลว ผูใชยังสามารถเลือกใช โหมดชวยถายภาพดิจิตอล (Digital Vari-Programs) ตามที่ไดถูกโปรแกรมมาจากโรงงาน เพื่อชวยใหถายภาพในแตละโอกาสสถานการณเหลานี้ไดอยางงายดาย

วิธีใชโหมดชวยถายภาพดิจิตอล 1. หมุนแปนโหมดชวยการถายภาพไปที่โหมดชวย ถายภาพดิจิตอลตามสถานการณที่ตองการ

2. จัดองคประกอบภาพ, ปรับโฟกัส, แลวก็ลั่นชัตเตอรถายภาพได

การเลือกใชงานโหมดชวยถายภาพดิจิตอล

ลองจะวัดสภาพแสง แลวตั้งคาความเร็วชัตเตอร และ คารูรับแสงให ตาม ความเหมาะสม โดยไมใชแฟลชในการถายภาพ เหมาะสําหรับใชถายภาพในที่ไมอนุญาตใหใชแสงแฟลชถายภาพ หรือ เมื่อ ตองการถายภาพแสงธรรมชาติเทาที่มีขณะนั้น กลองจะหาระยะโฟกัสที่วถ ั ตุที่อยูใกลที่สุดกอนเสมอ และเปดไฟสองชวยหา โฟกัสชวยหากบริเวณนั้นมีแสงนอย

สําหรับถายภาพบุคคลที่ตองการใหดูนุมนวล สีผิวเปนธรรมชาติ กลองจะหาระยะโฟกัสที่วถ ั ตุที่อยูใกลที่สุดกอนเสมอ ความนุมนวลของฉากหลังขึ้นอยูกับแสงแวดลอม เพื่อใหไดผลดีมากที่สุด ใหฉากหลังอยูไกลที่สุดและใชเลนสที่มีทางยาว โฟกัสมากๆ เพื่อใหภาพดูลึกมีมิติ

สําหรับการถายภาพทิวทัศน หรืออาคารบานเรือน ที่ตองการเนนสีสรร ความ สดใส คมชัดเจน กลองจะหาระยะโฟกัสที่วถ ั ตุที่อยูใกลที่สุดกอนเสมอ ระบบไฟชวยสองหาโฟกัสและ ระบบแฟลชจะไมทํางาน แมวาจะมีแสงตาม ธรรมชาติในขณะนั้นนอยก็ตาม เพื่อใหไดผลดีมากที่สุด ควรใชเลนสมุมกวางเพื่อใหมุมมองภาพที่กวางไกล

สําหรับการถายภาพเด็กเล็กที่ตองการความสะดวก และรวดเร็ว กลองจะปรับเนนสีสรรสดใส และใหสีผิวที่ดูนุมเนียนเปนธรรมชาติ กลองจะหาระยะโฟกัสที่วถ ั ตุที่อยูใกลที่สุดกอนเสมอ

สําหรับการถายภาพ กีฬา (ภาพที่ตัวแบบมีเคลื่อนไหว ขณะทําการ ถายภาพ) กลองจะเลือกความเร็วชัตเตอรที่เร็วที่สุด เพื่อเนนจับภาพของ การเคลื่อนไหวของตัวแบบ กลองจะปรับจุดโฟกัสตลอดเวลาที่กดปุมลั่น ชัตเตอร ลงไปครึ่งทาง เพื่อไลจับตามการเคลื่อนไหวในภาพ ผูใชสามารถเลือกใชกรอบโฟกัสอันใดอันหนึ่งในการเริ่มตนหาโฟกัสก็ได ระบบไฟสองหาโฟกัสและแฟลชจะไมทํางาน แมวาจะมีแสงนอยก็ตาม

สําหรับการถายภาพที่ตองการขยายใหเห็นภาพ เชนดอกไม, แมลง หรือ สิ่งของขนาดเล็ก กลองจะโฟกัส ที่ตรงกลางกรอบภาพเปนหลัก (แตผูใช จะเลือกเปลี่ยนก็ได) แนะนําใหใชขาตั้ง, การตั้งนับถอยหลัง หรือ รีโมทลั่นชัตเตอร เพื่อชวยลด อาการภาพเบลอ เลนสที่ใชควรเปนเลนสสําหรับถายภาพระยะใกล หากใช เลนสธรรมดาใชปรับไปที่ระยะถายภาพใกลสุดของเลนส หากใชเลนสซูม แนะนําใหซูมใหสุดทางยาวโฟกัสของเลนสนั้น เพื่อใหได ขนาดขยายใหญมากที่สุดเลนสที่ใชควรเปนเลนสสําหรับถายภาพระยะใกล ระบบแฟลชจะสัมพันธกบ ั มานชุดแรก (เลือกเปลี่ยนได)

สําหรับเมื่อตองการภาพถายดวยความสะดวก รวดเร็ว กลองจะเลือกรูหนากลอง และความเร็วชัตเตอรที่พอเหมาะกับแสงและตัว แบบ เพื่อใหไดที่มีภาพที่มีความสวาง สีสรรสดใส และคมชัด ระบบแฟลชจะสัมพันธกบ ั มานชุดแรก (แตผูใชจะเลือกเปลี่ยนก็ได)

ในกรณีที่ใชโหมดชวยถายภาพ 4 แบบนี้ หากมีแสงถายภาพนอย กลองจะยกแฟลชขึ้นมาเพื่อใชแสงแฟลช ชวยถายภาพโดยอัตโนมัติ

การใชโหมดชวยถายภาพอัตโนมัติ P, S, A และ M ในสวนนี้จะเปนการอธิบายเกี่ยวกับ โหมดชวยการถายภาพดวยโปรแกรมอัตโนมัติ

P - Programmed Auto สําหรับใชชวยในการถายภาพดวยโปรแกรมควบคุมอัตโนมัติทั้งหมด กลองจะวัดแสง แลวเลือกใชคาความเร็วชัตเตอร, คารูรับแสง ตามความเหมาะสม และผูใชสามารถปรับแตงเลือกจับคูความเร็วชัตเตอร, คารูรับแสง ตามที่โปรแกรมแนะนํา รวมทั้งสามารถปรับชดเชยแสง ตามที่ตองการไดดวย S - Shutter-Priority Auto โหมดควบคุมการถายภาพแบบผูใชกําหนด เลือกใช คาความเร็วชัตเตอรเอง สําหรับการถายภาพที่ผูใชตองการกําหนด คาความเร็วชัตเตอร เพื่อควบคุมความเคลื่อนไหวในภาพ ผูใชสามารถเลือก คาความเร็วชัตเตอรสูงๆ เพื่อหยุดความเคลื่อนไหว หรือ เลือก คาความเร็วชัตเตอรต่ําๆ เพื่อใหเกิดความเคลื่อนไหวในภาพ กลองจะวัดแสง แลวเลือกใชคารูรับแสง ที่เหมาะสมกับคาความเร็วชัตเตอร ที่ผูใชเลือก รวมทั้งสามารถปรับชดเชยแสง ตามที่ตองการไดดวย เชน ผูใชเลือกความเร็วชัตเตอร 1/2000 วินาที เพื่อตองการจับการเคลื่อนไหวในภาพ กลองจะวัดแสง แลวตั้งคารูรับแสงใหที่ F/4 ในการถายภาพโดยอัติโนมัติ A - Aperture-Priority Auto โหมดควบคุมการถายภาพแบบผูใชกําหนดเลือกใช คารูรับแสงเอง สําหรับการถายภาพที่ผูใชตองการกําหนดใช คารูรับแสง เองเพื่อควบคุมความคมชัดของฉากหลัง หรือควบคุมชวงระยะชัดลึก เพื่อใหภาพมีความคมชัดมากที่สุด ทั้งดานหนาและฉากหลัง กลองจะวัดแสง แลวเลือกใชคาความเร็วชัตเตอร ที่เหมาะสมกับคารูรับแสง ที่ผูใชเลือก รวมทั้งสามารถปรับชดเชยแสง ตามที่ตองการไดดวย M - Manual โหมดควบคุมการถายภาพแบบผูใชตั้งคาควบคุมเอง สําหรับการถายภาพที่ผูใชตองการเลือกใช คาความเร็วชัตเตอร และ คารูรบ ั แสง เพื่อการสรางสรร งานภาพที่ตองการ ในโหมดชวยการถายภาพ P, S, A, M นี้ ผูใชสามารถปรับแตงควบคุมคาตางๆเชน คาชดเชยแสงถายภาพ, คากําลังแสงแฟลช, คาสมดุลยแสงสีขาว WB, การปรับแตงสี, ความคมชัด และคาอื่นๆในรายการเมนูชุดคําสั่ง ถายภาพเพื่อใหไดภาพตามที่ตนเองตองการ

การเลือกใชงานโหมดชวยถายภาพอัตโนมัติ P, S, A และ M โหมดชวยถายภาพ P - Programmed Auto S - Shutter-Priority Auto A - Aperture-Priority Auto

M - Manual

คําอธิบายการใชงาน กลองเลือกทั้งคารูรับแสงและคาความเร็วชัตเตอร ใหทั้งหมดเพื่อให ไดภาพที่เหมาะสม ใชสําหรับการถายภาพอยางรวดเร็ว ผูใชกําหนดคาความเร็วชัตเตอรที่ตองการ กลองจะเลือกคารูรับแสงที่ เหมาะสมใหเอง ใชสําหรับการถายภาพที่เนนการเคลื่อนไหวในภาพ ผูใชกําหนดคารูรับแสงที่ตองการ กลองจะเลือกคาความเร็วชัตเตอรที่ เหมาะสมใหเอง ใชสําหรับการถายภาพที่ผูใชตองการเนนความคมชัด ที่ฉากหนา หรือ ฉากหลังของภาพ (ทําใหฉากหลังเบลอ) ผูใชตองการกําหนด คาความเร็วชัตเตอร และ คารูรับแสง เองทั้งหมด รวมทั้งเมื่อตองเปดมานชัตเตอรเปนเวลานานๆ (ชัตเตอร B-Bulb)

การใชคาความเร็วชัตเตอรและคารูรับแสง เพื่อใหไดผลในภาพตางๆกัน

หมายเหตุ: การเปลี่ยนคาความไวแสง ISO sensitivity จะมีผลตอความเร็วชัตเตอรและคารูรับแสงเปลี่ยนไปดวย

วิธีใชงานโหมดชวยถายภาพดวยโปรแกรมอัตโนมัติ P - Programmed Auto 1. หมุนแปนโหมดชวยการถายภาพไปที่โหมดชวย ถายภาพดวยโปรแกรมอัตโนมัติ P

2. จัดองคประกอบภาพ, ปรับโฟกัส, แลวก็ลั่นชัตเตอรถายภาพได

โหมดชวยถายภาพดวยโปรแกรมอัตโนมัติแบบผันแปรคาได P* Flexible Program ตอเนื่องจากโหมดชวยถายภาพโปรแกรมอัตโนมัติ P กลองเลือกใชคาความเร็วชัตเตอร, คารูรับแสง ตาม สภาพแสงเพื่อใหไดภาพดีที่สุด ผูใชสามารถที่ปรับแตงผันแปร (flexible) คาความเร็ว ชัตเตอร, คารูรับแสง ที่กลองเลือกมาให โดยการหมุน แปนควบคุมหลัก ซาย-ขวา เพื่อปรับเลือกคาที่ตองการ

เมื่อเลือกใชโหมดโปรแกรมควบคุมอัตโนมัติแบบ ผันแปรคาไดนี้ จะมีเครื่องหมาย ในชองมองภาพ และ ในจอ LCD

แสดง

ผูใชสามารถปรับแตงเลือกใชคาความเร็วชัตเตอร หรือ คารูรับแสง ตามที่กลองตั้งใหใหไดลักษณะภาพตาม แบบที่ตองการไดดวย เชน กลองเลือกใชคาความเร็วชัตเตอรที่ 1/250 และ คารูรับแสง F/8 ผูใชสามารถที่ปรับแตงผันแปรเปลี่ยนไปใช ความเร็วชัต เตอร 1/2000 และ คารูรบ ั แสง F/2.8 เพื่อลดระยะชัด ลึกในภาพ (ทั้งสองภาพนี้จะมีความสวางในภาพเหมือนกัน แตมี ความคมชัดในภาพไมเหมือนกัน) หากตองการยกเลิก กลับไปใช คาความเร็วชัตเตอร, คารูรับแสง ที่กลองตั้งให ก็ใหหมุนแปนควบคุมจนกวา เครื่องหมาย กลอง

ในจอ LCD จะหายไป หรือ หมุนแปนเปลี่ยนไปใชโหมดชวยถายภาพอื่นๆ หรือ ปดสวิทช

วิธีใชงานโหมดชวยถายภาพแบบผูใชกําหนด ความเร็วชัตเตอร S - Shutter-Priority Auto 1. หมุนแปนโหมดไปที่โหมดถายภาพแบบผูใชกําหนด ความเร็วชัตเตอร S - Shutter-Priority Auto

2. ผูใชสามารถเลือกกําหนด คาความเร็วชัตเตอรที่ ตองการโดยการหมุนแปนควบคุมหลัก ซาย-ขวา เพื่อ ปรับเลือกคาที่ตองการ คาความเร็วชัตเตอรที่ถูกเลือกจะแสดงในชองมองภาพ และบนจอ LCD หรือ กดปุม ไดเชนกัน

เพื่อตรวจดูคาความเร็วชัตเตอร ก็

3. จัดองคประกอบภาพ, ปรับโฟกัส, แลวก็ลั่นชัตเตอรถายภาพได

หมายเหตุ: การเลือกใชความเร็วชัตเตอรที่ต่ําเกินไป อาจจะทําใหภาพเบลอไดจากการสั่นสะเทือนของกลอง แนะนําใหใชความเร็วชัตเตอรอยางต่ําที่สุดตามสัดสวนกลับของความยาวโฟกัสของเลนสที่ใช เชนหากใช เลนสทางยาวโฟกัส 300 มม. ก็แนะนําใหใชความเร็วชัตเตอรขั้นต่ํา 1/300 วินาที หรือปรับใชคาความไวแสง ISO ใหสูงขึ้น หรือ ใชแฟลช หรือ ใชขาตั้งกลอง หรือ ใชเลนสที่มีระบบลดความ ไหวสะเทือน (VR) ชวยในการถายภาพเพื่อลดความเบลอจากการสั่นสะเทือนของกลอง

วิธีใชงานโหมดชวยถายภาพแบบผูใชกําหนด คารูรับแสง A - Aperture-Priority Auto 1. หมุนแปนโหมดไปที่โหมดถายภาพแบบผูใช กําหนดคา A - Aperture-Priority Auto เอง

2. ผูใชสามารถเลือกกําหนด คารูรับแสง ที่ตองการโดย การหมุนแปนควบคุมหลัก ซาย-ขวา เพื่อปรับเลือกคาที่ ตองการ ชวงคารูรับแสงที่เลือกใชไดจะเปนไปตามชวงคารูรับ แสงของเลนสที่ใชใสที่กลอง คารูรับแสง ที่ถูกเลือกจะแสดงในชองมองภาพและบน จอ LCD หรือ กดปุม ก็ไดเชนกัน

เพื่อตรวจดูคารูรับแสงที่ตั้งเอาไว

3. จัดองคประกอบภาพ, ปรับโฟกัส, แลวก็ลั่นชัตเตอรถายภาพได

วิธีใชงานโหมดชวยถายภาพแบบผูใชกําหนดคาแสงถายภาพเองทั้งหมด M – Manual ผูใชตองการกําหนด คาความเร็วชัตเตอร และ คารูรับแสง เองทั้งหมด รวมทั้งเมื่อตองเปดมานชัตเตอรเปนเวลานานๆ (ชัตเตอร B-Bulb) 1. หมุนแปนโหมดไปที่โหมดถายภาพแบบ M ซึ่งผูใชตองการกําหนด คาความเร็วชัต เตอร และ คารูรับแสง ดวยตัวเองทั้งหมด

2. ผูใชทําการตั้งคาความเร็วชัตเตอรที่ ตองการ ไดโดยการหมุนแปนควบคุมหลัก ซาย-ขวา คาความเร็วชัตเตอรที่ถูกเลือกจะแสดงใน ชองมองภาพและบนจอ LCD ผูใชสามารถกําหนดเลือกความเร็วชัตเตอร ไดตั้ง 1/4000 ถึง 30 วินาที รวมทั้งเปด มานชัตเตอรแบบคงคางไว ถายภาพเวลากลางคืน) ก็ได

(ใช

ผูใชทําการตั้งคารูรับแสง ที่ ตองการ ไดโดยการกดปุม ที่ดานบนกลอง พรอมๆกับหมุนแปนควบคุมหลัก ซาย-ขวา เพือ ่ ปรับเลือกคาที่ ตองการ

ผูใชสามารถ กดปุม เพื่อตรวจดูคาความเร็วชัตเตอรและคารูรับแสงที่ตั้งเอาไว ก็ไดเชนกัน หมายเหตุ: ชวงคารูรับแสงที่จะเลือกใชไดจะเปนไปตามชวงคารูรับแสงของเลนสที่ใชใสที่กลองเทานั้น 3. จัดองคประกอบภาพ, ปรับโฟกัส, แลวก็ลั่นชัตเตอรถายภาพได

การใชเครือ ่ งวัดแสงในกลอง Analog Exposure Meter Display เมื่อใชกลอง D60 กับเลนสแบบมี CPU ในโหมด M จะมีแถบเครื่องวัดแสง แสดงในชองมองภาพ เพื่อชวยวัดแสงถายภาพวามีแสงมาก (ภาพดูสวาง) หรือนอย (ภาพดูมืด) กวาปกติ หากแถบมาตรวัดแสงนี้กระพริบ ก็แสดงวาแสงถายภาพอาจจะมีมากหรือนอยกวาปกติมากเกินไปจนวัดไมได การอานแถบมาตรวัดแสงที่แสดงในชองมองภาพ แถบมาตรที่แสดง คาแสงพอดี ภาพปกติ

คําอธิบาย การใชงาน

หากแถบเยื้องไปทางขวาของเลขศูนยตรงกลาง คาแสงต่ํากวาปกติ ภาพถายจะออกมามืด จากตัวอยางแถบที่แสดงนี้ ภาพถายที่ไดจะมืดกวา ปกติประมาณ 0.3 EV หรือ 1/3 สตอป หากแถบเยื้องไปทางซายของเลขศูนยตรงกลาง คาแสงสูงวาปกติ ภาพถาย จะออกมาสวาง จากตัวอยางแถบที่แสดงนี้ ภาพถายที่ไดจะสวางกวาปกติ มากกวา 2.0 EV หรือ 2.0 สตอป หมายเหตุ: หากผูใชตั้งคารายการคําสั่งเฉพาะที่ 10 (ISO auto) ไวที่ On คาความไวแสงจะปรับเปลี่ยนไป โดยอัตโนมัติ แตจะไมมีผลกับมาตรแสดงของเครื่องวัดแสงที่แสดงในชองมองภาพแตอยางใดทั้งสิ้น

การใชความเร็วชัตเตอร B- Bulb และ Time เปนการถายภาพโดยเปดมานชัตเตอรคางไวเปนเวลานาน (ความเร็วชัตเตอร B- Bulb และ ในแบบ Time) ในโหมด M เมื่อปรับความเร็วชัตเตอรไปจนสุดจะพบเครื่องหมาย และ -ใชสําหรับถายภาพดาว, ไฟรถวิ่ง หรือ อาคารบานเรือน, พลุในเวลากลางคืน ควรใชขาตั้งกลอง และรีโมทอินฟราเรด ML-L3 หรือสายตอชวยลั่นชัตเตอรถายภาพ

Bulb เมื่อกดปุมชัตเตอร กลองจะเปดมานชัตเตอรคางไวเพื่อใหบันทึกแสงเปนเวลานาน เทาที่กดปุมชัตเตอรแชคาไว และเมื่อคลายปุมกดชัตเตอร กลองก็จะปดมานชัตเตอร ผูใชสามารถเรียกใชโหมดความเร็วชัตเตอร B- Bulb โดยหมุนแปนตั้งโหมดถายภาพไปที่ M – Manual แลว หมุนแหวนควบคุมที่หลังกลองตั้งความเร็วชัตเตอรไปที่ Bulb ( แสดงในชองมองภาพ) Time ตองใชรวมกับรีโมทอินฟราเรด ML-L3 เพื่อเปดมานชัตเตอรใหคางไว แตจะเปดไดนานไมเกิน 30 นาที โดยทําไดดังนี้ 1. ตั้งโหมด M และตั้ง ความเร็วชัตเตอรไปที่ Bulb (จนกวา แสดงในชองมองภาพ) 2. ตั้งโหมดระบบถายภาพไปที่รีโมท (หนวงเวลา หรือ ฉับพลัน ก็ได) กลองจะแสดงโหมด Time ในชองมองภาพ 3. กดรีโมท 1 ครั้ง จะเปนการเปดมานชัตเตอรคางไว กลองจะหนวงเวลาประมาณ 1 วินาที กอนที่จะเปดมานชัตเตอรเพื่อลดความสั่นสะเทือนในภาพ 4. กดรีโมทอีก 1 ครั้ง จะเปนการปดมานชัตเตอร (หากไมกดรีโมท กลองจะปดเองใน 30 นาที) หมายเหตุ: การเปดมานชัตเตอรคางไวเพื่อใหบันทึกแสงเปนเวลานาน จะทําใหเกิดจุดสี (Noise) รบกวนในภาพได ใหเลือกรายการ Noise Reduction ในชุดรายการคําสั่งถายภาพ Shooting Menu เพื่อใชชวยลดจุดสีรบกวนใน ภาพได การเปดมานชัตเตอรเปนเวลานาน จะเปลืองพลังงานไฟฟาจากถานมาก ใหใชถานชารทใหมๆ หรือ หมอแปลง ไฟจายไฟ EH-5a หรือ EP-5 เพื่อชวยจายไฟเลี้ยงกลอง

การเปลี่ยนคาตางๆที่ใชในการถายภาพ Quick Settings Display ผูใชสามารถเรียกดูคาตางๆที่จะใชในการถายภาพ และเปลี่ยนคาเหลานี้ไดโดยงายดายโดยกดเพียงปุมเดียว เมื่อกลองแสดงขอมูลที่จะใชในการถายภาพ หากผูใชตองการปรับเปลี่ยน ก็ทําโดยกดปุม

ทุกครั้งที่กดปุม กลองจะแสดงเปนวงจรในลักษณะดังนี้ Shooting information display (คาคําสั่งถายภาพ) Quick settings display (เปลี่ยนแปลง คําสั่ง) Monitor off (ปดจอ LCD) Shooting information display (ค่ําคําสั่งถายภาพ) คาตางๆที่จะใชในการถายภาพที่แสดงบนจอ LCD ที่สามารถปรับเปลี่ยนไดมีดังนี้

หมายเหตุ: 1. คาตางๆที่จะใชในการถายภาพที่แสดงบนจอ LCD สามารถเปลี่ยนแปลงไดดวยเมนูรายการคําสั่ง Shooting Menu หรือ Set up Menu ก็ไดเชนกัน 2. คาบางคาอาจจะเปลี่ยนแปลงไมได แลวแตโหมดที่ใชถายภาพดวย 3. หากกลองกําลังแสดงภาพที่บันทึกไว (Playback) ใหกดปุม

เพื่อออกจากโหมดแสดงภาพกอน

วิธีการใช Quick settings display เพื่อเปลี่ยนแปลงคาคําสั่งถายภาพ

1. กดปุม ไปที่หนา Quick settings display กดแปน 4 ทิศ เลือกชองคาคําสั่งที่ตองการเปลี่ยนแปลง เชนตองการเปลี่ยนขนาดกรอบภาพ Image size ก็กด แปนไปที่ชองคําสั่งดานขวา บน (กรอบสีแดงในภาพ)

2. กด OK ตรงกลางแปน 4 ทิศ เพื่อยืนยัน เชน Image size กลองจะแสดงคําสั่งยอย L, M, S ที่มี ใหเลือกในหัวขอคําสั่ง Image size

3. กดแปน 4 ทิศ ขึ้น-ลง เพื่อเลือกคําสั่งยอย ในหัวขอ คําสั่งนั้นๆ เชน เลือก กรอบภาพขนาดกลาง MMedium

4. กด OK ตรงกลางแปน 4 ทิศ เพื่อยืนยันการเลือก กลองจะแสดง M ในชองคําสั่ง Image size

ตําแหนงของหัวขอคาคําสั่งถายภาพตางๆ

1. 2. 3. 4.

ชนิดไฟลภาพ Image Quality ขนาดของภาพ Image size คาสมดุลยสีขาว WB คาความไวแสง ISO sensitivity

5. 6. 7. 8.

โหมดลั่นชัตเตอรเดี่ยว/ตอเนื่อง โหมดหาโฟกัสอัตโนมัติ โหมดเลือกกรอบโฟกัสอัตโนมัติ ระบบวัดแสง Metering

9. โหมดแฟลช 10. คาชดเชยแสงถายภาพ 11. คาชดเชยแสงแฟลช 12. ระบบชวยปรับความสวางภาพ Active D-Lighting

การเลือกชนิดไฟลภาพ (Image Quality) และขนาดของภาพ (Image Size) การเลือกชนิดไฟลภาพ (อัตรายอขนาดไฟลภาพ) และขนาดของกรอบภาพ (Image Size) จะเปนตัวกําหนด จํานวนภาพที่สามารถเก็บไดในการดความจํา ไฟลภาพขนาดใหญสามารถนําไปพิมพอัดเปนภาพขนาดใหญไดงาย แตก็ใชพื้นที่ของหนวยความจํามากขึ้น ไปดวย ทําใหบันทึกจํานวนภาพไดนอยลงดวย

ผูใชสามารถใช Quick settings display เพื่อเลือกชนิดไฟล (Image Quality) และขนาดภาพ (Image Size) ไดโดยตรง การแสดงจํานวนภาพที่ยังถายได เมื่อผูใชปรับเปลี่ยนชนิดของไฟลภาพหรือขนาดไฟล ภาพ จํานวนภาพที่ยังสามารถบันทึกไดในการดที่แสดง บนจอ LCD และในชองมองภาพก็จะเปลี่ยนไปดวย

อนึ่ง, จํานวนภาพที่ยังบันทึกไดที่แสดงนี้เปนเพียงการคาดคํานวนเทานั้น จํานวนภาพที่ไดจริงอาจจะ เปลี่ยนไปไดตามลักษณะของรายละเอียดในภาพของแตละภาพไป

การเลือกใชชนิดของไฟลภาพ (Image Quality) กลอง D60 สนับสนุนการเก็บบันทึกไฟลภาพไดหลายชนิดดังตอไปนี้

ผูใชกลอง D60 สามารถเลือกขนาดของกรอบภาพ (Image size) ได 3 ขนาดดังตอไปนี้

อนึ่ง, เมื่อเปดไฟลภาพแบบ NEF บนเครื่องคอมพิวเตอร จอคอมฯจะแสดงผลที่ 3872 x 2592 พิกเซล การเลือกใชไฟลภาพแบบ NEF (RAW) หากผูใชตองการแสดงภาพที่ถูกบันทึกไฟลภาพในชนิดแบบ NEF (RAW) ดวยอุปกรณแสดงภาพอื่นๆ ที่ไมใช กลอง D60 ไฟลภาพนั้นจะตองถูกแปลงใหเปนไฟลภาพแบบอื่นเชน JPEG เสียกอน โดยการใชคําสั่งแปลงไฟล ภาพที่มีอยูในชุดคําสั่งตกแตงภาพ Retouch Menu ไฟลภาพแบบ JPEG ที่ถูกสรางขึ้นมานี้สามารถนําไปใชกับ จอหรืออุปกรณแสดงภาพทั่วไป หรือใชอัดพิมพภาพโดยไดเลยโดยสงผานทางพอรท USB นอกจากในกลองแลวผูใช สามารถแปลงไฟล ดวยโปรแกรม Capture NX หรือ View NX เมื่อผูใชเลือกการบันทึกไฟลภาพแบบ NEF (RAW)+JPEG Basic (ดวยคําสั่ง RAW+B) กลองจะบันทึกไฟล 2 แบบ คือ DSC_nnnn.NEF และ DSC_nnnn.JPG โดยกลองจะแสดงไฟลภาพแบบ JPEG บนจอแสดงภาพ LCD ดานหลังเทานั้น หากผูใชสั่งลบไฟลภาพนั้น กลองจะลบทิ้งทั้งสองไฟลภาพทั้งคูทีเดียวพรอมๆกัน การกําหนดใหชื่อไฟลภาพ ไฟลภาพที่ถูกบันทึกลงในการดความจํา SD จะถูกกําหนดใหเปนดังนี้ DSC_nnnn.xxx โดยมีรูปแบบดังนี้ DSC_ คือ Digital Still Camera nnnn คือ หมายเลขลําดับอัตโนมัติที่กลองกําหนดใหแตละภาพ เริ่มตนที่ 0001 จนถึง 9999 xxx คือ ชนิดของไฟล กลาวคือ "NEF" สําหรับไฟลภาพแบบ NEF (RAW) และ "JPG" สําหรับไฟลแบบ JPEG และ SSC_ คือ ไฟลภาพขนาดเล็กที่ถูกสรางจากรายการคําสั่งแตงภาพ Small picture เชน SSC_0001.JPG และ CSC_ คือ ไฟลภาพที่ถูกปรับแตงสีสรร จากรายการคําสั่งแตงภาพ Retouch เชน CSC_0001.JPG และ ไฟลภาพที่ใชรหัสสีแบบ II (Adobe RGB) จะใชถูกกําหนดชื่อ เปน _DSC0001.JPG เปนตน ไฟลภาพยนตสั้น Short movie จะใชชื่อไฟลนําดวย ASC ตามดวยหมายเลขลําดับ 0001 และลงทาย .AVI เชน ASC_0001.AVI ผูใชสามารถเปลี่ยนคา Image quality และ Image size จากชุดรายการคําสั่งถายภาพ Shooting Menu หรือตั้งใหใชคําสั่งจากปุมฟงคชั่น และแหวนควบคุมเพื่อเปลี่ยนขนาดกรอบและชนิดไฟลภาพไดเชนกัน

ตารางแสดงขนาดไฟลภาพ และ จํานวนภาพที่สามารถบันทึกได เมื่อใชการดความจํา SD 1 GB Panasonic Pro High Speed (SDHC) ชนิดไฟลภาพ NEF(RAW) JPEG fine

JPEG normal

JPEG basic RAW+Basic

ขนาด ภาพ L M S L M S L M S -/L

ขนาดไฟล MB เมกกะไบท 9.0 4.8 2.7 1.2 2.4 1.3 0.6 1.2 0.7 0.3 10.1

จํานวนภาพ 79 129 225 487 251 431 888 487 839 1500 70

ความจําสํารอง กลองที่รองรับได 6 100 100 100 100 100 100 100 100 100 6

หมายเหตู : • จํานวนและขนาดไฟล เปนเพียงการประมาณการเทานั้น คาที่แทจริงอาจจะเปลี่ยนไปได ตามลักษณะของไฟลภาพและรายละเอียดในแตละภาพ

คาสมดุลยแสงสีขาว White Balance คาสมดุลยสข ี าว (White Balance) จะเปนตัวควบคุมวาสีของวัตถุที่ถายภาพจะไมเปลี่ยนไปตามสีของแสง แวดลอมที่ใชในการถายภาพนั้น กลองก็จะไดแกไขชดเชยปรับแตงใหเสมือนวาใชแสงสีขาวในการถายภาพ เพื่อใหภาพถายที่จะไดเปนสีธรรมชาติของวัตถุนั้นๆมากที่สุด โดยทั่วไปแลวคาสมดุลยสีขาว WB ควรจะถูกตั้งไวที่อัตโนมัติ Auto ตามที่ถูกตั้งมาจากโรงงาน แต ไดในโหมดชวยถายภาพ P, S, A, M แตคาสมดุลยสีขาว (White Balance) จะถูกตั้งใหเปน Auto ในโหมดชวยถายภาพแบบโปรแกรมดิจิตอล

ผูใชสามารถใช Quick settings display เพื่อเลือกใชคา คาสมดุลยสีขาว (White Balance) ไดโดยตรงดังนี้ Auto อัตโนมัติ กลองจะปรับตั้งคาสมดุลยแสงสีขาว WB ใหโดยอัตโนมัติ ใชสําหรับถายภาพทั่วๆไป Incandescent หลอดไฟทังสเตน แสงหลอดเผาไส ใชเมื่อสภาพแสงถายภาพเปนแสงจากหลอดแบบเผาไสทังสเตน (ใหแสงไฟสีสมเหลือง) Fluorescent หลอดไฟเรืองแสง แสงหลอดเรืองแสง ใชเมื่อสภาพแสงถายภาพเปนแสงจากหลอดฟลูออเรสเซนต (เรียกทั่วไปวาหลอดนีออน) ผูใชสามารถปรับคา WB ตามชนิดของหลอดเรืองแสงไดอยางละเอียดอีก 7 ชนิดในรายการคําสั่ง Shooting Menu Direct sunlight แสงอาทิตยกลางแจง แสงแดดกลางแจง ใชเมื่อสภาพแสงเปนแสงแดดจากดวงอาทิตยกลางแจง ตามปรกติ Flash แสงไฟแฟลช แสงไฟแฟลชจากแฟลชหัวกลอง หรือ แสงไฟแฟลชนอกกลอง เชนจาก SB-800 Cloudy แสงทองฟามีเมฆมาก แสงจากทองฟาเมื่อมีเมฆปกคลุมอยูมาก Shade แสงในรมเงา แสงในที่รมเงาชายคาใชเมื่อสภาพแสงเปนแสงธรรมชาติใตชายคารมเงาไม หรือ ในโรงเรือนที่เปดโลงกวาง Preset manual ผูใชปรับตั้งเอง ผูใชปรับตั้งเอง ใชเมื่อสภาพแสงถายภาพเปนแสงจากแหลงอื่นๆ หรือ สภาพแสงผสมจากหลายแหลง ผูใชๆวัตถุ สีขาว หรือสีเทา สําหรับทําการวัดและตั้งคา WB เอง

ผูใชสามารถเลือกใช คาสมดุลยแสงสีขาว White balance จากชุดรายการคําสั่งถายภาพ Shooting Menu และปรับแตงคา WB ตามชนิดของหลอดเรืองแสงไดอยางละเอียดอีก 7 ชนิดในรายการคําสั่ง Shooting Menu หรือตั้งใหใชคําสั่งจากปุมฟงคชั่น และแหวนควบคุมเพื่อเปลี่ยนคาสมดุลยแสงสีขาว WB ไดเชนกัน

การตั้งคาความไวแสง Sensitivity หรือ ISO กลองดิจิตอลจะใชความไวแสง เทียบเทาเหมือนกับการใชคา ISO ของระบบฟลมถายภาพ ความไวแสงที่สูงมากขึ้น ก็สามารถถายภาพในสภาพแสงนอยๆได ดวยความเร็วชัตเตอรที่สูงขึ้น หรือ ใชคารูรับแสงเล็กลงไดดีขึ้น กลอง D60 จะตั้งความไวแสงไดตั้งแต 100 ถึง 1600 และคาความไวแสงที่สูงกวา 1600 คือ Hi 1 (เทียบเทา ISO 3200) โดยตั้งไดทีละ 1 EV (หรือ 1 สตอป) เมื่อผูใชกลองใหใชคาความไวแสงอัตโนมัติ (Auto ISO) กลองจะปรับคาความไวแสงเพิ่มขึ้นใหเองในสภาพที่มี แสงถายภาพนอย เพื่อชวยเพิ่มความเร็วชัตเตอร และลดความไหวสะเทือนจากมือที่ถือกลอง ผูใชสามารถใช Quick settings display เพื่อตั้งคาความไวแสง ISO ไดโดยตรงดังนี้ โหมดชวยถายภาพ

คาความไวแสง ISO ที่เลือกใชได Auto*, 100 ถึง 1600 และ Hi 1 100* ถึง 1600 และ Hi 1 * Default (คาปริยายที่ตั้งมาจากโรงงาน)

หมายเหตุ: • Hi 1 (เทียบเทา ISO 3200) จะใหภาพที่ไมละเอียดนักและอาจจะมีจุดสีรบกวน (Noise) ในภาพได •

หากผูใชเปลี่ยนโหมดถายภาพจาก P, S, A, M ไปใชโหมดโปรแกรมดิจิตอล กลองจะเปลี่ยนคา ISO เปน Auto ใหเองโดยอัตโนมัติ



ในโหมด P, S, A, M เมื่อผูใชตั้งคารายการคําสั่งเฉพาะที่ 10 (ISO auto) ไวที่ On คาความไวแสงจะ ปรับเปลี่ยนไปโดยอัตโนมัติ แตเมื่อตั้งเปน Hi 1 กลองจะยกเลิกการตั้ง ISO Auto ทันที



ผูใชสามารถเลือกใช คาความไวแสง ISO จากชุดรายการคําสั่งถายภาพ Shooting Menu หรือตั้งใหใชคําสั่งจากปุมฟงคชั่น และแหวนควบคุมเพื่อเปลี่ยนคา ISO ก็ไดเชนกัน

โหมดลั่นชัตเตอรถายภาพเดี่ยว, ถายภาพตอเนื่อง และการนับถอยหลัง Release Mode

ผูใชสามารถใช Quick settings display เพื่อเลือกโหมดการลั่นชัตเตอรถายภาพเดี่ยว, ตอเนื่อง, นับถอยหลัง, หรือ ใชรีโมทลั่นชัตเตอร ไดโดยตรงดังนี้ Single Frame โหมดถายภาพเดี่ยวทีละภาพ กลองจะลั่นชัตเตอร ถายภาพ 1 ภาพตอการกดปุมชัตเตอร 1 ครั้ง Continuous (Burst) โหมดถายภาพตอเนื่อง กลองจะลั่นชัตเตอร ถายภาพตอเนื่องที่ความเร็วประมาณ 3 ภาพตอวินาที* เมื่อกดปุมชัตเตอรแชคาไว Self-timer นับถอยหลัง 10 วินาที กลองนับถอยหลัง 10 วินาที หรือตามเวลาที่ตั้งกําหนดไว แลวจึงลั่นชัตเตอรถายภาพ ใชสําหรับการถายภาพ ตัวเองหรือภาพ หรือ ใชลดอาการเบลอจากความสั่นสะเทือนที่เกิดจากการกดปุมชัตเตอร Delayed Remote รีโมทหนวงเวลา ใชกับรีโมทแบบ ML-L3 โดยทันทีที่กดปุมรีโมท กลองจะปรับโฟกัส แลวหนวงเวลานาน 2 วินาทีกอนที่จะลั่นชัต เตอรถายภาพ เพื่อใหผูใชมีเวลาตั้งทา หรือ ใชลดอาการเบลอจากความสั่นสะเทือนที่เกิดจากการกดปุมชัตเตอร Quick Response Remote รีโมทฉับพลัน ใชกับรีโมทแบบ ML-L3 โดยกลองจะปรับโฟกัสแลวลั่นชัตเตอรถายภาพในทันทีทันทีที่กดปุมรีโมท หมายเหตุ: • ความเร็วถายภาพสูงสุดที่ 3 วินาทีตอภาพ เมื่อใชโหมด S หรือ M ตั้งที่ความเร็วชัตเตอร 1/250 วินาที • ผูใชสามารถเลือกใช โหมดการลั่นชัตเตอร จากชุดรายการคําสั่งเฉพาะ Custom Menu และแหวนควบคุมเพื่อเปลี่ยนโหมดลั่นชัตเตอรก็ไดเชนกัน หรือตั้งใหใชคําสั่งจากปุมฟงคชั่น Default (คาปริยายที่ถูกตั้งมาจากโรงงาน) กลอง D60 ถูกตั้งมาจากโรงงานใหปุมฟงคชั่น และแหวนควบคุม เพื่อใชเปลี่ยนโหมด ลั่นชัตเตอร

• • •

หากตองใชแสงแฟลชชวยในการถายภาพ กลองจะยกเลิกการใชงานโหมดลั่นชัตเตอรถายภาพตอเนื่อง Continuous แมวาจะตั้งโหมดนี้ไวกอนแลวก็ตาม ในโหมดถายภาพแบบตอเนื่อง กลองจะแสดงจํานวนภาพที่จะเก็บไวในหนวยความจําชั่วคราวสูงสุดที่ 100 และจะคอยๆลดลงเมื่อใชถายภาพตอเนื่อง จํานวนภาพที่จะถายตอเนื่องเก็บไวได จะขึ้นอยูกบ ั ขนาดไฟลภาพ และจะแสดงในชองมองภาพ เชน r11 = ถายตอเนื่องไดทั้งหมด 11 ภาพในขณะนั้น

วิธีการใชโหมดการนับถอยหลัง (Self timer) และรีโมท (Remote) ลั่นชัตเตอร 1. จัดยึดกลองบนขาตั้งกลอง บนพื้นเรียบๆและวางใหไดระดับ 2. ใชคําสั่งเฉพาะรายการที่ 11 หรือ ปุมฟงคชั่น โหมดลั่นชัตเตอร

Self-timer นับถอยหลัง Delayed Remote รีโมทหนวงเวลา Quick Response Remote รีโมทฉับพลัน

ตั้งโหมดลั่นชัตเตอรตามที่ตองการ

คําอธิบายการใชงาน

กลองกลองจะปรับโฟกัส แลวนับถอยหลัง แลวจึง ลั่นชัตเตอรถายภาพ (ตั้งเวลานับถอยหลังได) ทันทีที่กดปุมรีโมท กลองจะปรับโฟกัส แลวหนวง เวลานาน 2 วินาทีกอนที่จะลั่นชัตเตอรถายภาพ กลองจะปรับโฟกัสแลวลั่นชัตเตอรถายภาพในทันที ทันทีที่กดปุมรีโมท

3. จัดองคประกอบภาพ, ปรับโฟกัสโดยการแตะ ปุมชัตเตอรเบาๆครึ่งทาง

4. เมื่อใชโหมดการนับถอยหลัง กดปุม  ชัตเตอร ลงไปจนสุดทาง กลองจะเริ่มนับถอยหลัง 10 วินาที โดยที่ไฟนับถอยหลังจะกระพริบสวาง แลวหยุด กระพริบที่ 2 วินาทีกอนที่กลองจะลั่นชัตเตอร ถายภาพ เมื่อใชรีโมท ที่ระยะไมเกิน 5 เมตร เล็งเครื่องสง ML-L3 ไปที่หนาตางชองรับสัญญาณบนกลอง กดปุมชัตเตอรที่ตัวรีโมท • •

ในแบบรีโมท หนวงเวลา (Delayed Remote) ไฟนับถอยหลังจะติดสวาง 2 วินาที กอนกลองจะลั่นชัตเตอร ในแบบรีโมทฉับพลัน (Quick Response Remote) ไฟนับถอยหลังจะติดสวางทันที แสดงวากลองลั่นชัตเตอรถายภาพไดแลว

หมายเหตุ: เพื่อปองกันแสงจากดานหลังรบกวนการทํางาน ของระบบวัดแสงในกลอง ผูใชควรใชฝาปดชอง มองภาพ DK-5 ปดที่ชองมองภาพเพื่อปองกัน แสงดานหลังรั่วเขาไปในกลอง หมายเหตุ: ใชตั้งคารายการคําสั่งเฉพาะที่ 17 (Remote duration) ตั้งเวลาการทํางานของรีโมทลั่นชัตเตอร

ระบบการหาโฟกัส Focus Mode ผูใชสามารถใช Quick settings display เพื่อเลือกระบบหาโฟกัสอัตโนมัติ AF-Auto Focus หรือ เลือกการหา โฟกัสดวยตัวผูใชเอง (MF-Manual Focus) ผูใชจะเลือกใชระบบหาโฟกัสแบบ AF-S แล AF-C ไดเฉพาะในโหมดถายภาพ P, S, A, M เทานั้น AF-A Auto-servo AF * ระบบหาโฟกัสอัตโนมัติ กลองจะเลือกใชระบบหาโฟกัสแบบเดี่ยวทีละภาพ Single-servo AF หากตรวจดูแลววาวัตถุนั้นอยูนิ่งๆ และ จะปรับเปลี่ยนไปใชระบบหาโฟกัสแบบตอเนื่อง Continuous-servo AF เมื่อตรวจพบวามีการเคลื่อนไหวในภาพ AF-S Single-servo AF ระบบหาโฟกัสแบบเดี่ยวทีละภาพ สําหรับใชถายภาพที่วัตถุอยูนิ่ง เมื่อแตะกดปุมชัตเตอรเบาๆครึ่งทาง กลองจะหาระยะและล็อคโฟกัส AF-C Continuous-servo AF ระบบหาโฟกัสแบบตอเนื่อง สําหรับถายภาพที่มีการเคลื่อนไหว กลองจะปรับหาโฟกัสเองตลอดเวลาที่กดแตะปุมชัตเตอรครึ่งทางแชคาไว MF Manual Focus แมนนวลโฟกัส ผูใชปรับหาโฟกัสดวยตัวเอง ในโหมดหาโฟกัสแบบตอเนื่อง Continuous-servo AF รวมทั้งในขณะที่กลองเปลี่ยนโหมดการหาโฟกัส จากโหมด AF-S ไปเปน AF-C ผูใชจะสามารถกดปุม  ลั่นชัตเตอรถายภาพไดแมวากลองจะยังหาโฟกัสไมไดก็ตาม ในโหมด MF Manual Focus แมนนวลโฟกัส ที่ผูใชปรับหาโฟกัสเอาเอง กลองจะไมหาโฟกัสให แมวาผูใชจะ เปลี่ยนโหมดถายภาพ P, S, A, M หรือเปลี่ยนไปใช โหมดถายภาพดิจิตอลแบบใดๆก็ตาม ผูใชตองเปลี่ยนกลับมาที่ AF เทานั้น กลองจึงจะใชระบบหาโฟกัสอัตโนมัติใหอีกครั้ง ไฟสองชวยหาโฟกัส ถาในขณะที่ถายภาพ สภาพแสงมีนอยเกินไป กลองจะเปดไฟสองชวยหา โฟกัสใหเอง เมื่อกดปุมชัตเตอรครึ่งทาง แตไฟชวยโฟกัสนี้จะไมติดสวางหากใชโหมดชวยถายภาพ หรือโหมดหาโฟกัสแบบตอเนื่อง AF-C Continuous-servo AF หรือ เมื่อใชคําสั่งเฉพาะที่ 9 สั่งปด Off เอาไว ไฟชวยโฟกัสจะมีระยะสองสวางประมาณ 0.5-3.0 ม. และใชไดกับเลนส 24-200มม. ที่ไมไดใสฮูดบังแสง •

ผูใชสามารถเลือกโหมดการหาโฟกัส จากชุดรายการคําสั่งเฉพาะ Custom Menu ก็ไดเชนกัน

ในบางกรณี ไฟสองชวยหาโฟกัสอาจจะใชงานไมไดเนื่องจาก 1. ใชติดตอกันบอยครั้ง จนหลอดไฟรอนเกินไป ทําใหปดการทํางานชั่วคราว 2. เลนสที่ใชมีขนาดใหญเกินไป จนบังแสงสองโฟกัส ตามที่แสดงขางลางนี้ • AF-S VR 200 มม. f/2G • AF-S VR 200–400 มม. f/4G ED • AF Micro 200 มม. f/4D ED • AF-S VR 24–120 มม. f/3.5–5.6G ED • AF Micro 70–180 มม. f/4.5–5.6D ED • AF-S 17–35 มม. f/2.8D • AF-S 17–55 มม. f/2.8G • AF-S 24–70 มม. f/2.8G • AF-S 28–70 มม. f/2.8D ED • AF-S DX VR 55–200 มม. f/4–5.6G ED • AF-S VR 70–200 มม. f/2.8G ED • AF-S 80–200 มม. f/2.8D • AF 80–200 มม. f/2.8D ED • AF-S VR 70–300 มม. f/4.5–5.6G • AF-S NIKKOR 14–24 มม. f/2.8G ED • AF VR 80–400 มม. f/4.5–5.6D ED

โหมดเลือกกรอบหาโฟกัสอัตโนมัติ AF-Area Mode กลอง D60 มีกรอบหาโฟกัสทั้งหมด 3 กรอบ วางอยูในตําแหนงตางๆในภาพใหเลือกใชไดวาจะใช กรอบอันไหนสําหรับการหาโฟกัส กลองจะถูกตั้งมาจากโรงงานใหเลือกใชกรอบโฟกัสเองโดยอัตโนมัติ หรือใชกรอบโฟกัสที่ตรงกลางของภาพ ผูใชสามารถใช Quick settings display เพื่อเลือกโหมดเลือกกรอบหาโฟกัสอัตโนมัติโดยตรงได

โฟกัสที่จุดใกลที่สุด Closest Subject กลองจะเลือกใชกรอบหาโฟกัส และปรับโฟกัสไปที่วัตถุที่อยูใกลกลองมากที่สุดกอนเสมอ กลองจะเลือกการโฟกัสแบบนี้สําหรับใชกับโหมดถายภาพโปรแกรมดิจิตอล และเปนคาที่ถูกตั้งมาจากโรงาน (Default) ใหผูใชปรับเปลี่ยนไดในโหมดชวยถายภาพ P, S, A, M

เสมอ

กรอบโฟกัสแบบติดตามการเคลื่อนที่ Dynamic Area หากตัวแบบเคลื่อนที่ออกจากกรอบโฟกัสที่ผูใชเลือก กลองจะหาระยะโฟกัสโดยใชขอมูลกรอบโฟกัสที่เหลือ กลองจะพยายามเปลี่ยนโฟกัสไปตามทิศทางการเคลื่อนที่ของตัวแบบในชองมองภาพ ระบบนี้เหมาะกับวัตถุที่ ไมคอยอยูนิ่ง หรือมีการเคลื่อนไหว กลองจะเลือกวิธีนี้สําหรับโหมดชวยถายภาพแบบโปรแกรมดิจิตอลกีฬา

เสมอ

กรอบโฟกัสเฉพาะจุด Single Point ผูใชจะเปนผูเลือกกรอบโฟกัสที่จะใหกลองเริ่มตนหาโฟกัส กลองจะหาระยะโฟกัสเฉพาะจุดที่กรอบที่ผูใชเลือก ใหเทานั้น ระบบนี้เหมาะจะใชกับวัตถุที่อยูนิ่ง ไมมีการเคลื่อนไหว กลองจะเลือกวิธีนี้สําหรับโหมดชวยถายภาพดิจิตอลระยะใกลชิด

เสมอ

กรอบโฟกัสที่ถูกเลือกใชจะถูกแสดงใหเห็นในชองมองภาพ



ผูใชสามารถเลือกเปลี่ยนโหมดเลือกกรอบโฟกัส จากชุดรายการคําสั่งเฉพาะ Custom Menu ก็ไดเชนกัน

การเลือกใช กรอบหาโฟกัส ทางโรงงานไดตั้งมาใหกลองใชกรอบหาโฟกัสแบบอัตโนมัติ หรือ ใหใชกรอบกลางกอน แตผูใชสามารถเลือกใชกรอบโฟกัสอันใดอันหนึ่งจากทั้ง 3 ที่แสดงในชองมองภาพไดโดยการใชแปนกด 4 ทิศ เพื่อใชในการจัดองคประกอบภาพที่ตัวแบบอยูเยื้องไปทางซายหรือขวาของภาพอยางที่ตองการได วิธีการเลือกใชกรอบโฟกัส 1. เปดหนา Quick settings display เพือ ่ เลือกโหมดเลือกกรอบ หาโฟกัสอัตโนมัติโดยตรง

2. หากผูใชตองการเลือกกรอบโฟกัสเอง ใหเปลี่ยนไปใชระบบ หาโฟกัสแบบเฉพาะที่ Single point หรือ แบบติดตาม Dynamic Area เชนในภาพ ในโหมดชวยถายภาพ ทางโรงงานไดตั้งกลองใหโฟกัสที่วัตถุที่อยูใกลกลองที่สุด (Closest subject) ไวกอนเสมอ

3. กดแปน 4 ทิศ ซาย -ขวา เพื่อเลือก กรอบหาโฟกัสที่ตองการ กรอบหาโฟกัสที่ถูกเลือกใช จะติดสวางในชองมองภาพ

กรอบหาโฟกัสที่ถูกเลือกใช จะแสดงในจอ LCD ดวย และแสดงที่แถบแสดงขอมูลในชองมองภาพดวยเชนกัน

การล็อคจุดโฟกัส Focus Lock การล็อคโฟกัส ใชสําหรับชวยจัดภาพ หลังจากที่วางจุดโฟกัสที่ตัวแบบ หรือ ที่จุดสนใจในภาพไวไดแลว ซึ่งจะชวยทําให การจัดองคประกอบภาพทําไดงายขึ้นแมวา ตัวแบบอาจจะไมไดอยูในกรอบหาโฟกัสทั้ง 3 กรอบ การล็อคโฟกัสจะทําไดเมื่อโหมดการเลือกกรอบโฟกัสอยูในโหมดหาโฟกัสแบบเฉพาะที่ Single point หรือ Dynamic Area เทานั้น แบบติดตาม วิธีการล็อคจุดโฟกัส 1. จัดภาพคราวๆ ใหตัวแบบหรือวัตถุ อยูใ นกรอบหาโฟกัสอันที่ เลือกไวแลว กดปุมชัตเตอรเบาๆครึ่งทาง เพื่อใหกลองหา ระยะโฟกัสเมื่อกลองหาโฟกัสไวไดแลว ก็จะแสดงไฟยืนยัน การโฟกัส มองภาพ

ที่มุมซายดานลางของแถบแสดงขอมูลในชอง

2. จัดองคประกอบภาพใหม โดยที่ยังคงแตะกดปุมชัตเตอรคาไว เมื่อจัดภาพใหมไดแลว กดปุมชัตเตอรลงไปจนสุดเพื่อลั่นชัต เตอรถายภาพได เมื่อทําการล็อคโฟกัสไวแลว ขณธทีจ ่ ัดภาพใหม ก็ควรจะ รักษาระยะหางระหวางกลองและตัวแบบที่โฟกัสไวกอนแลว ใหเทาเดิมเสมอ

การใชปุม

สําหรับใชล็อคโฟกัส

ปุม สามารถใชกดล็อคโฟกัสแทนการกดปุมชัตเตอรคา แชไวครึ่งทางได แชไวจากนั้นก็กดแตะปุมชัตเตอรเบาใหกลอง กดปุม ทํางาน กลองจะล็อคโฟกัสไว นานเทาที่กดปุม นี้แชไว แมวาจะ ปลอยนิ้วจากปุมชัตเตอรแลวก็ตาม

หมายเหตุ: • ปุมชัตเตอจะใชล็อคโฟกัสไมได ในกรณีที่ใชโหมดโปรแกรมชวยถายภาพกีฬา และ เมื่อใชโหมดหาโฟกัสอัตโนมัติแบบตอเนื่อง (AF-C) หรือ เมื่อใชโหมดถายภาพแบบตอเนื่อง ทั้ง 3 กรณีนี้ใหใชปุม สําหรับใชล็อคโฟกัสแทน • เมื่อใชการล็อคโฟกัสดวยปุม กลองจะล็อคระยะโฟกัสไว ผูใชสามารถปลอยและกดปุมชัตเตอรถายภาพ-กี่ภาพก็ได • ใชตั้งคารายการคําสั่งเฉพาะที่ 12 (AE-L/AF-L) สําหรับกําหนดหนาที่การทํางานของปุม

การใชแมนนวลโฟกัส MF Manual Focus เมื่อผูใชตองการปรับหาโฟกัสดวยตัวเอง หรือในบางกรณีที่กลองไมสามารถตรวจจับหาโฟกัสได หรือ เลือกใชเพื่อปรับแตงโฟกัส หรือ เมื่อใชเลนสที่ไมมีมอเตอรในตัวเพื่อหมุนหาโฟกัส ในหนา Quick settings display ตั้งเลือกโฟกัส ไปที่ MF เพื่อโฟกัสดวยตัวผูใชเอง (MF-Manual Focus) ผูใชหมุนแหวนหาโฟกัสที่อยูบนเลนสดวยตัวเอง พรอมกับตรวจดู ความคมชัดในชองมองภาพ ปุมชัตเตอรจะสามารถกดใชงานถายภาพไดตลอดเวลา

หากใชเลนสที่มีสวิทชแบบ A-M ใหตั้งไปที่ M และเลนสแบบที่มี สวิทช M/A ผูใชสามารถเลือกไดวาจะตั้งไปที่ M/A หรือ M ไดทั้งคู

สัญญาณไฟยืนยันการโฟกัส เมื่อใชระบบหาโฟกัสดวยตัวผูใชเอง กับเลนสที่มีคารูรับแสงกวาง สุดอยางนอย f/5.6 ผูใชสามารถใชสัญญาณไฟยืนยันการโฟกัส ทีอ ่ ยูในชอง มองภาพชวยในการปรับหาโฟกัสได โดยปรับโฟกัสที่เลนส พรอมกับแตะกดปุมชัตเตอรครึ่งทางเบาๆ เมื่อไดปรับเลนสจนไดระยะโฟกัสสัญญาณไฟยืนยันการโฟกัส ที่ มุมซายดานลางของแถบแสดงขอมูลในชองมองภาพ จะติดสวา ง บอกวาผูใชปรับโฟกัสไดแลว หมายเหตุ: ใชตั้งคารายการคําสั่งเฉพาะที่ 19 (Range Finder) สําหรับชวยในการปรับโฟกัสดวยมือ

เครื่องหมายบอกแนวระนาบโฟกัส Focus Plane Position สําหรับใชประกอบการคํานวนระยะทางระหวางวัตถุที่ถายภาพกับแนวระนาบของ CCD ระยะหางระหวางเครื่องหมายแนวระนาบ ถึงระนาบหนา แปลนกลอง (ชองใสเลนส) จะยาว 46.5 มม.

ระบบวัดแสง Exposure Metering กลองจะใชเครื่องวัดแสงภายในกลอง เพื่อตั้งความเร็วชัตเตอรและขนาดรูรับแสงที่เหมาะสมสําหรับทําการถาย บันทึกภาพ ในโหมดชวยถายภาพแบบดิจิตอล กลองจะถูกตั้งมาจาก โรงงานใหใชระบบวัดแสงแบบมาตริกซ Matrix เทานั้น แตในโหมดชวยถายภาพแบบ P. S, A หรือ M ผูใชสามารถใช Quick settings display เพื่อเลือกใชระบบวัดแสงแบบอื่นได วัดแสงแบบมาตริกซ (Matrix) ใชสําหรับการถายภาพทั่วๆไป กลองจะวัดแสงแบบมาตริกซ (เฉลี่ยทั่วทั้งกรอบภาพ) แลวประเมินคาแสงจาก ความสวาง, สี, ระยะหางจากกลอง, และการจัดองคประกอบภาพ เพื่อคํานวนคาแสงใหภาพดูเปนธรรมชาติ วัดแสงแบบเฉลี่ยหนักกลาง (Center Weighted 75/25) ใชสําหรับการถายภาพบุคคล (Portrait) โดยกลองจะใหนําหนักเนนวัดแสงบริเวณตรงกลางกรอบภาพ วัดแสงแบบแบบเฉพาะจุด (Spot) กลองจะวัดแสงตรงเฉพาะจุดที่ตรงกลางพื้นที่กรอบโฟกัสที่เลือกใช (หากตั้งกลองใหใชโหมดหาโฟกัสกับวัตถุที่ ใกลที่สุดกอน -Closest subject กลองจะวัดแสงตรงที่กรอบหาโฟกัสอันกลางเทานั้น) การวัดแสงแบบนี้เหมาะสําหรับการถายภาพที่ตัวแบบ ที่มีฉากหลังที่สวางมากหรือมืดมากกวาปกติ ระบบวัดแสงแบบมาตริกซ 3D color Matrix ใชตัววัดแสงและสี RGB แบบ 420 พิกเซล วัดแสงจากพื้นที่ใน ภาพทั้งหมดที่เห็นในชองมองภาพ ไมวาจะที่สวาง หรือ ที่มืด เทาที่สายตามองเห็น รวมทั้งใชระยะถายภาพ ประกอบการวัดแสงดวย (ระบบ 3D matrix metering นี้จะใชไดเฉพาะในเลนสแบบ G หรือ D เทานั้น) ผูใชสามารถเลือกเปลี่ยนโหมดเลือก ระบบวัดแสง จากชุดรายการคําสั่งเฉพาะ Custom Menu ก็ไดเชนกัน

การล็อคคาแสงอัตโนมัติ (AE-Auto exposure Lock) ในกรณีที่ใชระบบวัดแสงแบบ เฉลี่ยหนักกลาง หรือ เฉพาะจุด บางครั้งตัวแบบไมอยูในบริเวณที่กลองวัดแสง ซึ่งอาจจะทําใหกลองวัดคาแสงในภาพผิดพลาดได จึงแนะนําใหการล็อคคาวัดแสง กอนทําการถายภาพ การล็อคคาแสงจะใชไดกับโหมดชวยถายภาพ P, S, และ A เทานั้น 1. แบบเฉลี่ยหนักกลาง หรือ แบบแบบเฉพาะจุด ในหนา Quick settings display ตั้ง ระบบวัดแสง และไมแนะนําใหใชการล็อคคาแสงในโหมดวัดแสง แบบมาตริกซ (Matrix) เพราะอาจจะไดคาแสงที่ ผิดพลาดได 2. จัดภาพคราวๆใหตัวแบบอยูในบริเวณที่โฟกัส (กรอบโฟกัสที่เลือกใช) กดแตะปุมชัตเตอรเบาใหกลองทํางานจากนั้น กดปุม แชไว นี้แชไว แมวาจะปลอย กลองจะล็อคคาแสงไว นานเทาที่กดปุม นิ้วจากปุมชัตเตอรแลวก็ตาม

วัดแสงแบบเฉลี่ยหนักกลาง กลองจะวัดที่ตรงบริเวณกลางภาพ แบบเฉพาะจุด กลองจะวัดที่ตรงกลางกรอบโฟกัสที่เลือกใช ตรวจดูไฟยืนยันการโฟกัส ที่แถบแสดงในชองมองภาพ ขณะที่ล็อคคาวัดแสงไว จะมี EL แสดงใหเห็นที่แถบใตชองมองภาพ

3. กดปุม แชไว จัดองคประกอบภาพใหม ตามที่ตอ  งการ กดปุมชัตเตอรลงจนสุดทาง จนลั่นชัตเตอรถายภาพได

เมื่อกลองล็อคคาวัดแสงไวแลว (ขณะที่กดปุม แชไว) ผูใชสามารถปรับเปลี่ยนโหมดชวยถายภาพ (P, S, หรือ A) ไดโดยคาแสง EV ที่ถูกล็อคไวแลวจะไมถูกเปลี่ยนแปลงใดๆทั้งสิ้น โหมดชวยถายภาพ

แบบโปรแกรมอัตโนมัติ Programmed Auto แบบความเร็วชัตเตอร Shutter-Priority Auto แบบคารูรับแสงเอง Aperture-Priority Auto ผูใชสามารถดูความเร็วชัตเตอร

การใชงาน

ผูใชเลือก คารูรับแสงและคาความเร็วชัตเตอร (จากโปรแกรม P*) ผูใชเลือก คาความเร็วชัตเตอร ผูใชเลือก คารูรับแสง และ คารูรับแสงที่เปลี่ยนแปลงไป ไดจากจอแสดงในชองมองภาพ

อนึ่ง, ผูใชจะไมสามารถเปลี่ยนระบบวัดแสงได ในขณะที่กลองยังล็อคคาแสงอยู (ขณะที่กดปุม

• •

แชคาไว)

หมายเหตุ: ใชรายการคําสั่งเฉพาะที่ 12 สําหรับตั้งการทํางานของปุม AE-L/AF-L วาจะใหทํางานในลักษณะใด ใชรายการคําสั่งเฉพาะที่ 13 สําหรับตั้งการทํางานของปุมกดชัตเตอร กับการล็อคคาแสง

การถายภาพดวยแสงแฟลช Flash Photography กลอง D60 มีแฟลชขนาดไกดนัมเบอร 11/36 (เมตร/ฟุต) ที่ ISO 100 ใชสําหรับถายภาพขณะที่สภาพแวดลอมมีไมเพียงพอตอการถายภาพ, หรือใชแสงแฟลชลบเงาของแสง แวดลอม, หรือ เมื่อถายภาพยอนแสง (ฉากหลังสวางมากกวาตัวแบบ) รวมทั้งทําใหเกิดแสงสะทอนในดวงตา ดูดวงตามีประกายสวยงาม อนึ่ง,แฟลชหัวกลองจะไมทํางานในโหมดถายภาพแบบโปรแกรมดิจิตอล การใชแฟลชหัวกลอง Built-in Flash ในโหมดถายภาพโปรแกรมดิจิตอล 1. ตั้งโหมดถายภาพโปรแกรมดิจิตอล 2. เลือกโหมดแฟลชที่จะใช หากอยูในที่ๆหามใชแสงแฟลชถายภาพใหเลือก 3. จัดองคประกอบภาพ, ตรวจดูวาตัวแบบอยูในระยะ สองสวางของแฟลช แตะปุมชัตเตอรเบาๆครึ่งทาง ปรับโฟกัส หากแสงแฟลชสวางไมพอ หรือ ถายภาพ ยอนแสง แฟลชหัวกลองจะยกขึ้นมาใหเองโดย อัตโนมัติ กดปุมชัตเตอรลงจนสุดทาง ลั่นชัตเตอรถายภาพได 4. เมื่อไมใชแฟลชแลว กดแฟลชหัวกลองลงจนล็อค กลับเขาที่เดิม การใชแฟลชหัวกลอง Built-in Flash ในโหมดชวยถายภาพ P, S, A, M 1. ตั้งโหมดชวยถายภาพ P, S, A หรือ M 2. กดปุม

แฟลชหัวกลองจะยกขึ้นมาใหเอง

หากไมตองการใชแฟลช ใหกดแฟลชหัวกลองลงจน ล็อค กลับเขาที่เดิม

3. เลือกโหมดแฟลชที่จะใช หากอยูในที่ๆหามใชแสงแฟลชถายภาพใหเลือก 4. เลือกระบบวัดแสง, ปรับแตงคาชดเชยแสง (หากตองการ), จัดองคประกอบภาพ, ลั่นชัตเตอรได

เมื่อไมใชแฟลชแลว กดแฟลชหัวกลองลง จนล็อคกลับเขาที่เดิม

การทํางานของโหมดแฟลชตางๆ ผูใชสามารถเลือกใชโหมดแฟลชตางๆได กับโหมดชวยถายภาพอัตโนมัติดังตอไปนี้

สัญลักษณ คําอธิบาย Auto 1. 2. 3. 4.

Red-Eye Reduction Slow Sync. Rear Curtain Sync.

การใชงาน เมื่อกดปุมชัตเตอร หัวแฟลชจะยกขึ้นมาและสองสวางใหเอง เมื่อมีแสงนอย หรือ มีฉากหลังที่สวางมาก (ถายภาพยอนแสง) ไฟชวยหาโฟกัสจะสวาง 1 วินาที กอนจะยิงแแสงแฟลชหลัก และลั่นชัต เตอร เพื่อทําใหมานตาหรี่ลง ลดอาการตาแดงจากแสงสะทอนของแฟลช กลองและแฟลชจะทํางานรวมกัน แบบใชความเร็วชัตเตอรต่ํา (ถึง 30 วินาที) เพื่อบันทึกทั้งตัวแบบ และ แสงฉากหลังในเวลากลางคืน แฟลชกลองจะรอจนกวามานชัตเตอรเปดนานจนใกลจะปด แลวจึงจะยิงแสง แฟลช กอนที่มานชัตเตอรจะปดลง ทําใหเกิดเสนสายลําแสงที่หลังวัตถุใน ภาพ สรางความรูสึกการเคลื่อนไหวในภาพ หากไมมีเครื่องหมายนี้แสดง กลองจะยิงแฟลชพรอมๆกันเปดมานชัตเตอร

เพื่อตั้งโหมดแฟลช การใชปุมแฟลช ผูใชสามารถเลือกใชโหมดแฟลชโดยการกดปุม แฟลช พรอมกับหมุนแปนควบคุมหลักไป ทางซาย หรือ ขวา ในโหมดชวยถายภาพ P, S. A, M ใหกดปุม เพื่อยกหัวแฟลช แลวกดปุม อีกครั้งพรอม กับพรอมกับหมุนแปนควบคุมหลักไปทางซาย หรือ ขวา เพือ ่ เลือกใชโหมดแฟลชตามที่ ตองการ

โหมดแฟลชจะแสดงใหเห็นในจอ LCD ที่ดานหลังกลอง

หมายเหตุ: ใชรายการคําสั่งเฉพาะที่ 10 สําหรับตัง้ คาความไวแสง ISO และความเร็วชัตเตอรต่ําสุดได ใชรายการคําสั่งเฉพาะที่ 14 สําหรับเลือกโหมด TTL หรือ M ปรับกําลังแสงแฟลชใหเพิ่มหรือลดได

แฟลชในกลอง สามารถใชกับเลนสทุกรุนที่มีชิพ CPU ทุกความยาวโฟกัสตั้งแต 18 ถึง 300 มม. แตแสงแฟลชจากหัวกลอง อาจจะครอบคลุมไดไมทั่วถึงทุกมุมภาพ เมื่อใชกับเลนสบางรุน หรือเมื่อใชฮูด แฟลชกลองมีระยะสองสวางของแฟลชต่ําสุดของแฟลชหัวกลอง 0.6 เมตร ดังนั้นจึงไมสามาถใชกับเลนส ถายภาพระยะใกลๆ (เลนสมาโคร) ได หากใชแฟลชในโหมดถายภาพตอเนื่อง กลองจะถายภาพใหเพียงภาพเดียวเทานั้นเมื่อกดชัตเตอร หากใชเลนสแบบลดความไหวสะเทือน (VR) ระบบลดความไหวสะทือนจะไมทํางาน ในระหวางที่แฟลชกําลัง ชารทหรือรีชารท หากใชแฟลชหัวกลองถายภาพติดตอกันหลายๆภาพ แฟลชอาจจะปดพักการทํางานชั่วคราว เพื่อชวยลดความ รอนของหลอดแฟลช โหมดแฟลชสัมพันธมานชัตเตอร ตามปกติกลองจะยิงแสงแฟลชทันทีที่เปดมานชัตเตอร (Front curtain sync.) ทําใหเวลาถายภาพดวยแฟลชปกติในเวลากลางคืนดูไมสมจริง เพราะแสงไฟในภาพจะอยูทางดานหนา

ในโหมดแฟลชสัมพันธมานชัตเตอรชุดหลัง (Rear Curtain sync) กลองจะเปดมานชัตเตอรกอน แลวรอจนใกลๆจะปดมานชัตเตอรจึงจะยิงแสงแฟลช ทําใหเวลาถายภาพดวยแฟลชปกติในเวลากลางคืนดูสมจริง โดยมีแสงไฟวิ่งตามหลัง

การชดเชยแสงถายภาพ Exposure Compensation บางครั้ง การจัดองคประกอบภาพในบางลักษณะแสง ทําใหมีความจําเปนที่จะตองปรับชดเชยใหกับคาแสงที่ กลองวัดได ผูใชสามารถปรับแตงคาชดเชยแสงไดตั้งแต -5 EV (อันเดอร:มืดกวาปรกติ) จนถึง +5 EV (โอ เวอร:สวางกวาปรกติ) โดยการปรับตั้งไดเปนขั้นๆละ 1/3 สตอป โดยทั่วไปแลว การปรับชดเชยแสงจะถูกตั้งเปน บวก + ในกรณีที่ตัวแบบ มีลักษณะทีด ่ ูมืดกวาฉากหลัง และ การปรับชดเชยแสงจะถูกตั้งเปน ลบ - ในกรณีที่ตัวแบบดูสวางกวาฉากหลัง การชดเชยแสงถายภาพจะใชไดผลที่สุดเมื่อใชกับระบบวัดแสงระบบวัดแสง แบบเฉลี่ยหนักกลาง ( ) หรือ วัดแสงแบบเฉพาะจุด ( ) และการตั้งคาชดเชยแสงจะทําไดเฉพาะในโหมดชวยถายภาพ P, S, A เทานั้น และจะไมมีผลใดๆในโหมด M ที่ผูใชตั้งคาแสงถายภาพเอง ผูใชสามารถตั้งคาชดเชยแสงได 2 วิธี 1. ใช Quick settings display เพื่อตั้งปรับชดเชยคาแสง ถายภาพ คาชดเชยแสงที่ตั้งไวจะแสดงในจอ LCD

2. กดปุม พรอมกับหมุนแหวนควบคุมไปทางซาย (+) เพื่อเพิ่มคา หรือ ขวา (-) เพื่อลดคา ตรวจดูคาชดเชยแสงที่ตั้งไวในจอ LCD หรือในชองมองภาพ การตั้งคาชดเชยแสงสามารถทําไดในโหมดชวยถายภาพ P, S, หรือ A เทานั้น หากผูใชตั้งคาชดเชยแสงไว คาชดเชยแสงที่ตั้งไวจะยังคงอยู แมวาจะปดสวิทช Off กลองไปแลวก็ตาม เมื่อตองการยกเลิกการตั้งคาชดเชยแสง ก็ใหตั้งกลับไปที่ 0.0

ภาพตัวอยางการตั้งคาชดเชยแสงถายภาพ

การปรับตั้งชดเชยแสงแฟลช Flash Compensation การปรับตั้งชดเชยแสงแฟลช เพื่อปรับลด - หรือ เพิ่ม + ความสวางของตัวแบบ เมื่อใชแสงแฟลชถายภาพ เชนปรับลด - เพื่อลดแสงสะทอนจากแฟลช เมื่อใชถายภาพวัตถุที่มีผิวมัน หรือ แวววาว การปรับตั้งชดเชยแสงแฟลชจะทําไดเฉพาะในโหมด P, S, A, และ M เทานั้น ผูใชสามารถใช Quick settings display เพื่อตั้งปรับคาชดเชยแสงแฟลชได

แฟลชในตัวกลองสามารถตั้งไดตั้งแต -3 EV ( ใหแสงแฟลชนอยลง ) จนถึง +1 EV (ใหแสงแฟลชมากขึ้น) โดยปรับตั้งทีละ 1/3 สตอป หากผูใชตั้งคาชดเชยแสงแฟลชไว คาชดเชยแสงแฟลชที่ตั้งไวจะยังคงอยู แมวาจะปดสวิทช Off กลองไปแลวก็ ตาม เมื่อตองการยกเลิกการตั้งคาชดเชยแสงแฟลช ก็ใหตั้งกลับไปที่ 0.0 ผูใชสามารถตั้งคาชดเชยแสงแฟลชกับแฟลชภายนอกกลอง SB-400, SB-600, SB-800 หรือ SU-800 ได เชนกัน การตั้งคาชดเชยแสงแฟลช การตั้งคาชดเชยแสงสามารถทําไดในโหมดชวย ถายภาพ P, S, A และ M เทานั้น และ และ พรอมกับหมุนแหวน กดปุม ควบคุมไปทางซาย (+) เพื่อเพิ่มคา หรือ ขวา (-) เพื่อ ลดคา คาชดเชยแสงแฟลชหัวกลองสามารถตั้งไดตั้งแต -3 EV ( ใหแสงแฟลชนอยลง ) จนถึง +1 EV (ใหแสง แฟลชมากขึ้น) โดยปรับตั้งทีละ 1/3 สตอป ตรวจดูคาชดเชยแสงแฟลชที่ตั้งไวไดในชองมองภาพ

ระบบชวยปรับความสวางในภาพ Active D-Lighting เมื่อผูใชเปดใชระบบชวยปรับความสวางในภาพ Active D-Lighting กอนที่จะถายภาพ กลองจะชวยปรับ คาชดเชยแสงเพิ่มความสวางในภาพใหโดยอัตโนมัติ เพื่อชวยรักษารายละเอียดทั้งในพื้นที่สวนที่สวาง (highlight) และบริเวณในสวนเงามืด (shadow) ในภาพ ทําใหไดภาพที่มีคอนทราสดูเปนธรรมชาติ ใชสําหรับถายภาพที่มีคอนทราสสูง เชนการถายภาพจากหนาตางหอง เพื่อถายภาพวิวทิวทัศนที่มี-ความสวางมาก หรือ เมือ ่ ตัวแบบอยูในรมเงาแตมีแสงแดดจัดภายนอกชายคา ภาพตัวอยางระบบชวยปรับความสวางในภาพ Active D-Lighting

การทํางานระบบชวยปรับความสวางในภาพ Active D-Lighting • เมื่อเปดใชระบบชวยปรับความสวางในภาพ Active D-Lighting กลองจะประเมินสวนตางๆในภาพ แลวจะจัดการภาพโดยการ ปรับลดคาแสงสําหรับถายภาพ, จากนั้นก็จะปรับแตงในสวนสวาง (highlights) และสวนมิดโทน (mid tones) กอนที่จะทําการบันทึกภาพเพื่อใหไดความสวางในภาพที่พอเหมาะพอดี • ระบบชวยปรับความสวางในภาพ Active D-Lighting จะใชเวลาในการบันทึกไฟลภาพยาวนานกวาปกติ • เมื่อใชระบบชวยปรับความสวางในภาพ Active D-Lighting รวมกับ โหมดชวยถายภาพ P, S, A หรือ M ควรจะ ระบบวัดแสงแบบมาตริกซ แบบมาตริกซ (Matrix) เทานั้น • ระบบชวยปรับความสวางในภาพ Active D-Lighting ตางกับระบบเพิ่มแสงในภาพ D-Lighting ตรงที่ Active D-Lighting จะเปนการปรับคาแสง กอนที่จะถายภาพ สวนระบบ D-Lighting จะปรับหลังจากที่ถายภาพ ไปแลว เพื่อปรับปรุงชวง Dynamic range การเรียกใชงาน Active D-Lighting กดปุม พรอมกับหมุนแหวนควบคุมไปทางซาย (+) เพื่อเพิ่มคา หรือ ขวา (-) เพื่อลดคา

ตรวจดูวา Active D-Lighting ปด-เปด ไวไดในชอง มองภาพ



ผูใชสามารถเรียกใช Active D-Lighting จากชุดรายการคําสั่งถายภาพ Shooting Menu ก็ไดเชนกัน

การรีเซ็ทคําสั่งตางๆทีใ่ ชกับกลองอยางรวดเร็ว Two Buttons Reset เมื่อกดปุม และปุม พรอมๆกันแชไวนานกวา 2 วินาที จะเปนการรีเซ็ท (Reset) คําสั่งตางๆภายใน กลอง ใหกลับไปใชคําสั่งเดิมตามที่ถูกตั้งมาจาก โรงงาน (แตจะไมมีผลกับคําสั่งตางๆในชุดรายการ คําสั่งเฉพาะตัว (Custom menu) ของผูใช) ปุม

และปุม

ทั้ง 2 ปุมนี้จะมีจุดสีเขียวแตมไวขางๆ ใหเปนที่สังเกตุไดงาย

คําสั่งที่ถูกรีเซ็ท

คาที่ตั้งจากโรงงาน (Default) JPEG normal ไฟล JPEG มาตรฐาน Large

Image quality ชนิดของไฟลภาพ Image size ขนาดของกรอบภาพ 3872 x 2592 Auto White balance คาสมดุลยสีขาว อัตโนมัติ คาความไวแสง ISO sensitivity

โหมดถายภาพ

ISO Auto ISO อัตโนมัติ

ISO 100 Release mode Single frame โหมดลั่นชัตเตอร ถายเดี่ยวทีละภาพ AF-A Focus mode โหมดหาโฟกัส หาโฟกัสอัตโนมัติ ระบบเลือกโฟกัส AF Area mode Closest subject โหมดถายภาพ โฟกัสที่วัตถุที่ใกล ที่สุดกอนเสมอ

โหมดถายภาพ

Dynamic area โฟกัสแบบติดตาม

โหมดถายภาพ

Single point โฟกัสแบบคงอยูกับที่

คําสั่งที่ถูกรีเซ็ท

คาที่ตั้งจากโรงงาน (Default) Metering Matrix ระบบวัดแสง แบบมาตริกซ โหมดแฟลช Flash mode Auto โหมดถายภาพ แฟลชอัตโนมัติ

โหมดถายภาพ โหมดถายภาพ Exposure compensation คาชดเชยแสงถายภาพ Flash compensation คาชดเชยแสงแฟลช Active D-Lighting ระบบเพิ่มความสวางในภาพ Flexible program (P*) โหมดโปรแกรมชวย ถายภาพแบบอัตโนมัติ (P*)

Auto slow sync แฟลชอัตโนมัติ ความเร็วชัตเตอรต่ํา Fill flash แฟลช ลบเงา 0.0 0.0 Off ปด ไมใชงาน Off ปด ไมใชงาน

Default คาปริยายที่ถูกตั้งมาจากโรงงาน

การใชปุมคําสั่งเรียกดูภาพ (Playback) ในตอนนี้จะเปนการอธิบายการเรียกดูภาพที่บันทึกไวในการดความจํา และการล็อคไฟลภาพ เพื่อปองกับการลบ ไฟลภาพทิ้งโดยไมไดตั้งใจ นอกจากเรียกดูภาพแลว ผูใชยังสามารถใชคําสั่งตัดแตงภาพ จาก ชุดรายการคําสั่งแตงภาพ (Retouch menu) รวมทั้งการนําไฟลภาพมาติดตอกัน เพื่อใหแสดงไฟลภาพชุดนั้นในรูปแบบเปนหนังสั้นๆไดดวย

การเรียกดูภาพถายที่บันทึกไวในการดความจํา กดปุม เพื่อเรียกดูภาพที่เพิ่งถายไปลาสุด ใหแสดงบนจอ LCD หากภาพใดที่ถูกถายในแนวตั้ง ภาพที่แสดงก็จะแสดงใน แนวตั้งดวย ตามตัวอยางภาพดานขวามือ คําสั่งที่ใชสําหรับแสดงภาพถูกควบคุมจากปุมตางๆดังนี้ คําสั่ง ปุมที่ใชสั่งงาน เรียกดูภาพอื่นๆที่บันทึกไว

คําอธิบาย กดแปน 4 ทิศ ซาย-ขวา หรือ หมุนแหวน ควบคุมไปทางซาย-ขวาเพื่อใหกลองแสดง ภาพที่บันทึกไวมนการด ไปทางซาย แสดงภาพที่ถายกอนหนานี้ ไปทางขวา แสดงภาพถัดไปจากภาพนี้

เรียกดูขอมูลภาพที่กําลังแสดง

กดแปน 4 ทิศ ขึ้น-ลง (เลือกดูขอมูลของ ภาพถายที่แสดง)

ซูมขยายภาพที่กําลังแสดง

กดปุมแวนขยาย เพื่อซูมขยายดูรายละเอียดใน ภาพที่กําลังแสดงอยูนั้น

ลบไฟลภาพทิ้ง

กดปุมรูปถังขยะ กลองจะแสดงหนาตางให ยืนยันวาตองการลบภาพที่แสดงนั้นทิ้งไป กดปุมรูปถังขยะ ซ้ําอีกครั้งเพื่อยืนยันใหทําการ ลบภาพที่บันทึกไวทิ้งไป หากไมแนใจ หรือยัง ไมตองการลบภาพทิ้งใหกดปุมอื่นๆปุมใดก็ได เพื่อยกเลิกการลบไฟลภาพนั้น กดปุม เพื่อปองกันไมใหมีการลบภาพที่ กําลังแสดงนั้นทิ้งไปโดยการกดปุม ระวัง!! การฟอรแมท Format ยังคงสามารถ ลบไฟลภาพทั้งหมดที่มีในการดทิ้งได กดปุมตาราง เพื่อใหกลองแสดงภาพเปนแบบ กลุมภาพ (Thumbnail)

ใสคําสั่งไมใหลบภาพ

เรียกดูภาพแบบเปนกลุมภาพ แสดงรายการคําสั่งแตงภาพ

กลับไปใชงาน พรอมถายภาพ

เรียกดูหนาชุดรายการคําสั่ง

กดปุม OK ที่ตรงกลางแปน 4 ทิศ เพื่อยกเลิก การแสดงภาพ และเรียกดูรายการคําสั่งสําหรับ ใชตัดแตง Retouch ภาพที่กําลังแสดงอยูนั้น กดแตะปุมชัตเตอรเบาๆ หรือ กดปุมแสดงภาพ Playback ซ้ําอีกครั้ง เพื่อยกเลิกการแสดงภาพ และสั่งใหกลองพรอมใชถายภาพอยางรวดเร็ว สั่งใหกลองแสดงชุดรายการคําสั่ง Menu

หมายเหตุ: • ใชรายการคําสั่ง Auto Image Rotation ในชุดรายการคําสั่ง ใน Set up menu สําหรับสั่งใหกลองแสดงภาพใน แนวตั้งเอง และคําสั่งกลับภาพ Rotate tall ใน Playback menu สําหรับกลับภาพแนวตั้ง • ใชรายการคําสั่งเฉพาะที่ 07 สําหรับตั้งใหกลองแสดงภาพถายทันทีหลังจากกดชัตเตอร • ใชรายการคําสั่งเฉพาะที่ 15 สําหรับตั้งเวลาใหกลองปดการทํางานภายใน 2, 5, 10 หรือ 20 วินาที

ขอมูลการถายภาพ ผูใชสามารถเรียกดูขอมูลภาพถายของภาพที่กําลังแสดงโดยการกดแปน 4 ทิศ บน-ลาง ไดเปนลําดับดังนี้

ขอมูลไฟลภาพ File Information 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

แสดง ภาพไดมีการตัดแตง (Retouch) ในกลองแลว แสดง ภาพไดถูกล็อคปองกันการถูกลบทิ้ง (Protect) แสดง หมายเลขภาพ/จํานวนภาพทั้งหมดที่มีในการด แสดง ชื่อโฟรเดอร แสดง ชื่อไฟลภาพ แสดง ชนิดของไฟลภาพนั้น Image quality แสดง วันที่ที่ถายภาพนั้น แสดงเวลาที่ถายภาพนั้น แสดงขนาดของกรอบภาพ Image size

ขอมูลการถายภาพ หนาที่ 1 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

แสดง ภาพไดมีการตัดแตง (Retouch) ในกลองแลว แสดง ภาพไดถูกล็อคปองกันการถูกลบทิ้ง (Protect) แสดง รุนของกลองที่ถายภาพ แสดง ระบบวัดแสงที่ใชถายภาพนั้น (Metering) แสดง คาความเร็วชัตเตอร (Shutter speed) แสดง คารูรับแสง (Aperture) แสดง โหมดถายภาพ (P, S, A, M) mode แสดง คาชดเชยแสงถายภาพที่ใช (Exposure compensation) 9. แสดง คาทางยาวโฟกัสที่ใช (Focal length) 10. แสดง โหมดแฟลชที่ใช (Flash mode) 11. แสดง หมายเลขลําดับภาพ/จํานวนภาพทั้งหมด-ที่มีในการด

ขอมูลการถายภาพ หนาที่ 2 1. แสดง ภาพไดมีการตัดแตง (Retouch) แลว 2. แสดง ภาพไดถูกล็อคปองกันถูกลบทิ้ง (Protect) 3. แสดง คารูปแบบการปรับแตงภาพที่ใช (Image optimization) 4. แสดง คาความไวแสงที่ใช (ISO sensitivity) 5. แสดง คาสมดุลยสีขาว (White balance) และคาปรับแตงที่ใช (white balance fine tuning) 6. แสดง ขนาดภาพและชนิดของไฟลภาพ (Image - size/image quality) 7. แสดงคาโทนความสวางที่ใช (Tone compensation) 8. แสดง คาปรับแตงความคมชัดที่ใช (Sharpening) 9. แสดง คาโหมดสี/โทนสี Hue ที่ใช (Color mode/hue) 10. แสดง คาปรับแตงความอิ่มเขมของสี (Saturation) 11. แสดง ขอความกํากับภาพ (Image comment) 12. แสดง หมายเลขภาพ/จํานวนภาพทั้งหมด -ที่มีในการด หมายเหตุ: 1. หากผูใชตั้งคาความไวแสงไวที่ ISO Auto กลองจะแสดงคา ISO ที่ใชดวยตัวเลข ISO สีแดง 2. ผูใชสามารถใสขอความกํากับประจําภาพไดไมเกิน 36 ตัวอักษร แตจะแสดงไดเพียง 15 ตัวแรกเทานั้น

บันทึกการตัดแตงภาพ และ ระบบ Active D-Lighting 1. แสดง ภาพไดมีการตัดแตง (Retouch) แลว 2. แสดง ภาพไดถูกล็อคปองกันถูกลบทิ้ง (Protect) 3. แสดง สถานะวาไดใชระบบเพิ่มความสวางในภาพ (Active D-Lighting) * 4. แสดง รายการประวัตวิ าภาพไดถูกตัดแตงดวยคําสั่ง แตงภาพ (Retouch) ใดมาแลว (เริ่มจากแถวบน ลงลาง) 5. แสดง หมายเลขลําดับภาพ/จํานวนภาพทั้งหมด ที่มีในการด

* กลองจะแสดง “AUTO” หากผูใชไดเปดใชระบบเพิ่มความสวางในภาพ (Active D-Lighting) ในการ ถายภาพนั้น

บริเวณที่สวางเกินไปในภาพ Highlights บริเวณที่สวางเกินไปในภาพ Highlight จะกระพริบเตือนวาบริเวณนั้นสวางเกินกวากลองจะบันทึกภาพได ผูใชอาจจะดูการกระพริบเตือนนี้ เพื่อปรับแตงลดคาแสงถายภาพใหเหมาะสมในการภาพตอไป 1. แสดง ภาพไดมีการตัดแตง (Retouch) แลว 2. แสดง ภาพไดถูกล็อคปองกันถูกลบทิ้ง (Protect) 3. กระพริบแสดงพืน ้ ที่ในภาพที่สวางโอเวอรเกินไป (Highlights) 4. แสดง หมายเลขลําดับภาพ/จํานวนภาพทั้งหมด ที่มีในการด

กราฟขอมูลฮิสโตแกรม Histogram กราฟฮิสโตแกรม ใชบอกการแจกแจงของความสวางในภาพวาสมดุลยกับจํานวนพิกเซลอยางไร แกนแนวนอนของกราฟฮิสโตแกรม แสดงถึงปริมาณความสวางโดยดานซายจะมืดและดานขวาจะสวาง แกนแนวตั้งของกราฟฮิสโตแกรม แสดงถึงจํานวนพิกเซลโดยยิ่งสูงยิ่งมีจํานวนมาก 1 2 3 4

แสดง ภาพไดมีการตัดแตง (Retouch) แลว แสดง ภาพไดถูกล็อคปองกันถูกลบทิ้ง (Protect) แสดง แทงกราฟฮิสโตแกรม Histogram แสดง หมายเลขลําดับภาพ/จํานวนภาพทั้งหมด ที่มีในการด

ภาพตัวอยาง การแปลความหมายของกราฟฮิสโตแกรม แกนแนวนอน ของกราฟฮิสโตแกรม แสดงถึงปริมาณความสวางโดยดานซายจะโทนมืดและดานขวาจะโทน สวาง แกนแนวตั้ง ของกราฟฮิสโตแกรม แสดงถึงจํานวนพิกเซลโดยยิ่งสูงยิ่งมีจํานวนมาก • หากในภาพมี สวนสวางและสวนเงาในระดับพอดี เทาๆกัน แกนหลักของแทงกราฟจะเรื่มจากตรง กลางและกระจายออกไปอยางคอนขางสม่ําเสมอ

• หากในภาพมีโทนมืดกวาปกติ แกนหลักของแทง กราฟจะไปกระจุกตัวไปหนักทางดานซายมือ

• หากในภาพมีความสวางในระดับสูงกวาปกติ แกน หลักของแทงกราฟจะไปกระจุกตัวทางดานขวามือ

ในกรณีภาพดูมืดเกินไป(แกนแทงกราฟหนักซาย) หรือ สวางเกินไป (แกนแทงกราฟหนักขวา) ผูใชสามารถตั้งคาชดเชยแสงเพื่อปรับชดเชยคาแสง โดยปรับคาชดเชยเพิ่ม (+) คาแสงในกรณที่ภาพดูมืด หรือ ปรับคาชดเชยแสงลบ (-) คาแสงในกรณที่ภาพดูสวางเกินไป แลวถายภาพอีกครั้ง เพื่อแกไขได หมายเหตุ: แทงกราฟฮิสโตแกรม Histogram ที่แสดงในกลองเปนเพียงตัอยางแนวทางเทานั้น ซึ่งอาจจะ แตกตางกับที่แสดงในโปรแกรมแสดงภาพอื่นๆ และจะเปลี่ยนไปตามลักษณะของภาพและองคประกอบอื่นๆใน ภาพที่ถายจริง

การเรียกดูภาพถายแบบภาพยอสวน Thumbnails playback กดปุม เพื่อเรียกดูภาพเปนกลุมภาพยอ ครั้งละ 4 หรือ 9 ภาพใหแสดงบนจอ LCD หากภาพใดที่ถูกถายในแนวตั้ง ภาพที่แสดงก็จะแสดงในแนวตั้งดวย ตามตัวอยางภาพดาน ขวามือ

คําสั่งที่ใชสําหรับแสดงภาพยอสวน ถูกควบคุมจากปุมตางๆดังนี้ คําสั่ง ปุม  ที่ใชสั่งงาน คําอธิบาย เพิ่มจํานวนภาพที่แสดง กดปุมตาราง เพื่อใหกลองแสดงภาพ จากภาพ บนจอ LCD เดี่ยว เปนแบบภาพยอ (Thumbnail) แสดงที ละ 4 ภาพ หรือ เพิ่มจาก 4 เปน 9 ภาพ ลดจํานวนภาพที่แสดง กดปุมแวนขยาย เพื่อใหกลองแสดงภาพเปน บนจอ LCD แบบภาพยอ (Thumbnail) แสดงทีละ 9 ภาพ เปน 4 ภาพ หรือ จาก 4 ภาพ เหลือ ภาพใหญ ภาพเดียว ขยายดูภาพที่เลือกไว กดปุม OK ที่ตรงกลางแปน 4 ทิศ เพื่อดูภาพ ยอสวนที่เลือกไว ใหขยายเต็มจอ LCD ใชเลือกภาพจากกลุมภาพที่ แสดงบนจอ LCD

กดแปน 4 ทิศ ซาย-ขวา-ขึ้น-ลง หรือ หมุน แหวนควบคุมไปทางซาย-ขวาเพื่อใหกลอง แสดงภาพที่บันทึกไวมนการด ไปทางซาย แสดงภาพที่ถายกอนหนานี้ ไปทางขวา แสดงภาพถัดไปจากภาพนี้

ลบไฟลภาพทิ้ง

กดปุมรูปถังขยะ กลองจะแสดงหนาตางให ยืนยันวาตองการลบภาพที่เลือกไว นั้นทิ้งไป กดปุมรูปถังขยะ ซ้ําอีกครั้งเพื่อยืนยันใหทําการ ลบภาพที่เลือกไวทิ้งไป หากไมแนใจ หรือยังไมตองการลบภาพทิ้งให กดปุมอื่นๆปุมใดก็ไดเพื่อยกเลิกการลบไฟล กดปุม เพื่อล็อคภาพปองกันไมใหมีการ ลบภาพที่เลือกไวโดยไมตั้งใจ ระวัง!! การฟอรแมท Format ยังคงสามารถ ลบไฟลภาพทั้งหมดที่มีในการดทิ้งได

ใสคําสั่งไมใหลบภาพ

กลับไปใชงาน พรอมถายภาพ

กดแตะปุมชัตเตอรเบาๆ หรือ กดปุมแสดงภาพ Playback ซ้ําอีกครั้ง เพื่อยกเลิกการแสดงภาพ และสั่งใหกลองพรอมใชถายภาพอยางรวดเร็ว

เรียกดูหนาชุดรายการคําสั่ง

สั่งใหกลองแสดงชุดรายการคําสั่ง Menu

การซูมขยายดูภาพขนาดใหญ Playback zoom กดปุม เพื่อซูมขยายดูรายละเอียดในภาพที่กําลังแสดงบนจอ LCD โดยสามารถเลือกใหได 25 เทาสําหรับภาพขนาด L, ขยาย 19 เทา สําหรับภาพขนาด M, และ 13 เทาสําหรับภาพขนาด S คําสั่งที่ใชสําหรับซูมขยายภาพ ถูกควบคุมจากปุมตางๆดังนี้ คําสั่ง ปุมที่ใชสั่งงาน ขยาย ขนาดภาพใหใหญขึ้น ลด ขนาดภาพใหเล็กลง

คําอธิบาย กดปุมแวนขยาย กดปุมตาราง

เลื่อนไปดูสวนที่ขยาย

กดแปน 4 ทิศ ซาย-ขวา-ขึ้น-ลง

เลื่อนไปดูภาพถัดไป

หมุนแหวนควบคุมไปทางซาย-ขวาเพื่อใหกลอง แสดงภาพที่บันทึกไวมนการด ไปทางซาย แสดงภาพที่ถายกอนหนานี้ ไปทางขวา แสดงภาพถัดไปจากภาพนี้

ยกเลิกการขยายดูภาพ

กดปุม OK ที่ตรงกลางแปน 4 ทิศ เพื่อดูกลับไป ดูภาพแบบปกติเต็มจอ LCD

ลบไฟลภาพทิ้ง

กดปุมรูปถังขยะ กลองจะแสดงหนาตางใหยืนยัน วาตองการลบภาพที่เลือกไว นั้นทิ้งไป กดปุมรูปถังขยะ ซ้ําอีกครั้งเพื่อยืนยันใหทําการ ลบภาพที่เลือกไวทิ้งไป หากไมแนใจ หรือยังไมตองการลบภาพทิ้งใหกด ปุมอื่นๆปุมใดก็ไดเพื่อยกเลิกการลบไฟล กดปุม เพื่อล็อคภาพปองกันไมใหมีการลบ ภาพที่เลือกไวโดยไมตั้งใจ ระวัง!! การฟอรแมท Format ยังคงสามารถลบ ไฟลภาพทั้งหมดที่มีในการดทิ้งได

ใสคําสั่งไมใหลบภาพ

ในจอ LCD กลองจะแสดง หนาตางเล็กๆที่แสดงภาพ ขนาดยอและสวนที่ถูกขยาย อยูใหเห็นในภาพยอสวนนั้น

กลับไปใชงาน พรอมถายภาพ

กดแตะปุมชัตเตอรเบาๆ หรือ กดปุมแสดงภาพ Playback ซ้ําอีกครั้ง เพื่อยกเลิกการแสดงภาพ และสั่งใหกลองพรอมใชถายภาพอยางรวดเร็ว

เรียกดูหนาชุดรายการคําสั่ง

สั่งใหกลองแสดงชุดรายการคําสั่ง Menu

การใสคําสัง ่ ล็อคปองกันไมใหลบไฟลภาพทิ้ง ผูใชสามารถใสคําสั่งปองกันไมใหลบภาพ เพื่อปองกันไมใหมีการลบภาพที่กําลังแสดงนั้น หรือ ภาพที่เลือกจาก กลุมภาพยอ (Thumbnail) ทิ้งไปโดยไมไดตั้งใจ เมื่อใสคําสั่งปองกันการลบภาพใหกับภาพใดๆแลว การกดปุม หรือคําสั่ง Delete จากหนารายการคําสั่งจะไม สามารถลบภาพนั้นได แตกลองจะอานไฟล หรือ เรียกดูภาพไดตามปกติ ระวัง!! การฟอรแมท Format การดความจํา ยังคงสามารถลบภาพที่ล็อคไว รวมทั้งภาพทั้งหมดทิ้งได กดปุม

กลองจะแสดงเครื่องหมาย ล็อค

ที่ดานบนมุมซายบของภาพที่ถูกล็อค

ในภาพยืนยันวาภาพที่แสดงนั้นไดรับการปองกันการถูกลบแลว ผูใชสามารถปลดล็อคคําสั่งปองกันการถูกลบได โดยเรียกดูภาพที่ถูกล็อคการลบภาพนั้นใหแสดงขึ้นมา หรือเลือกจากกลุมภาพยอ (Thumbnail) แลวกดปุม การเลือกลบภาพที่ไมตองการจาก การดความจํา วิธีลบภาพที่ไมตองการ ออกจากการดความจํา เรียกภาพที่ตองการลบ หรือ ภาพยอขนาด Thumbnail ใหแสดงบนจอ LCD

กลองจะแสดงหนาตางถามยืนยันการลบ กดปุม ภาพนั้น

กดปุม

ซ้ําอีกครั้งเพื่อยืนยันการลบภาพนั้น

อีกครั้งเพื่อปลดล็อคคําสั่งปองกันการลบภาพนั้น

หากเปลี่ยนใจ และตองการยกเลิกการลบภาพ ใหกด ปุม

เพื่อกลับเขาสูการแสดงภาพปกติ

หมายเหตุ: เมื่อไฟลภาพที่ถูกล็อคปองกันการลบไฟลถูกโอน คอมพิวเตอรจะอานไฟลนั้นในรูปแบบของไฟลขอมูลใน ลักษณะ Read only คือไฟลแบบจํากัดไวเฉพาะใหอานไดเทานั้น

การตอเชื่อมกลองเขากับคอมพิวเตอร, เครื่องพิมพภาพ หรือ จอโทรทัศน

เพื่อใชโอนภาพถายที่บันทึกไวในการดความจํา เขาสูโปรแกรมจัดการ หรือ ปรับแตงภาพ, เครื่องพิมพภาพ หรือ แสดงภาพลงจอโทรทัศน กอนตอเชื่อมควรตรวจสอบวาถานในกลองถูกชารทไฟจนเต็ม กอนที่จะตอเชื่อมกับ ระบบคอมพิวเตอร และใชสาย USB ที่จัดมาให

วิธีตอเชื่อมกลองและเครื่องคอมพิวเตอร

วิธีตอเชื่อมกลองและเครื่องพิมพภาพ (ในระบบ PictBridge)

วิธีตอเชือ ่ มกลองและเครื่องรับโทรทัศน

การเรียกดูชุดรายการคําสั่งตางๆในเมนู Camera Menu เพื่อใชรายการคําสั่งตางๆที่มีในกลองชวยในการถายภาพ, ปรับแตงภาพถาย, จัดการและแสดงภาพถายที่บันทึก ไวในการดความจํา รวมทั้งตั้งคําสั่งพิเศษเฉพาะตัว ตามที่ผูตองการ กดปุม

เพื่อเรียกดูชุดรายการคําสั่ง

รายการคําสั่งหลัก มี 5 ชุด ประกอบดวย

รายการคําสั่งที่แสดงในจอ LCD ประกอบดวย

การใชแปนกด 4 ทิศเพื่อเลือกคําสั่งในรายการเมนู

การใชแปนกด 4 ทิศเพื่อเลือกคําสั่งในรายการเมนู

1. กดปุม Menu เพื่อเรียกดูรายการทั้งหมด

2. กดแปน 4 ทิศ ไปทางซาย เพื่อเลือกชุดรายการ

3. กดแปน 4 ทิศ ขึ้น หรือ ลง เพื่อเลือกชุดรายการคําสั่งที่ตองการ ชุดคําสั่งเรียกแสดงภาพ (playback), ชุดคําสั่งถายภาพ (shooting), ชุดคําสั่งใชเฉพาะตัว (custom settings), ชุดคําสั่งเตรียมกลอง (set up), ชุดคําสั่งตัดแตงภาพ (retouch)

4. กดแปน 4 ทิศ ไปทางขวา เพื่อเขาทํารายการคําสั่งยอยในชุดรายการนั้น

5. กดแปน 4 ทิศ ขึ้น หรือ ลง เพื่อเลือกรายการคําสั่งยอยที่ตองการ

6. กดแปน 4 ทิศ ไปทางขวา เพื่อเขาไปตั้งคาตางๆในคําสั่งนั้น

7. กดแปน 4 ทิศ ขึ้น หรือ ลง เลือกคาตางๆที่มีในคําสั่งนั้น แลวกดตรงกลางแปน OK เพื่อยืนยันการใชคาที่ เลือกไวสําหรับคําสั่งรายการนั้น

หากตองการออกจากหนาเมนู ใหแตะกดปุมชัตเตอรเบา กลองจะการแสดง เมนูรายการคําสั่ง และการเตรียมพรอมใชถายภาพไดทันที

รายการคําสั่งตางๆที่ควรทราบ คําสั่งปรับแตงภาพ Optimize image ใชปรับแตงภาพที่ไดจากกลองใหออกมาในลักษณะตางๆโดยการปรับแตงคอนทราส, ความเขมของสี, และความ คมชัดในภาพ ตามที่ผูใชตองการใหภาพถายจากกลองออกมาเปนอยางไร ภาพปกติ Normal (default) * สําหรับใชถายภาพทั่วๆไป ภาพนุมนวล Softer สําหรับทําใหภาพดูนุมนวล เหมาะสําหรับใชถายภาพบุคคล หรือ ตองการแตงภาพในคอมฯทีหลัง ภาพสีเขม Vivid สําหรับเพิ่มคอนทราส, ความอิ่มของสีแดง, สีน้ําเงิน และสีเขียว, และความคมชัดในภาพ ภาพสีเขมจัด More vivid สําหรับทําใหเรงเนนคอนทราส, ความจัดจานของสี, และความคมชัดในภาพ ภาพบุคล Portarit สําหรับใชถายภาพบุคคล ใหสีผิวที่ดูเปนธรรมชาติ และลดคอนทราสทําใหภาพบุคคลดูนุมนวล ภาพขาว-ดํา Black and White สําหรับใชเปลี่ยนภาพสีใหเปนภาพขาว-ดํา แตงภาพตามแบบเฉพาะตัวผูใช Custom ใชสําหรับแตงภาพตามความตองการแบบเฉพาะตัวผูใชแตละคน * Default คาปริยายที่ถูกตั้งมาจากโรงงาน

หมายเหตุ: • ควรใชเลนสแบบ D หรือ G เพื่อใหผลดีทส ี่ ุด โดยกลองจะปรับคาแสงตามองคประกอบและรยะถายภาพ • หากตองการใหภาพมีสีและคอนทราส คงที่เพื่อการปรับแตงดวยเครื่องคอมฯภายหลัง ควรเลือกใช Custom • ยกเวนแตรายการคําสั่ง Custom นอกนั้นที่เหลือทั้งหมดจะใชรหัสสีแบบ sRGB

การปรับแตงลักษณะภาพตามความตองการเฉพาะของผูใช Optimize image: Custom ผูใชสามารถเลือกใชคําสั่งแตงภาพตามแบบเฉพาะตัวผูใช (Optimize image: Custom) ไดตามรายการที่แสดงในภาพ หลังจากที่ตั้งคาตามรายการที่ตองการตั้งไวแลว กดแปน 4 ทิศเลือก Done แลว กด OK เพื่อยืนยันคําสั่งนั้น

Image sharpening ความคมชัดของขอบลายเสนในภาพ ผูใชเลือกปรับแตงระดับ ความคมชัดของลายเสน (sharpening) ในภาพได 7 ระดับคือ อัตโนมัติ Auto, ปกติ Normal, ต่ํา Low, ต่ําปานกลาง Medium low, สูงปานกลาง Medium high, สูง High, หรือ ไมตองปรับ None โดยที่ Default คาปริยายที่ถูกตั้งมาจากโรงงานจะถูกตั้งไวที่ Auto Tone compensation คอนทราสในภาพ ผูใชเลือกปรับแตงระดับ คอนทราส (contrast) ในภาพได 6 ระดับคือ อัตโนมัติ Auto, ปกติ Normal, 8vomikl ต่ํา Less contract, ต่ําปานกลาง Medium low, สูงปานกลาง Medium high, คอนทราสสูง More contrast, และ Custom คาคอนทราสที่ต่ําจะรักษารายละเอียดในภาพที่สวางมากๆได และคาคอนทราสที่สูง จะชวยเนนรายละเอียดในภาพที่มีแสงนอยหรือภาพวิวทิวทัศนที่มีหมอกควันปกคลุมโดยที่ Default คาปริยายที่ ถูกตั้งมาจากโรงงานจะถูกตั้งไวที่ Auto ผูใชสามารถตั้งกําหนดคาคอนทราสเอาเอง custom ไดโดยการใช โปรแกรม Camera Control Pro 2 (ซื้อแยกตางหาก) Color mode รหัสสีที่ใชในภาพ กลอง D60 มีโหมดสี (หรือ รหัสสี) ใหเลือก 3 โหมด Ia (sRGB) ใชสําหรับภาพถายภาพบุคคล (portrait) ที่จะนําไฟลไปอัดขยายหรือพิมพภาพจากกลองโดยไมตองการ ปรับแตงสีอีก ภาพถายจะแสดงสีในรูปแบบมาตรฐาน sRGB II (Adobe RGB) ใชสําหรับภาพถายที่ตองการใหแสดงสีในแบบ Adobe RGB ซึง่ มีขอบเขตยานการแสดงสีที่กวางกวา sRGB เหมาะกับภาพถายที่ตองการปรับแตงเพื่อใหไดความแมนยําของสีสูงสุด IIIa (sRGB) (default) * ใชสําหรับภาพทั่วๆไปวิวทิวทัศน ภาพธรรมชาติ ที่จะนําไปอัดขยายหรือพิมพภาพจากกลองโดยไมตองปรับแตงสีอีกภาพถายจะแสดงสีในรูปแบบมาตรฐาน sRGB โดยจะเนนสีเขียว และ สีน้ําเงินในภาพ Default คาปริยายที่ถูกตั้งมาจากโรงงานจะถูกตั้งไวที่ IIIA (sRGB) นี้ Saturation ความอิ่มเขมของสี สําหรับทําใหเรงเนนความอิ่มเขมของสี (color intensity) ในภาพได 4 ระดับคือ อัตโนมัติ Auto, ปกติ Normal, นอยกวาปกติ Moderate, และ เรงความจัดจานของสีใหมากกวาปกติ Enhanced โดยที่ Default คาปริยายที่ถูกตั้งมาจากโรงงานจะถูกตั้งไวที่ Auto Hue Adjustment คาโทนสี สําหรับใชปรับแตงโทนสีตามวงลอสี Color wheel ทําใหภาพใหดูอบอุนขึ้น หรือ เย็นลง ปรับ 7 ระดับไดตั้งแต 9 ถึง +9 องศาโดยปรับทีละ 3 องศา หากตั้งคาเพิ่ม (+) จะทําใหภาพดูรอนขึ้น สีแดงในภาพออกไปสีสม และสี เขียวออกไปทางสีน้ําเงินและสีน้ําเงินจะะออกไปทางสีมวง แตหากหากตั้งคาเปนลบ (-) จะทําใหภาพดูเย็นลงสี แดงในภาพออกไปสีมวง และสีเขียวออกไปทางสีเหลืองและสีน้ําเงินจะะออกไปทางสีเขียว

คําสั่งปรับแตงคาสมดุลยสีขาว White balance ในหนาชุดรายการคําสั่งถายภาพ ผูใชสามารถเลือกใช คาสมดุลยสข ี าว WB - White balance ได ในคําสั่งคา WB สําหรับแสงหลอดเรืองแสงแบบฟลูออ เรสเซนต (Fluorescent) ผูใชยังสามารถเลือกชนิด ของหลอดเรืองแสงได 7 ชนิด สวนในรายการแสงแบบตางๆ ผูใชสามารถเลือก ปรับแตง +/- ไดเชนกัน คา WB ของหลอดเรืองแสงแบบฟลูออเรสเซนต (Fluorescent) มีใหเลือกใชไดดังนี้ Sodium vapor lamps หลอดไฟไอโซเดียม หลอดไฟสีเหลืองที่ใชตามถนน ทางหลวง และสี่แยก Warm-white fl. หลอดวอรมไวท หลอดไฟเรืองแสงแบบใหแสงสีเหลืองนวล คลายแสงหลอดทังสเตน ใชตกแตงบานเรือน White fluorescent หลอดไวทฺฟลูออเรสเซนท หลอดไฟเรืองแสงแบบใหแสงสีขาวฟา ใชบานเรือน ทั่วๆไป Cool-white fl หลอดคูลไวท ฟลูออเรสเซนท หลอดไฟเรืองแสงแบบใหแสงสีขาวฟา สวนใหญเปนหลอดประหยัดไฟ ใชในอาคาร Day white fl หลอดเดยไวท ฟลูออเรสเซนท หลอดไฟเรืองแสงแบบเดยไวท ที่ใชบานเรือน Daylight fluorescent หลอดเดยไลท ฟลูออเรสเซนท หลอดไฟเรืองแสงแบบเดยไลท ที่ใชซูเปอรมารเก็ต หางราน ทั่วๆไป Mercury vapor lamps หลอดไฟไอปรอท หลอดไฟสีขาวเหลืองที่ใชมนสนามกีฬา เวลากลางคืน หรือ ในสนามยิม สนามมวย

คาอุณหภูมิสี (Color Temperature) คาอุณหภูมิของสี (Color Temperature) คือความยาวคลื่นของ หรือสีที่มองเห็นของแสงที่ถูกเปลงออกมาจาก แหลงกําเนิดเมื่อแหลงนั้นๆถูกทําใหมีอุณหภูมิตามที่กําหนด โดยทั่วๆไป แหลงกําเนิดแสงสีขาวจะมีอุณหภูมิราว 5,000-5,500 K (เคลวิน) แหลงกําเนิดแสงสีอื่นๆที่มี อุณภูมิต่ํากวานี้ก็จะใหแสงโทนสีเหลืองสมหรือแดง และหากแหลงกําเนิดมีอุณหภูมิสูงกวานี้ก็จะใหแสง เหลือบสีฟา สีของแสงที่มองเห็นไดจะขึ้นอยูกับปจจัยอื่นๆ และจะเห็นไดสีใดก็แลวแตบุคคลดวย คาสมดุลยแสงสีขาว WB ที่มีใหเลือกใชในกลอง จะมีคาเทียบเทาอุณหภูมิของแสงดังนี้ สัญลักษณ และความหมาย Auto อัตโนมัติ Incandescent หลอดไฟไสทังสเตน

อุณหภูมิ แสงสี 3500 8000 K 3000 K

Sodium vapor lamps หลอดไฟไอโซเดียม

2700 K

Warm-white fl. หลอดวอรมไวท

3000 K

White fluorescent หลอดไวทฺฟลูออเรสเซนท

3700 K

Cool-white fl หลอดคูลไวท

4200 K

Day white fl หลอดเดยไวท

5000 K

สัญลักษณ และความหมาย Daylight fluorescent หลอดเดยไลท

อุณหภูมิ แสงสี 6500 K

Mercury vapor lamps หลอดไฟไอปรอท

7200 K

Daylight แสงแดดกลางแจง

5200 K

Flash แสงไฟแฟลช

5400 K

Cloudy แสงใตเมฆหมอก

6000 K

Shade แสงในรมชายคา

8000 K

คาปรับแตงคาสมดุลยแสงสีขาว WB Fine tuning ผูใชยังสามารถปรับแตงคาสมดุลยแสงสีขาว WB ที่มีในกลองได เพื่อใหไดสีในภาพที่แมนยํามากขึ้น วิธีการปรับแตง ทําไดโดย เลือกรายการคําสั่ง White balance ในหนา คําสั่งถายภาพ Shooting menu 1. กดแปน 4 ทิศ ขึ้น-ลง เพื่อเลือกคา WB ที่ ตองการปรับแตง หากเลือกหลอดเรืองแสง Fluorescent ใหกด ขวา เพื่อเลือกชนิดของหลอดเรืองแสงดวย 2. กดแปน 4 ทิศ ซาย-ขวา-ขึ้น หรือ ลง เพื่อเลื่อนเปลี่ยนตําแหนงของจุดน้ําหนักสีใน ตารางที่แสดงซายมือในจอ LCD กด ซาย-ขวา ปรับใหน้ําหนักสีสม A-Amber หรือ สีน้ําเงิน B-Blue กด บน-ลาง ปรับใหน้ําหนักสีเขียว G-Green หรือ สีบานเย็น M-Margenta

ตารางในแตละแกนสีจะมีคาหนวยละ 5 mired เทียบเทาคาฟลเตอรชดเชยแกคาสี Correction Compensation filter ที่ใชสําหรับแกไขสีในการถายภาพปกติ เหมือนกับกลองฟลม 3. เมื่อปรับแตงไดตามตองดารแลว กดปุม OK ที่ตรงกลางแปน 4 ทิศ เพื่อออกจาก หนารายการ

การตั้งคาสมดุลยแสงสีขาวโดยใชสีขาวหรือสีเทากลางตั้งคา Preset WB เมื่อใชสภาพแสงถายภาพที่เปนแสงจากแหลงที่ไมทราบแนนอน หรือ สภาพแสงผสมจากหลายแหลง ผูใชสามารถปรับแตงคาสมดุลยแสงสีขาวเองได 2 วิธีดังนี้ Measure วิธีเปรียบเทียบสีโดยตรง วิธีเปรียบเทียบสีโดยตรง โดยการใชวัตถุอางอิง สีขาว หรือ สีเทากลาง ที่อยูใตแหลงแสงที่จะใชถายภาพ Use photo วัดเทียบสีจากภาพถาย โดยการใชภาพที่ถายเก็บในการดความจํา หรือ ใชภาพ NEF (RAW) เทียบสีจากภาพที่มีอยูแลวในการดความจํา

การตั้งคาสมดุลยแสงสีขาวดวยตัวผูใชเอง (White Balance Pre-set)

หมายเหตุ: หากใชรายการคําสั่งเฉพาะที่ 11 โปรแกรมปุมฟงคชั่น ใหใชตั้งคาสมดุลยแสงสีขาวเอาไว ใหกดปุม แชไว 2 วินาที กลองจะเขาสูขั้นตอนที่ 2 ขางบน (คําสั่ง Measure) ไดทันที การใชคา WB จากภาพที่ถายไวแลวในกลอง

1. ในหนารายการคําสั่ง White balance เลือกรายการ PRE : Preset manual เลือกรายการคําสั่ง Use photo แลวกด ขวา เพื่อเขาทํารายการ

2. กลองจะแสดงภาพครั้งกอนที่ถูกเลือกไว หากยังไมไดมีการเลือกไว กลองจะแสดงชอง หนาตางวางเปลา ใชแปน 4 ทิศ เลือกคําสั่ง Select image

3. เลือกโฟรเดอรภาพที่ตองการ แลวกด ขวา เพื่อเปดโฟรเดอรภาพที่ เลือก

4. ใชแปน 4 ทิศ เลือกภาพที่ตองการใชอางอิง กด

เพื่อใชขยายดูภาพที่ตองการ

5. เมื่อเลือกภาพที่ตองการใชอางอิงคา WB ได แลว กด OK ตรงกลางแปนกด 4 ทิศ 1 ครั้ง เพื่อสั่งกอปปคา WB จากภาพเลือกไวไปเก็บ ไวใชอางอิง WB ตอไป

หมายเหตุ: ไฟลภาพที่จะใชสําหรับอางอิงคา WB ได จะตองถายจากกลอง D60 ดวยกันเทานั้น

คําสั่งลดจุดสีรบกวนในภาพ Noise Reduction เมื่อใชคาความไวแสง ISO สูงๆ หรือ เปดมานชัตเตอรนานเกินกวา 8 วินาที ภาพที่ไดอาจจะมีจุดสีรบกวน Noise ขึ้นเปนหยอมๆ หรือ จุดลายๆ ในภาพถายได ผูใชสามารถใชคําสั่ง Noise reduction ชวยลดจุดสีรบกวนในภาพไดดังนี้ OFF ปด ไมใชงาน (default) * ระบบชวยลดจุดสีรบกวนในภาพ Noise Reduction จะถูกปดไมใชงานที่คาความไวแสง ISO 800 หรือต่ํากวา หากผูใชตั้งคาความไวแสง ISO สูงกวา 800 กลองจะชวยปรับลดจุดสีรบกวนเพียงเล็กนอยเทานั้น

(* Default คาปริยายที่ถูกตั้งมาจากโรงงาน)

On เปด ใชงาน เมื่อใชคาความไวแสง ISO 400 หรือสูงกวา หรือ เปดมานชัตเตอรนานเกินกวา 8 วินาที กลองจะใชระบบลดจุดสีรบกวนในภาพ Noise Reduction ชวยลดอาการนี้ในภาพโดยอัตโนมัติ ในขณะที่กลองใชระบบลดจุดสีรบกวน ความเร็วถายภาพ และจํานวนที่สามารถถายภาพตอเนื่องจะลดลง และจะแสดงเครื่องหมาย กระพริบเตือนในชองมองภาพ นานเทาที่มานชัตเตอรเปดอยู นี้ใหหายไปกอน จึงจะเริ่มถายภาพตอไปได ผูใชตองรอจนกวาเครื่องหมาย หากปดสวิทชกลอง Off ในระหวางที่เครื่องหมาย กระพริบอยู กลองจะปดและยกเลิก-และปดการทํางานของระบบลดจุดสีรบกวนทันที ทําใหภาพไมไดผานการกําจัดจุดสีเหลานี้อยางสมบูรณ

คําสั่งตัง ้ คาความไวแสงอัตโนมัติ ISO Auto รายการคําสัง่ เฉพาะที่ 10 คําสั่งคาความไวแสงอัตโนมัติ (Auto ISO) จะทําใหกลองปรับคาความไวแสง ISO เพิ่มขึ้นใหเองในสภาพที่มีแสงถายภาพนอยๆ ผูใชสามารถเลือกใชคําสั่ง ปรับคาความไวแสงอัตโนมัติ (Auto ISO) นี้ไดในโหมดชวยถายภาพ P, S, A, M

OFF ปด ไมใชงาน (default) * คาความไวแสง ISO จะอยูคงที่ ไมมีการเปลี่ยนแปลง ตามทีผูใชกําหนดไวเทานั้น On เปด ใชงาน กลองจะปรับคาความไวแสง ISO เพิ่มขึ้นใหเองในสภาพที่มีแสงถายภาพนอย และจะปรับกําลังแสงแฟลช ที่เหมาะสมใหดวยเชนกัน Max. sensitivity คาความไวแสง ISO สูงสุด กลองจะปรับคาความไวแสง ISO เพิ่มขึ้นใหเองในสภาพที่มีแสงถายภาพนอย แตจะไมเกินกวาคา ISO ตามที ผูใชกําหนดไว เพื่อปองกันไมใหกลองใช ISO สูงเกินไปกวาที่ผูใชกําหนด Min. shutter speed คาความเร็วชัตเตอรต่ําสุด ใชกับโหมดชวยถายภาพ P และ A โดยผูใขตั้งกําหนดคาความเร็วชัตเตอรต่ําสุดไว กลองจะปรับเปลี่ยนคาไวแสง ISO ใหสูงขึ้น เพื่อไมใหความเร็วชัตเตอรต่ํากวาที่ผูใชตั้งกําหนดไว แตหากเมื่อกลองปรับไปใชคาความไวแสง ISO สูงสุดแลว แตความเร็วชัตเตอรสําหรับคาแสงที่วัดไดยังต่ํากวาที่ ผูใชกําหนดไว กลองก็จะใชความเร็วชัตเตอรจากคาแสงที่วัดได (ต่ํากวา) ถายภาพนั้น

เมื่อเลือกใช คําสั่ง ISO Auto จะแสดงบนจอ LCD และในชองมองภาพ

คําสั่งกําหนดการทํางานของปุมฟงคชั่น Function รายการคําสั่งเฉพาะที่ 11 ผูใชสามารถเลือกกําหนดหนาที่ปุมฟงคชั่น ในรายการดังนี้

ใหทําหนาที่ได 1 อยาง

Seif-timer เลือกนับเวลาถอยหลัง (default) * ปุมฟงคชั่น ใหใชเปนปุมนับเวลาถอยหลัง (* Default คาปริยายที่ถูกตั้งมาจากโรงงาน) Release mode เลือกโหมดการลั่นชัตเตอรถายภาพ กดปุมฟงคชั่น และหมุนแหวนควบคุม เลือกโหมดลั่นชัตเตอรเดี่ยวทีละภาพหรือถายภาพตอเนื่อง Image quality/size กําหนดชนิดไฟลภาพและขนาดของภาพ กดปุมฟงคชั่น และหมุนแหวนควบคุม ตั้งชนิดของไฟลภาพและขนาดของภาพ Sensitivity กําหนดคาความไวแสง ISO กดปุมฟงคชั่น และหมุนแหวนควบคุม ปรับคาความไวแสง ISO White balance กําหนดคาสมดุลยสข ี าว กดปุมฟงคชั่น และหมุนแหวนควบคุม ตั้งคาสมดุลยสีขาว WB (ใชไดเฉพาะในโหมด P, S, A และ M)

รายการคําสั่งเฉพาะที่ 12 ผูใชกําหนดหนาที่ปุม

ทํางานอยางไร

AE/AF lock (default) * กดปุม จะล็อคคาวัดแสงและระยะโฟกัส นานเทาที่กดแชคาไว (* Default คาปริยายที่ถูกตั้งมาจากโรงงาน) AE lock only กดปุม จะล็อคเฉพาะคาวัดแสง นานเทาที่กดแชคาไว (ระยะโฟกัสจะไมถูกล็อค) AF lock only จะล็อคเฉพาะระยะโฟกัส นานเทาที่กดแชคาไว (คาวัดแสงจะไมถูกล็อค) กดปุม AE lock hold กดปุม ล็อคคาวัดแสงไวจนกวาจะถูกปลดล็อคโดยการกด ปุม เตอร หรือ เมื่อระบบวัดแสงถูกปดโดยอัตโนมัติตามที่ตั้งเวลาไว

อีกเปนครั้งที่สอง, หรือเมื่อกดปุมลั่นชัต

AF-ON กดปุม เพื่อสั่งใหกลองหาโฟกัส แทนการแตะกดปุมลั่นชัตเตอรครึ่งทาง

รายการคําสั่งเฉพาะที่ 14 คําสั่งแฟลชกลองและแฟลชภายนอก Built-in Flash/Optional Flash Unit คําสั่งควบคุมแฟลชหัวกลองและแฟลชภายนอก (ใชไดเฉพาะในโหมด P, S, A และ M) หากใชรวมกับแฟลช SB-400 คําสั่ง Built-in Flash จะเปลี่ยนเปน Optional Flash Unit TTL แฟลชอัตโนมัติแบบ TTL (default) * แฟลชอัตโนมัติ กลองจะปรับกําลังแสงแฟลชตามสภาพแวดลอมใหโดยอัตโนมัติ (* Default คาถูกตั้งมาจากโรงงาน) Manual แฟลชแมนนวล แฟลชแมนนวล ผูใชปรับอัตรากําลัง ของแสงแฟลชเองตามที่ตองการ โดยมีกําลังแฟลชสูงสุด (Full power) ที่ไกดนัมเบอร 13/43 (ม./ฟุต) ที่ ISO 100

เมื่อผูใชตั้งแฟลชในโหมด Manual แฟลชแมนนวล กลองจะแสดงเครื่องหมาย กระพริบเตือน ในจอ LCD และ ในชองมองภาพ

รายการคําสั่งเฉพาะที่ 18 Date Imprint คําสั่งพิมพวันที่ลงไปในภาพถาย สําหรับผูใชที่ตองการใหมีวันเวลาที่ถายภาพ ปรากฏในภาพถาย OFF ปด ไมใชงาน (default) * ปดระบบพิมพวันที่ ผูใชไมตองการพิมพวันที่ลงในภาพ Date พิมพวน ั ที่ คําสั่งพิมพวน ั ที่ ลงตรงที่มุมขวามือ ดานลางในภาพ Date and time พิมพ วันที่และเวลา คําสั่งพิมพวน ั ที่ และ เวลา ลงตรงที่มุมขวามือ ดานลางในภาพ Date counter พิมพ จํานวนวัน คําสั่งพิมพจาํ นวนวัน ชวงระหวางวันที่ถายภาพ และวันที่ผูใชกําหนด ลงตรงที่มุมขวามือ ดานลางในภาพ เมื่อผูใชเปดใชระบบพิมพวันที่ลงในภาพ กลองจะแสดงเครื่องหมาย

ในจอ LCD

หมายเหตุ: การใชคําสั่งพิมพวันที่ลงในภาพ Date Imprint • วันที่ที่ถูกพิมพลงในภาพจะอยูอยางถาวรและ ไมสามารถลบออกไปทีหลังได • ผูใชสามารถเลือกรูปแบบวันที่ที่พิมพแสดงได ในรายการคําสั่ง Date • คําสั่งพิมพวันที่จะใชไมไดหากไฟลภาพที่บันทึกภาพเปนแบบ RAW หรือ RAW+B • เมื่อใชเครื่องพิมพภาพแบบมาตรฐาน DPOF ผูใชสามารถสั่งพิมพวันที่ลงในภาพที่พิมพ ดวยคําสั่ง Print set โดยไมตองใชคําสั่ง Date imprint ในกลองก็ได

คําสั่งบันทึกจํานวนวัน Date Counter คําสั่งพิมพจาํ นวนวัน ในชวงระหวางวันที่ถายภาพ และ วันที่ผูใชกําหนด โดยสามารถกําหนดใหบันทึกจํานวน วันที่กําลังจะมาถึง เชนนับจํานวนกอนที่จะถึงวัน แตงงาน หรือ นับจํานวนวันที่ผานมาแลว เชน นับ จํานวนวันจากวันแรกเกิดวาผานมาแลวกี่วัน เพื่อบันทึก ความเจริญเติบโตของเด็กเล็ก เชนตั้งวันที่ 23/04/2008 ผูใชสามารถเลือกกําหนดวันที่ตองการจะนับได 3 ชุด ผูใชสามารถเลือกใหกลองแสดงรูปแบบได 3 แบบ Number of days : แสดงจํานวนวัน Years and days : แสดงจํานวนป และ วัน Years, months and days : แสดงจํานวน ป เดือน วัน

จํานวนวันที่ถูกสั่งใหนับจะถูกพิมพลงตรงที่มุมขวามือ ดานลางในภาพ

เชน อีก 2 วันก็จะถึงวันที่กําหนดนัดไว

หรือ ผานมาได 2 วันแลว (25/04)

การใชชุดรายการคําสั่งแตงภาพในกลอง Retouch Menu ชุดรายการคําสั่งแตงภาพ Retuouch menu ใชสําหรับ ตัด (cropped), ลดขนาดภาพ (resized) หรือ แตงภาพ (retouch) รวมทั้งใชแปลงไฟลภาพจากไฟลแบบ NEF (RAW) ที่บันทึกไวในการดความจํา ใหเปนไฟลภาพแบบ JPEG เพื่อความสะดวกในการพิมพภาพอีกดวย

Quick retouch ตัดแตงภาพอยางรวดเร็ว สรางสําเนาไฟลภาพ โดยใหภาพใหมมีคาคอนทราส contrast และความอิ่มเขมสี color saturation มากขึ้น D-Lighting เพิ่มความสวางในภาพที่ถายยอนแสง เพิ่มความสวางในบริเวณที่เปนเงามืด เสมือนใชแสงแฟลช เมื่อถายภาพยอนแสง Red-eye correction แกไขอาการตาแดงจากแสงแฟลช แกไขอาการตาแดงของตัวแบบในภาพจากแสงแฟลช Trim ตัดขอบเพื่อลดขนาดภาพ ตัดขอบภาพทิ้งบางสวนเพื่อชวยเนนสวนที่ตองการในภาพ Monochrome ทําใหเปนภาพโมโนโครม สรางสําเนาไฟลภาพขึ้นโดยใหเปนภาพสีโทนเดี่ยว เชน ขาว-ดํา, ซีเปย sepia, หรือ ภาพยอมสี cyanotype Filter effects ฟลเตอรเสมือน สรางสําเนาไฟลภาพขึ้นโดยใหเปนภาพที่เสมือนใชฟลเตอรแบบตางๆถายภาพตนฉบับนั้น Small picture ลดขนาดของภาพ ลดขนาดของภาพใหมีขนาดเล็กเพื่อสะดวกในการสงเมล Image overlay การซอนภาพ สําหรับซอนภาพไฟล 2 ภาพใหซอนทับกับกลายเปนภาพใหม (ใชไดเฉพาะกับําฟล NEF เทานั้น) NEF (RAW) processing การแปลงไฟลภาพ คําสั่งแปลงไฟล NEF ใหเปนไฟลภาพแบบ JPEG Stop-motion movie แปลงภาพนิ่งใหเปนภาพยนตสั้น แปลงชุดภาพนิ่งใหเปนภาพยนตสั้น Before and after เปรียบเทียบกอนและหลัง เปรียบเทียบภาพตนฉบับกอนและหลัง การตัดแตง Retouch

วิธีใชคําสั่งปรับแตงภาพ Retouch ผานทางปุม Menu 1. กดปุม Menu เพื่อเลือกหนารายการ แลวกดแปน 4 ทิศ เพื่อเลือกทํารายการคําสั่ง Retouch menu

2. กดแปน 4 ทิศ ขึ้น-ลง เลือกรายการคําสั่งที่ตองการ

3. กดแปน 4 ทิศ ไปทางขวา เพื่อเขาทํารายการนั้น กลองจะแสดงภาพที่บันทึกในการดความจําให เลือก

4. กดแปน 4 ทิศ ซาย-ขวา-ขึ้น-ลง เพื่อเลือกภาพที่จะถูกใชคําสั่งแตง Retouch นั้น หากไมแนใจ กดปุม เลือกแตงภาพก็ได

เพื่อซูมขยายดูภาพที่จะ

5. เมื่อเลือกภาพที่ตองการแตง retouch ไดแลว กด OK ตรงกลางแปน 4 ทิศ กลองจะแตงภาพใหเปนไปตามคําสั่งแตงภาพ retouch ที่เลือกไว พรอมกับแสดงขอความกํากับ กด OK เพื่อยืนยันใหสรางไฟลภาพใหมที่ถูกแตง ภาพเก็บไวในการด หรือ กด เพื่อยกเลิกการ จัดเก็บภาพที่สรางใหมนั้น

วิธีใชคําสั่งปรับแตงภาพรวดเร็ว Quick retouch ขณะที่กลองกําลังแสดงภาพที่เพิ่งถาย ในขณะที่กลองกําลังแสดงภาพ Playback ภาพที่เพิ่งถาย ผูใชสามารถเรียกใชคําสั่งแตงภาพนั้นไดเลยเชนกัน 1. กดปุม Playback กลองจะแสดงภาพลาสุดที่ ถายเก็บไวในการด กดแปน 4 ทิศ ซาย-ขวาเพื่อเลือกภาพกอนหลัง ภาพที่แสดงอยู

2. กด OK ตรงกลางแปน 4 ทิศ กลองจะกระโดดไปที่หนาเมนูรายการตัดแตงภาพ อยางรวดเร็ว Quick retouch

3. กดแปน 4 ทิศ ขึ้น-ลง เพื่อเลือกคําสั่งแตงภาพ Retouch ที่ตองการ (คําสั่งซอนภาพ Image overlay จะใชไมไดกับ ชุดรายการ Quick retouch นี้)

4. กดแปน 4 ทิศ ไปทางขวา เพื่อเลือกใชคําสั่งแตง ภาพในรายการที่เลือกไวจากขอ 3. กลองจะตัดแตงภาพใหเปนไปตามคําสั่งแตงภาพ retouch ที่เลือกไว พรอมกับแสดงขอความกํากับ แลวจัดเก็บไวในการดความจําใหเอง หากไมแนใจ กดปุม นั้นก็ได

เพื่อยกเลิกการแตงภาพ

หมายเหตุ: • คําสั่งปรับแตงจะไมสามารถใชซ้ําๆกันใน 1 ภาพได (1 คําสั่ง ตอ 1 ภาพ เทานั้น) • คําสั่งรายการปรับแตง Retouch (ยกเวนแตคําสั่งลดขนาด resize เทานั้น) หากทําซอนกับไฟลภาพที่ถูก ทําการตัดแตงอื่นๆมาแลว คุณภาพของภาพจะลดลงไปดวย • คําสั่งแปลงไฟลภาพ ที่ใชกับไฟล RAW จะสรางสําเนาไฟลภาพแบบ JPEG Fine ที่ขนาด 3872 x 2592 • คําสั่งการลดขนาดภาพ resize จะสรางสําเนาไฟลภาพแบบ JPEG Fine (อัตราสวนบีบอัด 1 ตอ 4) • คําสั่งซอนภาพ Image overlay จะสรางสําเนาไฟลแบบ JPEG ที่มีขนาดและอัตราบีบอัดเทาที่ตั้งไว กอน ทําการซอนภาพ

วิธีใชคําสั่ง D-Lighting เพิ่มความสวางในภาพที่ถายยอนแสง เพิ่มความสวางในบริเวณที่เปนเงามืด เสมือนใชแสงแฟลช เมื่อภาพที่ถายมานั้นยอนแสง

1. กดปุม Playback กลองจะแสดงภาพทีตองการ เปรียบเทียบลาสุดที่ถายเก็บไวในการด กดแปน 4 ทิศ ซาย-ขวาเพื่อเลือกภาพที่ตองการ

2. กด OK ตรงกลางแปน 4 ทิศ กลองจะกระโดดไปที่หนาเมนูรายการตัดแตงภาพ อยางรวดเร็ว Quick retouch กด ขึ้น-ลง เลือกรายการคําสั่ง D-Lighting แลวกด OK 3. กลองจะแสดงภาพตนฉบับทางซายมือ และแสดงภาพที่แกไขดวยคําสั่ง D-Lighting ดานขวา ผูใชสามารถเลือกปรับเพิ่มความสวางในภาพได 3 ระดับคือ High สวางมาก, Normal ปกติ, Low สวาง เล็กนอย หากไมแนใจ กดปุม ตรวจดูภาพก็ได

เพื่อซูมขยายดูภาพที่จะเลือก

เมื่อเลือกใชคําสั่ง High, Normal หรือ Low แลว กด OK เพื่อยืนยันใหแปลงไฟลภาพเก็บลงไวในการด

วิธีใชคําสั่งฟลเตอรเสมือน Filter Effect ใชสําหรับแตงภาพ ทําใหไดภาพใหมที่เสมือนใช ฟลเตอรแบบตางๆดังตอไปนี้

Skylight ฟลเตอรสกายไลท ทําใหภาพเสมือนใชฟลเตอรสีอมชมพู (skylight) ลดโทนสีน้ําเงินในภาพลง Warm filter วอรมฟลเตอร ทําใหโทนภาพดูอบอุนขึ้น เสมือนใชฟลเตอรสีสมแดง (skylight) เพิ่มโทนสีแดงในภาพ Red intensifier เนนสีแดง เนนเฉพาะบริเวณสีแดงในภาพ โดยไมกระทบตอสีอื่นๆใหผิดเพี้ยนไป Green intensifier เนนสีเขียว เนนเฉพาะบริเวณสีเขียวในภาพ โดยไมกระทบตอสีอื่นๆใหผิดเพี้ยนไป Blue intensifier เนนสีน้ําเงิน เนนเฉพาะบริเวณสีน้ําเงินในภาพ โดยไมกระทบตอสีอื่นๆใหผิดเพี้ยนไป Cross screen ฟลเตอรประกายดาว ทําใหเกิดแฉกประกายดาวรอบๆจุดที่สวางในภาพ ผูใช สามารถเลือกกําหนดใหสราง

1. Number of points: เลือกสรางแฉกดาวได 4, 6, 8 แฉก 2. Filter amount: เลือกความหนาแนนของดาวได 3 ระดับ 3. Filter angle: เลือกมุมเอียงของประกายแฉกดาวได 3 ระดับ 4. Length of points: เลือกความยาวของปรักายแฉกดาวได 3 ระดับ

เมื่อกําหนดคาตางๆตามที่ตองการไดแลว กดแปน 4 ทิศ เลือก Confirm เพื่อใหกลองทําคําสั่ง กลองจะแสดงภาพที่สรางแฉกประกายดาวแสดงใหเห็น หากตองการเซฟไฟลภาพที่สรางขึ้นใหมนี้ลงในการด ใชแปน 4 ทิศ กดเลือก Save และกด OK หากไมแนใจ กดปุม เพื่อยกเลิกการแตงภาพนั้นก็ได

ภาพตัวอยางการใชคําสั่งสรางแฉกประกายดาวในภาพ

Color balance การแตงโทนสีของภาพ เลือกใชคําสั่ง Color balance นี้ เมื่อตองการแตงโทนสีของภาพ เมื่อเลือกใชคําสั่ง Color balance กลองจะแสดงภาพ และ ฮิสโตแกรม Histogram ทั้ง 3 (แดง, เขียว, น้ําเงิน) กดแปน 4 ทิศ : ซาย-ขวา-ขึ้น-ลง เพื่อปรับแตงโทนสีในภาพ ใหเพิ่มหรือลดโทนสีที่ตองการ

หากตองการเซฟไฟลภาพที่สรางขึ้นใหมนี้ลงในการด กด OK ตรงกลางแปน 4 ทิศ หากไมแนใจ กดปุม เพื่อยกเลิกการแตงโทนสีภาพนั้นก็ได

วิธีใชคําสั่งทําภาพซอน Image overlay ใชภาพ NEF (RAW) 2 ภาพที่บันทึกไวแลวในการดความจํา 2 ซอนทับกันสรางเปนสรางสําเนาไฟลแบบ JPEG ใหตั้งขนาดภาพไฟล (Large, Medium, Small) และคุณภาพ (Fine, Normal, Basic) ของภาพใหมกอนที่จะใช คําสั่งซอนภาพ ไฟลภาพใหมที่ถูกสรางขึ้นจะถูกบันทึกเก็บไวในการดความจําดวยเชนกัน

วิธีใชคําสั่งการแปลงไฟลภาพ NEF (RAW) processing คําสั่งแปลงไฟล NEF ที่ตองการใหเปนไฟลภาพแบบ JPEG สําหรับใชอัดพิมพภาพ 1. เมื่อเลือกคําสั่ง NEF (RAW ) processing จาก หนาชุดรายการคําสั่งแตงภาพ Retouch menu กดเแปน 4 ทิศ ขวาพื่อเขาทํารายการนั้น กลองจะแสดงไฟลภาพแบบ NEF ที่บันทึกใน การดความจําใหเลือก 2. กดแปน 4 ทิศ ซาย-ขวา-ขึ้น-ลง เพื่อเลือกภาพที่จะตองการจะแปลงใหเปนไฟล ภาพแบบ JPEG หากไมแนใจ กดปุม เลือกตรวจดูภาพก็ได

เพื่อซูมขยายดูภาพที่จะ

เมื่อเลือกภาพ NEF ที่ตองการแปลงเปน JPEG ได แลว กด OK ตรงกลางแปน 4 ทิศ 3. กลองจะแสดงตารางคําสั่งยอยใหแปลงเปนไฟล ภาพ JPEG ตามแบบที่ตองการไดดังนี้ Image quality: เลือกคุณภาพของไฟลภาพ JPEG fine, JPEG normal, หรือ JPEG basic Image size: เลือกขนาดของกรอบภาพ (large), x (medium), หรือ (small) White balance: เลือกคาความสมุดลยสีขาว Exposure comp.: เลือกคาชดเชยแสง +/- 3 Optimize image: เลือกการปรับแตงภาพ N - Natural, So-Soft, Vi - Vivid ฯลฯ

เมื่อเลือกใชคําสั่งแปลงภาพเสร็จแลว เลือก EXE แลวกด OK เพื่อยืนยันใหแปลงไฟล ภาพเก็บลงไวในการด หรือ กด เพื่อยกเลิก การแปลงไฟลภาพนั้น

หมายเหตุ: การแปลงไฟลภาพ NEF (RAW) ใหเปน JPEG • กลอง D60 สามารถแปลงไฟลภาพ NEF ที่ถายจากกลอง D60 รุนเดียวกันเทานั้น • คาสมดุลยสีขาวแบบผูใชวัดเอง (White balance>Preset manual) จะใชไดเฉพาะกับไฟลภาพที่ใชคา สมดุลยสีขาวแบบ Preset manual เหมือนกันเทานั้น • คาสมดุลยสีขาว จะไมสามารถเลือกใชได หากภาพนั้นเปนภาพซอนที่สรางจากคําสั่ง Image overlay • คําสั่งตั้งคาชดเชยแสงจะใชไมได หากใชระบบเพิ่มแสง Active D-Lighting ในภาพนั้นไปแลว • คําสั่งตั้งคา WB และ Optimize image จะใชไมไดหากใชโหมดถายภาพดิจิตอล

วิธีใชคําสั่ง Stop-motion movie แปลงภาพนิ่งใหเปนภาพยนตสั้น ใชสําหรับแปลงชุดภาพนิ่งที่ถายติดตอกัน ทําเปนเปนภาพยนตสั้นๆ 1. เมื่อเลือกคําสั่ง Stop-motion movie จากหนาชุด รายการคําสัง่ แตงภาพ Retouch menu กลองจะแสดงคําสั่งยอยดังนี้ Create movie: เริ่มสรางภาพยนตสั้น เลือกชุดภาพที่จะใชเรียงติดตอกัน Frame size: ขนาดของภาพที่จะใชแสดง เลือกขนาดของภาพที่จะใชแสดง 640 x 480, 320 x 240, หรือ 160 x 120 Frame rate: ความเร็วภาพ เลือกความเร็วที่จะใชแสดง 15 fps, 10 fps, 6 fps, หรือ 3 fps (fps = เฟรมภาพ ตอ วินาที ) กดเแปน 4 ทิศ ขวาพื่อเขาทํารายการ Create movie แลวกดตรงกลาง OK เริ่มสรางภาพยนต กลองจะแสดงไฟลภาพที่บันทึกในการดความจํา 2. กดแปน 4 ทิศ ซาย-ขวา-ขึ้น-ลง เมื่อเลือกภาพแรกที่จะใชสรางภาพยนต กด OK ภาพแรกที่ถูกเลือกจะมีคําวา Start แสดงกํากับในภาพ

3. กดแปน 4 ทิศแชคาไว เพื่อเลือกภาพตอไป ตามลําดับ เมื่อถึงภาพสุดทาย ใหปลอยนิ้วที่กดแชคาไว ภาพสุดทายที่แสดงจะมีคําวา End กํากับไว ลําดับภาพที่จะใชแสดงจะมีสัญลักษณ 9แสดงไว และแสดงตามลําดับที่เลือกไวในแถวดานลาง (ในชุดลําดับภาพจะมีไดไมเกิน 100 ภาพ)

4. เมื่อเลือกลําดับภาพเสร็จแลว เลือก Save แลวกด OK เพื่อยืนยันคําสั่งใหกลองสราง ไฟลภาพยนตเก็บลงไวในการด

5. หากตองการตัดภาพออกบางภาพเลือก Edit เพื่อตัด ตอไฟลภาพยนตที่สรางนั้น เลือก Starting image เพื่อเปลี่ยนภาพแรก เลือก Middle image เพื่อตัดภาพในชุดลําดับภาพ เลือก End image เพื่อเปลี่ยนภาพสุดทาย หากตองการยกเลิกการตัดตอภาพใหเลือก Cancel

6. ใชคําสั่ง Save เพื่อสั่งใหกลองสรางไฟลภาพยนตสั้น เก็บไวในการดความจํา คําสั่ง Preview ใชเรียกดูภาพยนตที่สรางไว คําสั่ง Frame rate ใชกําหนดความเร็วในการแสดงที่กี่ ภาพตอวินาที คําสั่ง Edit ใชสําหรับตัดตอลําดับภาพใหมอีกครั้ง

หมายเหตุ: Stop-Motion Movies • ภาพถายจากกลองอื่นๆที่ไมใช D60 หรือภาพทีส ่ รางจากคําสั่งตัด Trim หรือ คําสั่งยอขนาด Resize จะไม สามารถใชสรางเปนไฟลภาพยนตสั้นได • ผูใชสามารถเรียกดูไฟลภาพยนตสั้น ไดจากการใชคําสั่ง Playback ตามปกติ โดยไฟลภาพยนตสั้นจะมี กํากับชี้แสดงไว เครื่องหมาย • ไฟลภาพยนตสั้นจะใชชื่อไฟลนําดวย ASC ตามดวยหมายเลขลําดับ 0001 และลงทาย .AVI เชน ASC_0001.AVI

วิธีใชคําสั่ง Before and after เปรียบเทียบภาพตนฉบับกอนและหลังทําการแตงภาพ (retouch) ใชสําหรับเปรียบเทียบภาพตนฉบับกอนการแตงภาพและหลังจากที่ทําการแตงภาพแลว วาจะใหผลอยางไร คําสั่ง Before and after นี้จะใชไดเฉพาะกับภาพตนฉบบ และ ไฟลภาพที่ Retuoch แลวเทานั้น และจะใชไมไดกับเปรียบเทียบไฟลภาพถาย 2 ภาพที่ถายทีละครั้งไมได 1. กดปุม Playback กลองจะแสดงภาพที ตองการเปรียบเทียบลาสุดที่ถายเก็บไวในการด กดแปน 4 ทิศ ซาย-ขวาเพื่อเลือกภาพกอนหลัง ภาพที่แสดงอยู 2. กด OK ตรงกลางแปน 4 ทิศ กลองจะกระโดดไปที่หนาเมนูรายการตัดแตง ภาพอยางรวดเร็ว Quick retouch

3. กดแปน 4 ทิศ ขึ้น-ลง เพื่อเลือกคําสั่งแตงภาพ Before and after คําสั่ง Before and after จะใชไดเฉพาะกับภาพ ตนฉบบ และ ไฟลภาพที่ Retuoch แลวเทานั้น คําสั่งนี้จะใชกับไฟลภาพถาย 2 ภาพไมได 4. กลองจะแสดงภาพตนฉบับ ทางดานซาย และ ภาพที่ตัดแตง Retouch ทางดานขวามือ พรอมกับแสดงขอความคําสั่งที่ใชแตงภาพนั้น หากตองการดูภาพขยายใหกด ซาย-ขวา เพื่อ เลือกภาพ แลวกดปุม เพื่อซูมขยายดูภาพ ที่จะเลือกตรวจดูภาพก็ได หากมีไฟลภาพที่ถูกแตงหลายครั้ง ใหกด ขึ้นลง เพื่อดูภาพที่แตงดวยคําสั่งอื่นๆ หากภาพที่ดูถูกสรางขึ้นจากการใชคําสั่งทําภาพซอน Image overlay กดขึ้น-ลง เพื่อดูภาพที่ใชทําภาพซอนกัน กด OK ตรงกลางแปน 4 ทิศ เพื่อออกจากคําสั่งเปรียบเทียบภาพ และใหกลองแสดงภาพถายปกติ

อุปกรณเสริมชวยการถายภาพแบบตางๆ (Optional Accessories)

เลนสถายภาพสําหรับกลอง D60 กลอง D60 มีระบบหาโฟกัสอัตโนมัติจะใชไดกับเลนสที่มีมอเตอรไฟฟาภายในไดแกรุน AF-I และ AF-S เทานั้น เลนสที่มี CPU แตไมมีมอเตอรไฟฟาภายในจะใชไดโดยการหาโฟกัสดวยมือเทานั้น เลนสที่มี CPU จะดูไดจากปุมสัมผัสขัว้ ไฟฟาที่อยูท  ายเลนส เลนสรุน AF-I และ AF-S จะมีอักษร "AF-I" และ "AF-S" เขียนนําหนาที่ที่ปายชื่อบนกระบอกเลนส เลนส CPU แบบ IX (ใชกับกลองฟลม APS รุน Pronea) จะไมสามารถใชงานกับกลอง D40 ได ตารางแสดง เลนสที่ใชได กับ ระบบตางๆของกลองมีดังนี้

คําอธิบาย 1. วัดแสงเฉพาะจุด จะอยูตรงกลางกรอบโฟกัสที่เลือกใช 2. ระบบวัดคาแสง และ คาแสงแฟลช จะทํางานไมถูกตอง เมื่อใชกับเลนสแบบปรับองศาภาพ (Shifting and Tilting) หรือเมื่อใชคารูรับแสงอื่นๆ ที่ไมใชคารูรับแสงกวางสุด 3. ไฟยืนยันระยะโฟกัสในชองมองภาพ ใชไมไดกับเลนส แบบปรับองศาภาพ (Shifting and Tilting) 4. ใชไดกับเลนสรุนดังตอไปนี้ • AF-S VR Micro ED: 105mm f/2.8G IF (autofocus not supported) • AF-S VR ED: 70–200mm f/2.8G IF, 200mm f/2G IF, 300mm f/2.8G IF, 200–400mm f/4G IF • AF-S ED: 80–200mm f/2.8D IF, 300mm f/2.8D II IF, 300mm f/2.8D IF, 300mm f/4D IF*, 400mm f/2.8D II IF, 400mm f/2.8D IF, 500mm f/4D II IF*, 500mm f/4D IF*, 600mm f/4D II IF*, 600mm f/4D IF* • AF-I ED: 300mm f/2.8D IF, 400mm f/2.8D IF, 500mm f/4D IF*, 600mm f/4D IF* * ระบบโฟกัสอัตโนมัติ Autofocus ใชไมได 5. ใชกับระบบเลนสที่ทําใหมีคารูรับแสงจริง (Effective Aperture) อยางต่ํา F/ 5.6 6. หากใชกับเลนส AF 80–200 mm f/2.8, AF 35–70 mm f/2.8, AF 28–85 mm f/3.5–4.5, หรือ AF 28–85 mm f/3.5–4.5 ขณะที่ซูมภาพที่ระยะโฟกัสใกลสุด ภาพในชองมองภาพอาจจะปรากฏไมคมชัดทั้งๆที่กลองแสดงวาโฟกัสไดแลว ใหใชการปรับโฟกัสดวยมือ และใชภาพในชองมองภาพในการปรับโฟกัสแทน 7. ใชไดกับเลนสที่มีคารูรับแสงอยางนอย F/ 5.6

เลนสและอุปกรณ ที่ไมสามารถใชกับกลอง D60 มีดังตอไปนี้ • เลนสแบบ Non-AI • เลนสเสริม TC-16A (AF) • เลนสแบบที่ตองใชหนวยโฟกัส AU-1 (400 mm f/4.5, 600 mm f/5.6, 800 mm f/8, 1200 mm f/11) • เลนสตาปลา Fisheye (6 mm f/5.6, 8 mm f/8, OP 10 mm f/5.6) • เลนส 21 mm f/4 (รุนเกา) • แหวน K2 • เลนส ED 180–600 mm f/8 (หมายเลขที่ 174041–174180) • เลนส ED 360–1200 mm f/11 (หมายเลขที่ 174031–174127) • เลนส 200–600 mm f/9.5 (หมายเลขที่ 280001–300490) • เลนส สําหรับกลอง F3AF (80 mm f/2.8, 200 mm f/3.5, เลนสเสริม TC-16 Teleconverter) • เลนส PC 28 mm f/4 (หมายเลขที่ 180900 หรือกอนหนานี้) • เลนส PC 35 mm f/2.8 (หมายเลขที่ 851001–906200) • เลนส PC 35 mm f/3.5 (รุนเกา) • เลนสกระจกเงาสะทอน 1000 mm f/6.3 Reflex (รุนเกา) • เลนสกระจกเงาสะทอน 1000 mm f/11 Reflex (หมายเลขที่ 142361–143000) • เลนสกระจกเงาสะทอน 2000 mm f/11 Reflex (หมายเลขที่ 200111–200310) เลนสแบบมีขั้วไฟฟา CPU และ แบบ Type G และ แบบ Type D

การใชคําสั่ง Non-Cpu Lens Data ในชุดรายการคําสั่งถายภาพ Shooting Menu เมื่อใชรายการคําสั่ง Non CPU Lens Data ทําการปอนคาทางยาวโฟกัส และ คารูรับแสงกวางสุดของเลนส ก็จะทําใหเลนสที่ไมมีหนวย CPU ทํางานไดเสมือนเปนเลนสแบบมีหนวย CPU หากผูใชไมใสปอนคาเลนสใหกับกลอง ระบบวัดแสงสีแบบมาตริกซเฉลี่ยทั้งภาพ Color Matrix Metering จะใช งานไมได และหากตั้งระบบวัดแสงไวที่มาตริกซ กลองจะเปลี่ยนไปใชระบบวัดแสงแบบเฉลี่ยหนักกลางแทน ทันที เลนสที่ไมมีหนวย CPU จะใชไดกับโหมดชวยถายภาพ A-Aperture และ M-Manual เทานั้น การปรับคารูรับแสงทําไดโดยปรับที่แหวนปรับคารูรับแสงทายเลนส หากผูใชไมระบุคารูรับแสงในรายการคําสั่ง Non-Cpu Lens Data กลองจะแสดงจํานวนคาสตอปจากที่เปดจาก คารูรับแสงกวางสุดแทน คารูรับแสงที่ใชจริงจะดูไดจากที่แหวนปรับคารูรับแสงที่ดานทายเลนสเทานั้น หากผูใชโหมดชวยถายภาพ P-Programmed หรือ S Shutter Speed กลองจะเปลี่ยนไปใชโหมดชวยถายภาพ A-Aperture และในจอ LCD ที่แสดงโหมดชวยถายภาพจะวาง แตมีตัว A แสดงในชองมองภาพ

การใชแฟลชภายนอก กอนใชแฟลชภายนอก ใหถอดฝาปดชองใสแฟลชออกกอนตามภาพ

กลอง D60 ใชระบบแฟลช i-TTL และสนับสุนการทํางานระบบ CLS กับแฟลช SB-400, SB-600, SB-800 รวมทั้งหนวยสั่งงาน SU-800 และแฟลชระยะใกล SB-R200 ดังนี้

1. ใชไดเฉพาะเมื่อใชหนวยแฟลช SU-800 เปนตัวบัญชาการสั่งงาน 2. ใชไดกับเลนส CPU เทานั้น 3. หากใชระบบวัดแสงเฉพาะจุด โหมดแฟลชจะเปน i-TTL ธรรมดา หากใชระบบวัดแสงแบบอื่นๆ โหมดแฟลชจะเปน i-TTL-BL แบบสมดุลยแสงสําหรับลบเงา (ฟลอิน) ดวย 4. ใชรายการคําสั่งเฉพาะที่ 14 ที่ตัวกลอง D40 สําหรับกําหนดการใชงาน 5. โหมดแฟลชเปน i-TTL-BL แบบสมดุลยแสงสําหรับลบเงา (ฟลอิน) สําหรับกลองดิจิตอล SLR 6. เลือกใชโหมดแฟลชจากปุม SEL ที่ตัวแฟลช หากใชเลนสที่ไมมี CPU แฟลชจะตั้งเปนโหมดอัตโนมัติ Auto เอง 7. หากใชเลนส CPU คารูรบ ั แสงจะปรับตามกลองใหโดยอัตโนมัติ 8. เลือกใชโหมดแฟลชจากปุม SEL ที่ตัวแฟลช

ขอจํากัดการใชงานของแฟลชหัวกลอง (Built-in flash) แฟลชหัวกลอง (Built-in flash) ถูกออกแบบใหกับเลนสที่มี CPU ตั้งแต 18 ถึง 300 มม. ควรถอด กระบังแสง (ฮูด) ที่หนาเลนสออกอนใชแฟลชหัวกลอง เพราะตัวฮูดอาจจะบังแสงแฟลชได แฟลชหัวกลองมีระยะการทํางานต่ําสุดที่ 60 ซม. (2ฟุต) ดังนั้นจึงไมสามารถใชงานกับเลนสถายภาพ -ระยะใกล (มาโคร) ได และในบางกรณีแฟลชหัวกลองจะไมสามารถสองสวางครอบคลุมหมดทั่วทั้งภาพได ตามตารางนี้ เลนส AF-S DX 12–24mm f/4G ED AF-S DX 16-85mm f/3.5-5.6G ED VR AF-S 17–35mm f/2.8D ED

AF-S DX 17–55mm f/2.8G ED

AF 18–35mm f/3.5–4.5D ED AF DX 18–70mm f/3.5–4.5G ED AF DX 18–135mm f/3.5–5.6G ED AF DX VR 18–200mm f/3.5–5.6G ED AF 20–35mm f/2.8D

AF-S 24–70mm f/2.8G AF VR 24–120mm f/3.5–5.6G ED AF-S 28–70mm f/2.8D ED AF VR 200–400mm f/4G ED

ตําแหนงซูม 18 mm 20 mm 24 mm 24 mm 28 mm 35 mm 28 mm 35 mm 45 mm 18 mm 35 mm 18 mm 24 mm 18 mm 24 mm 24 mm 35 mm 24 mm 28 mm 35 mm 35 mm 50 mm 24 mm 28 mm 35 mm 50 mm 250 mm 300 mm

ระยะแฟลชใกลสุด 1.5 ม./4 ฟ. 11 น. 1.0 ม./3 ฟ. 3 น. ไมมีขอจํากัด 2.0 ม./6 ฟ. 7 น. 1.0 ม./3 ฟ. 3 น. ไมมีขอจํากัด 1.5 ม./4 ฟ. 11 น. 1.0 ม./3 ฟ. 3 น. ไมมีขอจํากัด 1.0 ม./3 ฟ. 3 น.. ไมมีขอจํากัด 1.0 ม./3 ฟ. 3 น. ไมมีขอจํากัด 1.0 ม./3 ฟ. 3 น. ไมมีขอจํากัด 1.0 ม./3 ฟ. 3 น. ไมมีขอจํากัด 2.5 ม./8 ฟ. 2 น. 1.0 ม./3 ฟ. 3 น. ไมมีขอจํากัด 1.5 ม./4 ฟ. 11 น. 1.0 ม./3 ฟ. 3 น. 1.0 ม./3 ฟ. 3 น.. ไมมีขอจํากัด 1.5 ม./4 ฟ. 11 น. ไมมีขอจํากัด 2.5 ม./8 ฟ. 2 น. 2.0 ม./6 ฟ. 7 น.

เมื่อใชแฟลชหัวกลองกับเลนส AF-S 14–24mm f/2.8G ED แสงแฟลชหัวกลองจะไมสามารถ สองสวางครอบคลุมหมดทั่วทั้งภาพได ไมวาจะใชตําแหนงซูมที่เทาใด็ตาม (เพราะมุมภาพกวางมากกวา มุมฉายแสงแฟลชและตัวเลนสใหญมากเลยบังแสงแฟลชหัวกลองไวเกือบทั้งหมด) แฟลชหัวกลอง D60 สามารถใชกับเลนส AI-S, AI และ AI แบบดัดแปลงได ที่ไมมีชิพ CPU ได ตั้งแต 18 ถึง 300 มม. เลนส AI 50–300 มม. f/4.5, เลนส AI ดัดแปลง 50–300 มม. f/4.5, เลนส AI-S 50–300 มม. f/4.5 ED ตองใชที่ตําแหนงซูม 135 มม. หรือ มากกวา และ เลนส AI 50–300 มม. f/4.5 ED ตองใชที่ตําแหนงซูม 105 มม. หรือ มากกวา จึงจะไมเกิดเงาจากตัวเลนส

เมื่อใชแฟลชกลอง D60 หรือกับ SB-400, SB-800 หรือ SB-600 และเลนสที่มี CPU กลองจะใชไฟสองชวยหาโฟกัสจากในตัวแฟลช หัวแฟลช SB-800 หรือ SB-600 เทานั้นที่จะปรับตามซูมตามเลนสที่ใช i-TTL Balanced Fill-Flash for digital SLR (i-TTL BL) ในระบบนี้กลองจะปรับกําลังแฟลชใหตามสภาพแสง แวดลอม เพื่อสรางความสมดุลยระหวางตัวแบบและฉากหลัง Standard i-TTL Balanced Fill-Flash for digital SLR (Standard i-TTL) ในระบบนี้กลองจะปรับกําลังแฟลชให พอดีเฉพาะที่ตัวแบบ โดยไมสนใจสภาพแสงแวดลอม เหมาะสําหรับเมื่อใชแฟลชเปนแสงถายภาพเพื่อเนนตัวแบบ โดยไมสนใจฉากหลัง หรือเมื่อใชกับสายตอแฟลช SC-17, 28, 29 เมื่อใชระบบวัดแสงแบบมาตริกซ และเฉลี่ยหนักกลาง กลองจะใชระบบแฟลช i-TTL โดยอัตโนมัติ หากใชระบบวัดแสงแบบเฉพาะจุด Spot กลองจะใชระบบแฟลช Standard i-TTL โดยอัตโนมัติ

ไกดนัมเบอร คาไกดนัมเบอรเปนตัวกําหนดความสามารถในการสองสวางของแฟลช และใชในการคํานวนหาความสวางที่จะใช ในการถายภาพดวยแสงแฟลช โดยคํานวนไดดังนี้ ระยะถายภาพ เทากับ คาไกดนัมเบอร หารดวย คารูรับแสง เชนแฟลช SB-400 มีคาไกดนัม เบอร 30 เมตร (98 ฟุต) ที่ ISO 200 ดังนั้น หากเปดหนากลองที่ f/5.6 ระยะถายภาพที่จะใหแสงแฟลชพอดี เทากับ 30/5.6 เทากับ 5.3 ม. (หรือ 17.5ฟุต) หมายเหตุ: หากปรับคาความไวแสง ISO เพิ่มขึน ้ เปน 2 เทา ใหคูณระยะถายภาพดวยตัวคูณ 1.4 เทานั้น กลอง D60 สามารถใชกับหนวยควบคุมแฟลชแบบไรสาย SU-800 ไดเหมือนกับใช SB-800

การตั้งใหกลองสัน ่ ทําความสะอาดเซ็นเซอรรับภาพ CCD เซ็นเซอรรับภาพที่รับแสงจากเลนสถายภาพจะมีกระจกฟลเตอร (low pass filter) ปดหนาอยู สําหรับปองกันการเดิดเสนซ้ําซอน moiré อาการในภาพที่มีลายเสนริ้วๆ ผูใชสามารถใชคําสั่ง Clean Image sensor ในหนารายการ Set Up ทําความสะอาดกระจกฟลเตอรนี้ได หรือ ตั้งใหทําความสะอาดอัตโนมัติ ตอนปด หรือ เปด กลอง ก็ไดเชนกัน 1. เพื่อใหไดผลดีที่สุด ควรจัดวางกลองในแนวนอน ไดระนาบ

2. ในหนาชุดรายการคําสั่ง Set Up กด ขึ้น-ลง เลือก Clean image sensor กด ขวา เพื่อเขารายการ

3. เลือกคําสั่ง Clean now กด ขวา เพื่อทํารายการ

กลองจะแสดงขอความ Cleaning image sensor ในระหวางที่กําลังทําความสะอาด เมื่อทําความสะอาดเสร็จ กลองจะแสดงขอความ Image Sensor Cleaning เสร็จแลว

การตั้งใหทา ํ ความสะอาดเซ็นเซอรรับภาพ CCD อัตโนมัติ ตอนปด หรือ เปดกลอง 1. ในหนารายการ Clean image sensor เลือกคําสั่ง Clean at startup/shutdown กด ขวา เพื่อทํารายการ

2. กลองจะแสดงรายการใหเลือกทํา เลือกรายการที่ตองการ กด

เพื่อสั่งทํารายการตอไป

คําสั่งอัตโนมัติสําหรับทําความสะอาดเซ็นเซอรรับภาพ CCD คําสั่ง Clean at Startup

คําอธิบาย การใชงาน ทําความสะอาด เมื่อเปดสวิทชกลอง กอนใชงาน

Clean at shutdown

ทําความสะอาด เมื่อปดสวิทชกลอง หลังใชงาน

Clean at startup and shutdown

ทําความสะอาด เมื่อเปด และปด สวิทชกลอง กอน และ หลังใชงาน ไมตองทําความสะอาด

Cleaing off *

* (Default คาปริยายทีถ่ ูกตั้งมาจากโรงงาน) หมายเหตุ: ระบบทําความสะอาดในตัว ยังไมสามารถทําความสะอาดไดดีเทากับการปดลาง CCD โดยตรง ขณะที่ใชงานระบบทําความสะอาดในตัว: ระบบจะหยุดการทํางานหากปุมชัตเตอร, หรือ ปุม ระบบทําความสะอาดในตัว จะเขยาตัวเซ็นเซอรใหผงฝุนหลุดออกมาเอง หากยังมีฝุานตกคางอยู ใหทําการเปาไลดวยตัวเอง หรือ สงรับบริการที่ศูนยบริการ หากใชระบบทําความสะอาดในตัว ติดตอกันหลายครั้ง ระบบฯอาจจะหยุดทํางานได เพื่อปองกันความเสียหายภายใน ใหพักการทํางานสักครูหนึ่งกอนจะทําอีก

การทําความสะอาดเซ็นเซอรรับภาพ CCD หากเซ็นเซอรรับภาพ มีผงฝุนติดแนน จนไมสามารถทําความสะอาดดวยระบบฯ ในตัวกลองเองได ผูใชสามารถทําความสพอาดดวยตัวเอง แนะนําใหใชบริการของศูนยในการทําความสะอาดแบบนี้ 1. ตรวจเช็คระดับกําลังไฟฟาในแบตเตอรี่กลองวาใชถานชารทใหมๆ หรือมีไฟเหลือ อยางนอย เทากับ หรือใชหมอแปลงไฟบาน EH-5a เพื่อชวยใหมีกําลังไฟฟาพอเพียง 2. ในหนาชุดรายการคําสั่ง Set Up เลือก Mirror lock up หากถานฯมีกําลังไฟต่ํากวา 60% กลองจะไมใหทํารายการคําสั่งนี้ กด

เพื่อสั่งทํารายการตอไป

3. กดปุมชัตเตอร กระจกจะยกขึ้น และเปดมานชัตเตอร จอ LCD แสดงคําสั่ง --- -- กระพริบเตือน

4. ตรวจดูกระจกฟลเตอร Low pass ที่ ตัวเซ็นเซอร โดยการขยับกลองไปมาในที่ แสงสองถึง

5. หากมีใชลูกยางบีบเปาเบาๆไลฝุน หามใชลูกยางแบบมีแปรง หรือ แตะโดน เซ็นเซอร หากไมแใจ ใหสงศูนยบริการ ทันที

6. ปดสวิทชกลองไปที่ OFF เพื่อลดกระจก ปดมานชัตเตอร ใสฝาปดบอรดี้ หรือ เลนส เขาที่เดิม

เครื่องหมายและสัญลักษณเตือนตางๆที่แสดงในจอคําสั่ง LCD, ชองมองภาพ, หรือ จอแสดงภาพมีดังนี้ เครื่องหมายเตือน จอคําสั่ง LCD จะแสดงขอความดังตอไปนี้ Lock lens aperture ring

ในชองมอง ภาพ (กระพริบ)

Lens not attached (กระพริบ) Attach a lens (กระพริบ) Shutter release disabled. Recharge battery.

This battery cannot be used. Choose battery designated for use in this camera.

ปญหาที่เกิดขึ้น • วิธีการแกไขเบื้องตน แหวนปรับคารูรับแสงที่เลนสไมได หมุนแหวนปรับคารูรับแสงที่เลนสไปที่รูรับแสงที่ แคบที่สุด (คา f/- มากที่สุด) ไมไดใสเลนสที่กลอง หรือ ใสเลนสแลว แตเลนสที่ใสเปนแบบไมมี CPU • ใสเลนส หรือ ถอดใสใหม • เปลี่ยนไปใชโหมดถายภาพ M ถานใกลหมดไฟฟา เตรียมถานกลองใหม

(กระพริบ)



ถานหมดไฟฟาแลว



ถานใชไมไดแลว



ใชถานที่ไมใชถานแทในกลอง



ถอดชารทไฟใหม



ติดตอศูนย หรือ ใชถานใหม



เปลี่ยนถานใหม

Clock not set นาฬิกาในกลองยังไมไดถูกตั้ง (กระพริบ) Card not insert

--

(กระพริบ)

Memory card is locked. Slide lock to “write” position.

ตั้งนาฬิกาในกลองใหม กลองไมมีการด ใสการด SD ในกลอง กลองไมสามารถหาโฟกัสได ปรับหาโฟกัสดวยตัวผูใชเอง การดถูกล็อค Protect ไว ใหถอดการด SD แลวเลื่อนสวิทชไปที่ Write

(กระพริบ)

This memory card cannot be used. Card may be damaged. Insert another card. This card is not formatted. Format the card.

(กระพริบ)

การดความจําเสีย • เปลี่ยนการดความจําใหม • ฟอรแมทการดใหม • ถอดการดออกมาทําความสะอาดขั้วสัมผัส • ลบภาพที่ไมตองการทิ้งไปบาง

(กระพริบ)



Card is full (กระพริบ)

ฟอรแมทการดใหม

การดความจําเต็ม ไมมีที่เพียงพอสําหรับเก็บ ไฟลภาพ หรือ ตัวเลขลําดับภาพถูกใชหมดแลว • ลดขนาดภาพลง • ลบภาพที่ไมตองการทิ้งไปบาง • เปลี่ยนการดความจําใหม

Subject is too bright.

Subject is too dark.

-(กระพริบ) Flash is in TTL mode. Choose another setting or use a CPU lens.

--

(กระพริบ)

(กระพริบ)

มีแสงถายภาพมากเกินไป ภาพที่ไดจะสวางเกินไป (โอเวอร) • ลดคาความไวแสง ISO ลง • ใชฟลเตอร ND ชวยลดแสง • เพิ่มความเร็วชัตเตอรใหสูงขึ้น หรี่รูรับแสงใหเล็กลง มีแสงถายภาพนอยเกินไป ภาพที่ไดจะมืดเกินไป (อันเดอร) • เพิ่มคาความไวแสง ISO ขึ้น • ใชแฟลช ใหแสงชวยถายภาพ • ลดความเร็วชัตเตอรใหสูงขึ้น เปดรูรับแสงใหกวางขึ้น หากกระพริบนาน 3 วินาทีหลังที่ถายภาพ แสง แฟลชที่ใชถายภาพอาจจะไมพอ ทําใหภาพที่ ถายออกมาดูมืดได • ตรวจดูภาพที่เพิ่งถายไปใจอแสดงภาพ แลว ปรับแตงแกไข เชน รนระยะถายภาพเขาไป ใกลขึ้น แฟลชที่ใชไมสนับสนุนการทํางานแบบ i-TTL หรือ ไมไดถูกตั้งไปที่ โหมดแฟลช i-TTL • ตั้งแฟลชไปที่ โหมดแฟลช i-TTL • เปลี่ยนไปใชเลนสแบบมี CPU • แฟลชหัวกลองยังไมถูกยกขึ้น • ตรวจดูภาพที่เพิ่งถายไปใจอแสดงภาพ แลว ปรับแตงแกไข เชน รนระยะถายภาพเขาไปใกล ขึ้น, ใชคารูรบ ั แสงกวางขึ้น หรือ เพิ่มความไว แสง ISO หากใชกับแฟลช SB-400 • หัวแฟลช SB-400 ถูกยกเงยขึ้น (ใหตั้งหัว แฟลชใหม ไปทางดานหนา) • แฟลช SB-400 สงแสงไดไมพอ ที่ระยะ ถายภาพนั้น

No Bulb in S mode. (กระพริบ)

-(กระพริบ) Unable to measure preset white balance. Please try again. FOLDER CONTAINS NO IMAGES.

(กระพริบ) --

FILE DOES NOT CONTAIN IMAGE DATA. --

CHECK PRINTER.

Error. Press shutter release button again.

Initialization error. Contact Nikon-authorized service representative.

--

(กระพริบ)

(กระพริบ)

ผูใชเลือก ในโหมดถายภาพแบบผูใช กําหนดความเร็วชัตเตอร (S Shutter Priority) เปลี่ยนไปใชความเร็วชัตเตอรอื่น หรือ ใชโหมด ถายภาพ M-Manual แมนนวล กลองไมสามารถวัดคาสมดุลยสีขาว WB ได • ใหทําการวัดใหม ไมมีไฟลภาพถูกเก็บไวในโฟรเดอรนี้ • เปลี่ยนเลือกโฟรเดอรใหม หรือ เปลี่ยน การดใหม ไฟลภาพถูกดัดแปลงดวยโปรแกรม หรือ คอมพิวเตอร หรือ กลองยี่หออื่นๆ หรือไฟลภาพ เสียหาย จนไมสามารถแสดงได กลองไมสามารถแสดงภาพได • ถอดเปลี่ยนการดใหม เครื่องพิมพไมสามารถพิมพภาพได • ตรวจดูสถานะของเครื่องพิมพ, สายตอ, กระดาษ และหมึกพิมพ มีความผิดพลาดเกิดในกลอง • กดลั่นชัตเตอร หรือหากเกิดซ้ําๆกันบอยๆ ใหสงศูนยบริการ โทร. 02 235 2929-34 มีความผิดพลาดเกิดในกลอง • ใหสงศูนยบริการ โทร. 02 235 2929-34

การรีเซ็ทการทํางานของกลอง (Reset) ในบางครั้ง กลองอาจจะทํางานผิดปกติ เชน แสดงสัญลักษณแปลกๆในจอ LCD หรือ ทํางานผิดปกติ หรือ หยุดทํางาน โดยสวนใหญแลวอาการเหลานี้ มักมีสาเหตุเกิดจากอิทธิพลจากสนามไฟฟาสถิตยแรงสูง เชน อากาศเย็น แหง อยูใกล สายสงไฟฟา หากมีปญหา ในกรณีเหลานี้ ใหปดสวิทชกลอง ถอดเปลี่ยนใสถานที่ชารทเต็มที่ แลวเปดสวิทชกลองอีกครั้ง หากยังคงมีปญหา ใหเปดฝาปดชองเสียบดานขาง กดปุมยางเล็กๆ ที่แสดง ในภาพเพื่อรีเซ็ทกลองคาคําสั่งตางๆในกลองจะถูกยกเลิกกลับไปที่คาปริยาย (default) ทั้งหมด โดยตองเริ่มตนตั้งวันที่ เวลา นาฬิกาใหมหมด การรีเซ็ทแตก็จะไมมีผลกับไฟลภาพที่ไดบันทึกไวในการดความจํา ขอใหโชคดีทุกทานครับ

ผูใชสามารถ ดึงรายการคําสั่งตางๆที่ใชบอยๆ มาสรางเปนชุดรายการคําสั่งสวนตัว เพื่อความสะดวก และรวดเร็วในการเรียกใชคําสั่งปรับแตงตางๆ โดยไมตองกระโดดหรือคนการตามหนาชุดคําสั่งตางๆ เขนหนารายการ Playback, ชุดคําสั่งถายภาพ (Shooting), ชุดคําสั่งเฉพาะตัว Custom Settings, ชุดคําสั่งจัดเตรียมกลอง (Setup), และ ชุดคําสั่งถายภาพจัดแตงภาพ Retouch menus ผูใชสามารถรวบรวมคําสัง่ ที่ใชบอยๆจากที่ตางๆมาไวที่ ชุดรายการคําสั่งสวนตัว (My Menu) ไดดังนี้ 1. ในหนาชุดรายการคําสั่ง Set up เลือก CSM/Setup menu กด

ขวา เพื่อเขาทํารายการ

2. กลองจะแสดงชุดรายการคําสั่งใหเลือก กด ขึ้น หรือ ลง เลือกชุดรายการคําสั่ง My menu กด ขวา เพื่อเขาทํารายการสราง My menu 3. กลองจะแสดงรายการคําสั่งทั้งหมด ขึ้น หรือ ลง กด ใหเลือกคําสั่งที่ตองการเรียกใชบอยๆ กด ขวา เพื่อเลือกคําสั่งนั้น คําสั่งที่ถูกเลือกไปเก็บที่ My menu

4. เมื่อเลือกแลว ก็จะมีเครือ ่ งหมาย แสดงวาคําสั่งรายการนั้นไดเก็บลงที่ รายการ My menu เรียบรอยแลว ใชขั้นตอนที่ 2-3 สําหรับเก็บคําสั่งตอไป ตามที่ตองการ

5. เมื่อเลือกคําสั่งที่ตองการไดแลว ใหเลือก Done แลว กด OK เพื่อยืนยันคํา ใหกลองเก็บคําสั่งนั้นลงไวใน My menu ใชขั้นตอนที่ 1-2-3-4 อีกครั้งสําหรับเก็บ คําสั่งอื่นๆในชุดรายการคําสั่ง Shooting, Playback, Custom setting, Retouch ตอไปตามที่ตองการ 6. เมื่อเลือกคําสั่งที่จะใชใน My menu ได ครบตามตองการแลว กด ซาย กลับไปที่หนาแรก CSM/Setup ใหเลือก Done แลว กด OK เพื่อยืนยัน คําสั่งใหกลองเก็บคําสั่งตางๆที่ไดเลือกไว ไปเก็บลงไวใน My menu

D60 - Basic Set up Menu ชุดรายการคําสั่งการใชงานขั้นพืน ้ ฐานของกลอง D60

* Default คาปริยายที่ถูกตั้งมาจากโรงงาน

หัวขอคําสั่ง • ตัวเลือก CSM / Setup menu ตั้งวิธีการแสดงรายการคําสั่งตางๆ • Simple * • Full • My menu Done Playback Menu Shooting Menu Custom Menu Setup Menu Retouch Menu Format memory card การฟอรแมทการดความจํา • No • Yes

ความหมาย และ คําอธิบาย กําหนดวาจะใหกลองแสดงรายการคําสั่งตางๆอยางไร อะไรบาง • Simple แสดงรายการคําสั่งอยางยอ ชุดสั้น (7 รายการ) เทานั้น * • Full แสดงรายการคําสั่งทั้งหมด ชุดเต็ม (ทั้งหมด 19 รายการ) • My menu ใหแสดงเมนูรายการคําสั่งที่ผูใชตองการใชบอยๆ Done ทํารายการ เสร็จแลว Playback เลือกชุดรายการคําสั่งแสดงภาพ ไวใชใน My Menu Shooting เลือกรายการคําสั่งถายภาพ ไวใชใน My Menu Custom เลือกรายการคําสั่งเฉพาะ ไวใชใน My Menu Setup เลือกรายการคําสั่งใชงานพื้นฐานไวใชใน My Menu Retouch เลือกรายการแตงภาพ ไวใชใน My Menu การฟอรแมทเพื่อลบภาพที่เก็บทั้งหมด เพื่อจัดระเบียบเก็บภาพชุดใหม • No ไม ไมตองการฟอรแมท • Yes ใช ตองการฟอรแมทลางการด

Info display format เลือกรูปแบบการแสดงคําสั่งถายภาพ

เลือกรูปแบบการแสดงคําสั่งและขอมูลที่สําหรับจะใชถายภาพ

• Digital Vari-program Classic Graphic Wallpaper • P, S, A, M Classic Graphic Wallpaper • Select wallpaper

• Digital Vari-program Classic แบบคลาสสิก แสดงขอมูลตัวเลขขนาดใหญเห็นงาย Graphic แบบกราฟฟก มีขอมูล และ มีภาพประกอบ Wallpaper แบบภาพวอลเปเปอร มีขอมูลแสดงบนฉากหลัง • P, S, A, M Classic แบบคลาสสิก แสดงตัวเลขขนาดใหญเห็นงาย Graphic แบบกราฟฟก มีขอมูลและภาพสัญลักษณแสดง Wallpaper แบบวอลเปเปอร มีขอมูลแสดงบนฉากหลัง • Select wallpaper เลือกภาพจาก การดสําหรับใชเปนฉากหลัง

Auto shooting info ตั้งใหกลองแสดงคําสั่งที่ใชถายภาพ โดยอัตโนมัติ • Digital Vari-program On Off • P, S, A, M On Off Shooting Info Auto off ตั้งใหกลองปดจอ LCD โดยอัตโนมัติ • On • Off World time ตั้งเวลาตามสวนตางๆของโลก • Time zone Select • Date Date set Time set • Date format yy/mm/dd mm/dd/yy dd/mm/yy • Daylight saving time Off On LCD Brightness ตั้งความสวางของจอ LCD • LCD Brightness • Auto dim Video mode สัญญาณภาพวีดีโอ • NTSC • PAL Language ภาษาในเมนูสั่งงาน • • • • • • • • •

German • English Spanish • Finish French • Italian Dutch • Polish Portugese Russian • Swedish Chinese Traditional Chinese Simplified Japanese • Korean

กําหนดใหกลองแสดงขอมูลบนจอ LCD ตลอดเวลาหรือไม • Digital Vari-program ในโหมดชวยถายภาพแบบโปรแกรมดิจิตอล On เปด กลองจะแสดงขอมูลที่จะใชถายภาพตลอดเวลาที่เปดใช Off ปด กลองจะไมแสดงขอมูลใดๆบนจอ LCD • P, S, A, M ในโหมดชวยถายภาพแบบ P, S, A, M On เปด กลองจะแสดงขอมูลที่จะใชถายภาพตลอดเวลาที่เปดใช Off ปด กลองจะไมแสดงขอมูลใดๆบนจอ LCD กําหนดใหกลองเปดมิเตอรวัดแสง และ ปดจอ LCD โดยอัตโนมัติเมื่อ ผูใชมองในชองมองภาพ • On เปด กลองจะสวิทชปดจอ LCD เมื่อผูใชมองในชองมองภาพ * • Off ปด กลองจะยังเปดจอ LCD เมื่อผูใชมองในชองมองภาพ ตั้งนาฬิกา ใหบอกเวลาตามสวนตางๆของโลกที่ใชงาน • โซนเวลา เลือกโซนเวลา • วันที่ ตั้งวันที่ ตั้งเวลา • ตั้งรูปแบบแสดงวันที่ ป/เดือน/วันที่ เดือน/ป/วันที่ วันที่/เดือน/ป • ตั้งเวลาประจําฤดูรอน ปด ไมใช เปด ตั้งเวลาประจําฤดูรอน ตั้งความสวางจอแสดงภาพ LCD ดานหลัง • ตั้งความสวางจอ LCD ได 7 ระดับ ตั้งแต -3 ถึง +3 จากปกติ • Auto dim หรี่แสงสวงของจอ LCD โดยอัตโนมัติ *

กําหนดวาจะใหกลองแสดงภาพออกทางสัญญาณโทรทัศนในแบบใด • NTSC สัญญาณโทรทัศน USA, Japan • PAL สัญญาณโทรทัศน ประเทศไทย, ประเทศเครือจักรภพ UK เลือกภาษาที่ใชสําหรับเมนูรายการคําสั่งตางๆ • German • English • Spanish • Finish • French • Italian • Dutch • Polish • Portugese • Russian • Swedish • Chinese Traditional • Chinese Simplified • Japanese • Korean

Image comment ขอความกํากับภาพถาย

สําหรับเขียนขอความกํากับลงในไฟลภาพที่บันทึกไว เชน ชื่อเจาของ โดยสามารถเปดดูไดดวยโปรแกรม Capture NX หรือ View NX

• Done > • Input comment Text entry • Attach comment No Yes Folders การตั้งชื่อแฟมที่ใชเก็บไฟลภาพ

• เขียนขอความเสร็จแลว กลับไปที่เมนูหนาแรก • ตองการใสขอความกํากับ เลือกตัวอักษร สําหรับแตงประโยคขอความ • ติ้กเพื่อเริ่มใสขอความกํากับลงในไฟลลภาพ No ไมตองใส Yes เริ่มใสได (จะเชียนขอความเหมือนกันหมดทุกภาพ)

• Select folder NCD60 * (etc.) • New Text entry (5 chars) • Rename Select • Delete Select File no. sequence กําหนดหมายเลขลําดับไฟลภาพ

• Select folder เลือกชื่อแฟม 100NCD60 (etc.) เชน NCD60 * • New สรางแฟมใหม Text entry (5 chars) ตั้งชื่อแฟม (อักษรไมเกิน 5 ตัว) • Rename เปลี่ยนชื่อแฟม Select เลือกใชชื่อแฟมใหม • Delete ลบแฟมทิ้ง Select ยืนยันทําการลบแฟมทิ้ง (ไฟลภาพจะถูกลบทิ้งไปดวย)

• Off * • On • Reset Clean Image Sensor กําหนดการทําความสะอาดจอรับภาพ • Clean now • Clean at On Start up Off Shut down Start up and shut down * Cleaning off Mirror lock-up สั่งยกกระจกคางไว • On • Off Firmware Version โปรแกรมคําสั่งกลอง • Version No. A 1.00 B 1.00

กําหนดแฟมที่จะใชเก็บบันทึกไฟลภาพ

กําหนดหมายเลขลําดับการบันทึกไฟลภาพ • Off - ปด กลองจะเริ่มหมายเลขภาพที่ 0001 ทุกครั้งที่ใสการด * • On - เปด สั่งใหกลองใชเลขลําดับไฟลภาพเรียงตอกันไปเรื่อยๆ • Reset – ตั้งหมายเลขลําดับกลับไปเริ่มตนที่ 0001 ใหม ตั้งใหกลองทําความสะอาดจอรับภาพ (เซ็นเซอร) ดังนี้ • ทําความสะอาดทันที • ทําความสะอาดเมื่อ เปด สวิทชกลอง เริ่มใชงาน ปด สวิทชกลอง ไมใชงานกลองแลว ทั้งตอนเปด และ ปด สวิทชกลอง * ปด ไมตองทําความสะอาดใดๆทั้งสิ้น

ยกกระจกสะทอนภาพขึ้น แลวคางไว เพือ ่ ตรวจเช็คจอรับภาพ CCD • เปด ยกกระจกคางไว เพื่อเปาทําความสะอาดจอ CCD • ปด ไมตองยกกระจก สําหรับแสดงขอมูลของโปรแกรมควบคุมกลอง (เฟริมแวร) • หมายเลขลําดับรุนโปรแกรม A 1.00 B 1.00

D60 - Playback Menu ชุดรายการคําสั่งแสดงภาพถายที่บันทึกเก็บไวในการดความจํา

* Default คาปริยายที่ถูกตั้งมาจากโรงงาน

หัวขอคําสั่ง • ตัวเลือก Delete ลบไฟลภาพทิ้ง • Selected • All Playback Folder เลือกโฟรเดอรที่จะใชดูภาพ • NCD600 • All • Current Rotate Tall กลับภาพ เปนแนวตั้งอัตโนมัติ • On * • Off Slide Show ใหกลองทยอยแสดงภาพ • Start • Frame Interval Stop-Motion Movies แสดงภาพถายตอเนื่องแบบภาพยนต

ความหมาย และ คําอธิบาย

เลือกภาพที่ตองการลบทิ้งจากการด • Selected เลือก ลบทิ้งเปนภาพๆไป • All เลือก ลบทิ้งภาพทั้งหมดทุกภาพ เลือกโฟรเดอรที่จะใชดูไฟลภาพที่บันทึกไว • เลือกดูเฉพาะโฟรเดอรที่สรางจากกลอง D60 • ดูหมดทุกโฟรเดอร ที่อยูในมาตรฐาน DCF • โฟรเดอรลา สุดที่กําลังใชบันทึกภาพ กําหนดใหกลองกลับภาพแนวตั้งโดยอัตโนมัติ เมื่อตั้งกลองในแนวตั้ง • เปด ใหกลับภาพเปนแนวตั้งโดยอัตโนมัติ * • ปด ไมตองกลับภาพ ตั้งใหกลองทยอยแสดงทีละภาพ เปนจังหวะ • เริ่ม แสดงภาพได • ตั้งเวลาที่จะภาพจะถูกแสดงนานกี่วินาที

แสดงภาพถายตอเนื่องแบบภาพยนต stop-motion (ภาพยนตที่สราง จาก Retouch menu)

D60 - Shooting Menu ชุดรายการคําสั่งการบันทึกถายภาพ

* Default คาปริยายที่ถูกตั้งมาจากโรงงาน

หัวขอคําสั่ง • ตัวเลือก Optimize image เลือกรูปแบบลักษณะของภาพ • • • • • • •

Normal * Softer Vivid More vivid Portrait Black and white Custom Done Image sharpening Auto Normal (0) Low (-2) Medium low (-1) Medium high (+1) High (+2) None Tone compensation Auto Normal (0) Less contrast (-2) Medium low (-1) Medium high (+1) More contrast (+2) Custom Color mode Ia (sRGB) II (Adobe RGB) IIIa (sRGB) Saturation Auto Normal (0) Moderate (-) Enhanced (+)

ความหมาย และ คําอธิบาย เลือกรูปแบบลักษณะของภาพ หรือ จะตั้งตามรูปแบบของตัวเอง ใชไดเฉพาะในโหมดชวยถายภาพ P, S, A M เทานั้น • • • • • • •

ภาพมาตรฐาน ตามปกติ * ภาพนุมกวาปกติ ภาพสีจัดกวาปกติ ภาพสีจัดจานมากขึ้น ภาพบุคคล (เนนสีผิว) Black and white การแตงโทนภาพ ขาว-ดํา ตั้งลักษณะภาพดวยผูใชเอง Done ปรับเรียบรอยแลว Image sharpening แตงความคมชัด Auto อัตโนมัติ (ตามลักษณะเลนสที่ใชและสภาพแสง) * Normal (0) ปรับแตงเล็กนอย ขึ้นอยูกับขนาดของภาพดวย Low (-2) คมชัดต่ํากวาปกติ Medium Low (-1) ต่ําปานกลาง Medium High (+1) สูงปานกลาง High (+2) คมชัดสูงกวาปกติ None ไมตองแตงความคมชัด Tone Compensation การปรับโทนความสวางของภาพ Auto อัติโนมัติ (ตามลักษณะเลนสที่ใชและสภาพแสง) * Normal (0) ปรับแตงเล็กนอย ขึ้นอยูกับขนาดของภาพดวย Less Contrast (-2) ใหคอนทราสต่ํากวาปกติ Medium low (-1) ใหคอนทราสต่ําปานกลาง Medium high (+1) ใหคอนทราสสูงปานกลาง More Contrast (+2) ใหคอนทราสสูงกวาปกติ Custom ตั้งลักษณะโทนความสวางภาพดวยผูใชเอง Color Mode การกําหนดรหัสระบบสีของไฟลลภาพ I (sRGB) * ใชรหัสสี sRGB สําหรับภาพทั่วๆไป II (Adobe RGB) ใชรหัส Adobe RGB เนนความแมนยําของสี III (sRGB) ใชรหัสสี sRGB เนนสีเขียว/สีฟาสําหรับภาพวิว Saturation การเรงความเขมอิ่มตัวของสี Auto อัติโนมัติ (ตามลักษณะแสงและโหมดถายภาพที่ใช) Normal ตามปกติ ปรับแตงเล็กนอย (0) * Moderate (-) ใหความเขมอิ่มตัวของสีต่ํากวาปกติ Enhanced (+)ใหความเขมอิ่มตัวของสีมากกวาปกติ

Hue adjustment -9° to +9° Image quality ขนาดไฟลภาพ • • • • •

NEF (RAW) JPEG fine JPEG normal * JPEG basic NEF (RAW) + JPEG Basic

Image size กรอบขนาดของภาพ • Large * • Medium • Small White balance คาสมดุลยแสงสีขาว • Auto * • Incandescent • Fluorescent • Direct sunlight • Flash • Cloudy • Shade • White bal. preset ISO sensitivity ความไวแสง • Auto * • 200 ** • 400 • 800 • 1600 • HI 1.0 (~ISO 3200) Noise reduction ระบบขจัดจุดสีรบกวน • Off * • On Active D-Lighting ระบบชดเชยคาแสงถายภาพยอนแสง

Hue Adjustment การแตงโทนอุณหภูมิของสีในภาพ -ตั้งไดตั้งแต -9 (ภาพโทนเย็น) ถึง +9 (ภาพโทนรอน) กําหนดขนาดของภาพ และไฟลภาพที่จะถูกบันทึกลงในการดความจํา • • • • •

NEF (RAW) ไฟลลภาพดิบ ไมมีการตกแตง JPEG Fine ไฟลลบีบอัดนอย รายละเอียดสูงสุด JPEG Normal ไฟลลบีบอัดปานกลาง รายละเอียดปานกลาง * JPEG Basic ไฟลลบีบอัดมาก รายละเอียดขั้นพื้นฐาน NEF (Raw) + JPEG Basic บันทึก 2 ไฟล รายละเอียดขั้นพื้นฐาน

การกําหนดกรอบขนาดภาพ - กวางxยาว / ขนาดไฟลโดยประมาณ - 3008 x 2000 / 6.0 MB * - 2256 x 1496 / 3.3 MB - 1504 x 1000 / 1.5 MB กําหนดเลือกใชสมดุลยสีขาว (ปรับแตงชดเชยได -3 ถึง +3) ในสภาพแสงตอไปนี้ • Auto อัติโนมัติ ตามระบบวัดแสง RGB, แฟลช และเลนสที่ใช * • Incandescent เมื่อใชแสงจากหลอดไฟฟาแบบเผาไสทังสเตน • Fluorescent เมื่อใชแสงจากหลอดไฟฟาแบบหลอดเรืองแสง • Direct Sunlight เมื่อใชแสงจากดวงอาทิตยโดยตรง • Flash เมื่อใชแสงจากแสงไฟแฟลช • Cloudy เมื่อใชแสงธรรมชาติ สภาพทองฟาเมฆมาก • Shade เมื่อใชแสงธรรมชาติ ในที่ๆมีรมเงา - Select WB ปรับใชตามสภาพแสงที่มีในขณะนั้น กําหนดคาความไวแสง ( Auto * ใชไดในโหมด Vari-program เทานั้น หรือ ** ในโหมด P, S, A, M เมื่อใชกับคําสั่งเฉพาะที่ 10) • Auto • 200 • 400 • 800 • 1600 • HI 1.0 (~ISO 3200) การกําจัดจุดสีรบกวนเมื่อใช ISO 800 หรือ เมื่อใชความเร็วชัตเตอร นานกวา 1 วินาที • Off ปด ไมใช * • On เปด ใชงาน ใชตั้งคาชดเชยแสงถายภาพ เมื่อใชถายภาพยอนแสง • Off ปด ไมใช * • On เปด ใชงาน

D60 – Custom Setting Menu ชุดรายการคําสั่งเฉพาะตัว

* Default คาปริยายที่ถูกตั้งมาจากโรงงาน

หัวขอคําสั่ง • ตัวเลือก R Reset การรีเซ็ท คําสั่งที่ผูใชตั้ง • No • Yes 01. Beep สัญญาณเตือน • On * • Off 02. Focus mode • AF-A Auto-servo AF • AF-S Single-servo AF • AF-C Continuous-servo AF • M Manual focus 03. AF-area mode เลือกกรอบหาโฟกัสอัตโนมัติ • Single area * • Dynamic area * • Auto-area AF * 04. Release mode กําหนดลักษณะการถายภาพ • • • • •

Single frame Continuous Self-timer Delayed remote Quick-response remote

05. Metering ระบบวัดแสง • Matrix • Center-weighted • Spot

ความหมาย และ คําอธิบาย

ใช สั่งใหกลองใชคาเดิมที่ถูกตั้งมาจากโรงงาน ( ตามรายการที่มี * ) • No ไมตองการ • Yes ใช ใหกลับไปเหมือนเดิมตามที่ถูกตั้งมาจากโรงงาน ใชสั่งใหกลองสงเสียงสัญญาณเตือน เมื่อหาโฟกัสไดแลว หรือ ใชไทมเมอร หรือ รีโมท • On เปด ใหสงเสียงเตือน * • Off ปด ไมใหมีเสียงเตือน กําหนดโหมดหาโฟกัสที่ตองการใช • AF-A AF ใหกลองเลือกเองวาจะหาโฟกัสอัตโนมัติแบบไหน • AF-S Single ใหกลองหาโฟกัสตอการกดปุมชัตเตอร 1 ครั้ง • AF-C Continuous ใหหาโฟกัสแบบตอเนื่องเทาที่กดปุมชัตเตอรไว • M Manual focus ผูใชปรับหาโฟกัสดวยตัวเองทั้งหมด สั่งกลองเลือกกรอบหาโฟกัสอัตโนมัติ (แลวแตโหมดชวยถายภาพ) * • ใหกลองใชกรอบโฟกัสอันเดียว เทานั้น • ใชกรอบโฟกัสอันเดียว แตก็ใหใชกรอบอื่นๆที่เหลือชวยดวยได • ใหกลองเลือกใชกรอบโฟกัสอันใดอันหนึ่งก็ได

กําหนดลักษณะการลั่นชัตเตอรถายภาพ • • • • •

Single frame ถายทีละภาพ (กดปุมชัตเตอร 1 ครั้ง ตอ 1 ภาพ) Continuous ถายภาพตอเนื่อง (ถายตอกันไปหลายภาพ กดแชไว) Self-timer ตั้งนับเวลาถอยหลัง กอนที่จะลั่นชัตเตอรถายภาพ Delayed remote หนวงเวลา เมื่อใชกับรีโมทสั่งลั่นชัตเตอร Quick-response ถายภาพในฉับพลัน ทันทีที่กดปุมรีโมทถายภาพ

สั่งใหเลือกใชระบบวัดแสง • Matrix วัดแสงเฉลี่ยทั่วทั้งภาพ ดวยตัวเซ็นเซอร 420 จุด • Center-weighted วัดเฉลี่ยหนักกลาง 75% และ 25% ขอบภาพ • Spot วัดเฉพาะตรงจุดใดจุดหนึ่งในภาพ (ตามกรอบที่ใชหาโฟกัส)

06. No memory card? หากไมไดใสการดความจํา? • Release locked * • Enable release

หากไมไดใสการดความจํา SD ไวในกลอง • Release Locked * ใหลอคปุมชัตเตอร ไมใหถายภาพได * • Enable Release ใหกดชัตเตอรได (แตจะไมมีการบันทึกภาพ)

07. Image review การแสดงภาพที่เพิ่งถาย • On * • Off

การแสดงภาพที่เพิ่งถาย ไปลาสุด • On * เปด ใหแสดงภาพที่เพิ่งถาย (แสดงนาน 4 วินาที) • Off ปด ไมตองแสดงภาพที่เพิ่งถาย

08. Flash Compensation ตั้งชดเชยคาแสงสวางของแฟลช • -3.0 to +1.0 EV • 0.3 EV steps

ปรับตั้งความสวางของแฟลชหัวกลอง ใหมืดกวาหรือสวางกวาปกติ • ตั้งไดตั้งแต -3 ถึง +1 สตอป • ปรับตั้งทีละ 0.3 สตอป

09. AF-Assist ไฟสองชวยหาโฟกัส • On * • Off 10. ISO auto ตั้งความไวแสง ISO อัตโนมัติ • Off * • On • Max. sensitivity 400 800 1600 • Min. shutter speed 1/125 s 1/100 s 1/80 s 1/60 s 1/40 s 1/30 s 1/15 s 1/8 s 1/4 s 1/2 s 1s 11. Fn button เลือกการทํางานของปุม Fn • • • • •

Self-timer Shooting mode Image quality/size ISO sensitivity White balance

ไฟสองชวยหาโฟกัส • On* เปด ใหกลองเปดไฟชวยหาโฟกัสในสภาพแสงนอย * • Off ปด ไมตองการใชไฟชวยหาโฟกัส

ใชตั้งความไวแสง ISO หรือ ใหกลองตั้ง ISO ใหเองโดยอัตโนมัติ (ISO อัตโนมัติ จะใชไดเฉพาะกับโหมดชวยถายภาพ P, S, A, M) • Off * ปด ไมใช (กลองใชคา ISO ตามที่ถูกผูใชกําหนดไวปุม ISO) • On เปด ใช กลองจะปรับคา ISO ใหสูงขึ้น หากแสงไมพอ • Max. sensitivity ความไวแสงสูงสุดที่ใหกลองเปลี่ยนเลือกเองได 400 800 1600 • Min. shutter ตั้งความเร็วต่ําสุดที่จะใหกลองเปลี่ยนคา ISO ไดเอง 1/125 วินาที 1/100 วินาที 1/80 วินาที 1/60 วินาที 1/40 วินาที 1/30 วินาที 1/15 วินาที 1/8 วินาที 1/4 วินาที 1/2 วินาที 1 วินาที เลือกการทํางานของปุม ไทมเมอร/ฟงคชน ั่ (Fn- Function) ใหทํา หนาที่ (เลือกไดเพียง 1 รายการ) • • • • •

Self-timer ใชตั้งเวลานับถอยหลัง Shooting mode เปลี่ยนโหมดการถายภาพ (ทีละภาพ/ถายตอเนื่อง) Image quality/size ใชเปลี่ยนแบบไฟลภาพหรือขนาดกรอบภาพ ISO sensitivity ใชเปลี่ยนคาความไวแสง ISO White balance ใชเปลี่ยนคาสมดุลยแสงสีขาว

12. AE-L/AF-L กําหนดหนาที่ปุม AE-L/AF-L • • • • •

AE/AF lock * AE lock only AF lock only AE lock hold AF-ON

13. AE lock การล็อคคาแสงที่วัดได • Off * • On 14. Built-in Flash แฟลชหัวกลอง • TTL • Manual Full power 1/2 - 1/32 15. Auto off timers กําหนดเวลาปดเครื่องวัดแสง • • • •

กําหนดการทํางานของปุมAE-L/AF-L • • • • •

AE/AF Lock * ล็อคคาแสง และโฟกัส เมื่อกดปุม AE/AF-L คางไว* AE L Only ล็อคเฉพาะคาแสง เมื่อกดปุม AE/AF-L คางไว AF Lock หา และ ล็อคเฉพาะระยะโฟกัส เมื่อกดปุม AE/AF-L คางไว AE L Hold ล็อคคาแสง เมื่อกด AE/AF-L 1 ครั้ง, ปลดลอค 1 ครั้ง AF-On ใหทําหนาที่เหมือนปุน AF-ON (หาระยะโฟกัส แลวล็อคไว)

เมื่อกดปุมชัตเตอรเบาๆครึ่งทาง ใหกลองล็อคคาแสงที่วัดไดโดยทันที • Off * ปด ไมใชงาน* • On เปด ใหกลองล็อคคาแสงไวนานเทาที่กดปุมชัตเตอรครึ่งทาง กําหนดการทํางานของแฟลชหัวกลอง • TTL * วัดแสงแฟลชผานเลนส* • Manual ยิงแสงแฟลชตามที่ผูใชตั้งอัตรากําลัง Full power ยิงแสงแฟลชเต็มที่ (ไกดนัมเบอร 13 ม.ที่ ISO 100) 1/2 - 1/32 (ลดทอนกําลังแฟลชลงตั้งแต 1/2 ถึง 1/32)

กําหนดเวลาปด Off เครื่องวัดแสงเองภายในกลอง โดยอัตโนมัติ

Short Normal * Long Custom Playback / menus 4, 8 or 20 sec 1 or 10 min Image review 4, 8 or 20 sec 1 or 10 min Auto meter-off 4, 8 or 20 sec 1 or 30 min 16. Self-timer กําหนดเวลาไทมเมอร นับถอยหลัง •2s •5s • 10 s * • 20 s

• • • •

Short 4 วินาที หลังจากที่แสดงภาพที่ถายบนจอ LCD Normal 8 วินาที หลังจากที่แสดงภาพที่ถายบนจอ LCD * Long 20 วินาที หลังจากที่แสดงภาพที่ถายบนจอ LCD Custom กําหนดโดยตัวผูใชเอง วาจะใหกลองปด Off ตัวเอง Playback / menus เมื่อใชแสดงภาพที่ถายบันทึกหรือใชดูเมนู ตั้งปด Off ตัวเองภายใน 8, 12 หรือ 20 วินาที ตั้งปด Off ตัวเองภายใน 1 หรือ 10 นาที Image review เมื่อใชแสดงภาพที่ถายเพิ่งถายไป ตั้งปด Off ตัวเองภายใน 4, 8 หรือ 20 วินาที ตั้งปด Off ตัวเองภายใน 1 หรือ 10 นาที Auto meter-off เมื่อไมมีการใชงานใดๆ ตั้งปด Off ตัวเองภายใน 4, 8 หรือ 20 วินาที ตั้งปด Off ตัวเองภายใน 1 หรือ 30 นาที

ตั้งวลานับถอยหลัง (ไทมเมอร) กอนที่จะลั่นชัตเตอร • 2 วินาที • 5 วินาที • 10 วินาที * • 20 วินาที

17. Remote on duration กําหนดเวลาคอยสัญญาณรีโมท • 1 min * • 5 min • 10 min • 15 min

กําหนดเวลาคอยสัญญาณรีโมท กอนที่ยกเลิกการทํางานของรีโมท • 1 นาที * • 5 นาที • 10 นาที • 15 นาที

18. Date Imprint พิมพบันทึกวันที่ลงในภาพ • Off • Date • Date and Time * • Date Counter

สั่งใหกลองเขียน แสดงวันที่, เวลา ขณะที่ถายภาพ ลงไปในภาพถาย • Off * ปด ไมใชงาน* • Date พิมพแสดงเฉพาะวันที่ • Date and Time พิมพแสดงเฉพาะวันที่ และ เวลา ที่ถายภาพนั้น • Date Counter พิมพจาํ นวนวันเดือนประหวางชวงวันที่ที่กําหนดให

19. Rangefinder เครื่องหาระยะโฟกัส • Off * • On

สั่งกลองใหแสดงตําแหนงจุดที่กลองกําลังจับโฟกัสอยู • Off * ปด ไมใชงาน* • On เปด ใหกลองแสดงตําแหนงจุดโฟกัสในชองมองภาพ

D60 - Retouch Menu ชุดรายการคําสั่งปรับแตงภาพสําเร็จรูปภายในตัวกลอง (กลองจะสรางไฟลภาพขึ้นใหใหม โดยจะยังเก็บไฟลภาพตนฉบับเดิมไวในการดบันทึกภาพ)

* Default คาปริยายที่ถูกตั้งมาจากโรงงาน

หัวขอคําสั่ง • ตัวเลือก Quick Retouch ตัดแตงภาพอยางรวดเร็ว • High • Normal • Low

สั่งกลองทําการตัดแตงภาพใหเอง โดยกลองจะปรับเรงคอนทราส Contrast และ ความเขมสี Saturation ที่ถูกตั้งมาจากโรงงาน • High ปรับใหมากกวาปกติ • Normal ปรับแตงธรรมดา • Low ปรับแตงใหนอยลงกวาปกติ

D-Lighting ตั้งชดเชยภาพที่ถายยอนแสง • High • Normal • Low

สั่งกลองใหปรับความสวางของตัวแบบในภาพ ใหดูสวางขึ้นเมื่อ ถายภาพยอนแสงหรือ มีแสงฉากหลัง background ที่สวางเกินไป • High ปรับใหมากกวาปกติ • Normal ปรับแตงธรรมดา • Low ปรับแตงใหนอยลงกวาปกติ

Red-eye correction ปรับแกอาการตาแดงจากแสงแฟลช • Thumbnail select (single) Zoom / Save Trim ตัดขอบเพื่อลดขนาดภาพ • Thumbnail select (single) Size 2560 x 1920 1920 x 1440 1280 x 960 920 x 720 640 x 480 Pan trim area Cancel / Save

ใชไดเฉพาะกับภาพที่ใชแสงแฟลชถายภาพเทานั้น

Monochrome ทําใหเปนภาพโมโนโครม • Black-and-white Thumbnail select (single) Save

ความหมาย และ คําอธิบาย

• Thumbnail select เลือกภาพยอยที่เก็บบันทึกไวในการด Zoom / Save ซูมดูภาพ/เซฟเก็บไว Crop ครอปตัดขอบเพื่อลดขนาดภาพใหเล็กลง • Thumbnail select เลือกภาพยอยที่เก็บบันทึกไวในการด Size ตัดขอบภาพออกใหเหลือภาพขนาด 2560 x 1920 1920 x 1440 1280 x 960 920 x 720 640 x 480 Pan trim area กวาดดูบริเวณขอบภาพที่ถูกตัดออกไป Cancel / Save ยกเลิก/ปรับและเซฟเก็บไว

ลบสีในภาพใหเหลือเพียงสีเดียว (โดยไลโทนสีออน-สีเขม) • Black-and-white ภาพโทน ขาว-ดํา Thumbnail เลือกภาพยอยที่เก็บบันทึกไวในการด Save ปรับแตงและเซฟเก็บไว

• Sepia Thumbnail select (single) Lighter / Darker Save • Cyanotype Thumbnail select (single) Lighter / Darker Save Filter effects ทําใหเสมือนใสฟลเตอรสี • • • • • •

Sky light Warm filter Red Intensifier Green Intensifier Blue Intensifier Cross screen Number of points Filter amount Filter angle Length of points • Color balance Small picture ลดขนาดของภาพ • Select picture Thumbnail select (multi) Set / Zoom / Done • Choose size 640 x 480 320 x 240 160 x 120 Image overlay การทําภาพซอนกัน • Image 1 Image Thumbnail (single) Gain (x0.1 - x2.0) • Image 2 Image Thumbnail (single) Gain (x0.1 - x2.0) • Save

NEF (RAW) Processing แปลงไฟล NEF (RAW) ใหเปน JPEG • Thumbnail เลือกไฟลภาพ Image Quality Image size White Balance Exposure Comp Optimize image

• Sepia ภาพโทน สีซีเปย Thumbnail เลือกภาพยอยที่เก็บบันทึกไวในการด Lighter / Darker ปรับโทนสีออน/สีเขม Save ปรับแตงและเซฟเก็บไว • Cyanotype ภาพโทนฟอก สีคราม ฟา-ขาว Thumbnail เลือกภาพยอยที่เก็บบันทึกไวในการด Lighter / Darker ปรับโทนสีออน/สีเขม Save ปรับแตงและเซฟเก็บไว ปรับแตงเรงสีในภาพใหดูเหมือนใสแผนกรองแสงฟลเตอรถายภาพ • • • • • •

Sky light เสมือนใชฟลเตอรสีชมพูออน (ลดสีฟาในบริเวณรมเงา) Warm filter เสมือนใชฟลเตอรชมพูสม  (ทําใหภาพดูอุนขึ้น) Red Intensifier ปรับแตงสีแดง (ดอกไม) ในภาพใหดูอิ่มเขมขึ้น Green Intensifier ปรับแตงสีเขียว (ปาไม) ในภาพใหดูอิ่มเขมขึ้น Blue Intensifier ปรับแตงสีน้ําเงิน (ทะเล) ในภาพใหดูอิ่มเขมขึ้น Cross screen เพิ่มแฉกประกายดาวในภาพ Number of points ตั้งจํานวนแฉก ของประกายดาว (4-8 แฉก) Filter amount ตั้งความเขมของ แฉกประกายดาว Filter angle ตั้งมุมเอียง ของประกายดาว Length of points ตั้งความยาวของหางประกายดาว • Color balance การปรับโทนสีตามที่ตองการ

ยอลดขนาดภาพใหเล็กลงเพื่องายสําหรับสงภาพทางเนตฯหรืออีเมล • Select picture เลือกภาพที่ตองการ Thumbnail select เลือกภาพยอยที่เก็บบันทึกไวในการด Set / Zoom / Done ตั้งขนาด/ซูมดูภาพ/ เซฟเก็บไว • Choose size เลือกขนาดที่ตองการยอใหเหลือ 640 x 480 สําหรับดูทางโทรทัศน 320 x 240 สําหรับแสดงทางอินเตอรเนต 160 x 120 สําหรับเมล ใชไดเฉพาะไฟลภาพที่บันทึกไวแบบ NEF เทานั้น • Image 1 เลือกภาพแรก Image Thumbnail เลือกไฟลภาพ * ที่เก็บบันทึกไวในการด Gain (x0.1 - x2.0) ปรับความเขมจางของภาพแรก • Image 2 เลือกภาพที่ตองการใหซอนทับภาพแรก Image Thumbnail เลือกภาพยอย* ที่เก็บบันทึกไวในการด Gain (x0.1 - x2.0) ปรับความเขมจางของภาพที่ซอนทับ • Save ซอนทับและเซฟเก็บไว * ใชไดเฉพาะกับไฟลภาพที่บันทึกไวในแบบ RAW (NEF) เทานั้น

สั่งใหกลองแปลงไฟลภาพ NEF (RAW) ใหเปน JPEG • Thumbnail เลือกไฟลภาพ NEF(RAW) ที่เก็บบันทึกไวในการด Image quality เลือกขนาดไฟลภาพ ฺFine, Normal, Basic Image size เลือกขนาดกรอบภาพ L, M, S White Balance เลือกคาสมดุลยแสงสีขาว Exposure comp. เลือกคาชดเชยแสง Optimize image เลือกการแตงภาพเพิ่มเติม

Stop Motion Movies แปลงภาพนิ่งใหเปนภาพยนต • Create Movie Thumbnail • Frame size • Frame rate

สั่งใหกลอง ทําการแปลงภาพนิ่งใหเปนภาพยนต ดวยการนําภาพนิ่งที่ ถายไวเอามาแสดงติดตอเนื่องกันอยางรวดเร็ว • เริ่มสรางภาพยนต Thumbnail เลือกไฟลภาพ ที่เก็บบันทึกไวในการด • เลือกขนาดภาพ 640 x 480, 320 x 240, หรือ 160 x 120 • เลือก อัตราความเร็วในการแสดงภาพ 15, 10, 6, 3 ภาพตอวินาที

Before and after เปรียบเทียบเคียงภาพ

สั่งใหกลองแสดงภาพตนฉบับ และภาพสําเนาจากการ Retouch (ตกแตงภายในกลอง) เคียงคูกัน ซายและขวา เพื่อดูเปรียบเทียบกัน

Related Documents


More Documents from "SMII"