Force

  • May 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Force as PDF for free.

More details

  • Words: 1,779
  • Pages: 15
แรง แรงเปนสิ่งที่มคี วามสําคัญมากในทางฟสกิ ส ในบทนี้จะเปนการกลาวถึงสมบัติของแรง และผลของแรงชนิดตาง ๆ ทีก่ ระทําตอเครือ่ งมือซึ่งเปนวัตถุแข็งเกร็ง เปนผลทําใหเทหวัตถุแข็ง เกร็งเคลื่อนที่ 4.1 ธรรมชาติของแรง แรง คือ อํานาจอยางหนึ่งซึ่งสามารถเปลี่ยนหรือพยายามเปลี่ยนสถานะการเคลื่อนที่ของ วัตถุหรือพยายามทําใหวัตถุเปลี่ยนขนาดหรือรูปทรง การพยายามเปลีย่ นสถานะการเคลื่อนที่กลาว ใหงายขึน้ ก็คือ การทําใหวัตถุที่อยูนิ่งเกิดการเคลื่อนที่หรือทําใหวตั ถุที่กําลังเคลื่อนที่อยูแลวหยุดลง หรืเคลื่อนที่ชาลงหรือเคลื่อนที่เร็วขึ้น หรือเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ แรงเปนปริมาณเวกเตอรการกลาวถึงแรงใหไดความหมายสมบูรณจะตองกลาวถึงสมบัติ ตอไปนี้ของแรง คือ ขนาด ทิศทาง จุดทีแ่ รงกระทําหรือตําแหนงของจุดใด ๆ บนแนวแรง ตัวอยาง เชน มีแรง P กระทําตอหูชาง (Bracket) ดังรูป

v รูป 4.1 แรง P กระทําตอหูชา ง ที่จุด A เปนมุม θ

ถาขนาดแรง P หรือมุม θ หรือจุด A ซึ่งเปนตําแหนงที่แรงกระทําอยางใดอยางหนึ่ง เปลี่ยนคาไป ผลของแรงที่เกิดขึ้นที่ตวั หูชา งจะมีการเปลีย่ นแปลงไปจากเดิม ในการออกแรง กระทําตอวัตถุเนื่องจากวัตถุทุกชนิดมีความเฉื่อย (Inertia) เปนสมบัตปิ ระจํา ดังนัน้ เมื่อถูกแรง กระทํามันจึงออกแรงโตตอบเพื่อจะรักษาสถานะภาพเดิม แรงโตตอบนีจ้ ะอยูใ นแนวเดียวกับแรง กระทํา มีขนาดเทากับแรงกระทําแตมีทิศทางตรงขาม จึงมีชื่อเรียกวาแรงปฏิกิริยา (Reaction force) จึงอาจกลาวไดวาแรงจะเกิดเปนคูเ สมอ ไมไดอยูอ ยางโดดเดี่ยว ซึ่งเปนสิ่งที่จะตองระลึก เอาไวในใจเสมอขณะทําการวิเคราะหแรงที่กระทําตอวัตถุ

4.2 การวัดแรง การวัดแรงในวิชากลศาสตรใชหลักการตาง ๆ กัน 3 ประการ คือ 1. วัดแรงดวยการเคลื่อนที่ของวัตถุในระยะเวลาหนึ่ง ๆ 2. วัดแรงดวยขนาดหรือรูปทรงของกอนวัตถุที่เปลี่ยนแปลงไป เชน กรณีเรื่องความดัน ของกาซ เปนตน 3. วัดแรงโดยการเทียบขนาดกับแรงที่รูคาอยูแลว ซึ่งโดยปกติมักวัดโดยเครื่องชั่งทุกแบบ เชน ใหแรงทีต่ องการวัดทําการยืดสปริงซึ่งไดปรับระยะเทียบออกมาเปนแรงแลว เปนตน หนวย ของแรงในระบบเอสไอ แรงมีหนวยวัดเปนนิวตัน สัญลักษณ (N) ในระบบอังกฤษ แรงมีหนวย เปนปอนด สัญลักษณ (lb) 4.3 ระบบของแรง การจําแนกระบบของแรง อาจแบงได 2 ระบบ ดังนี้ 4.3.1 ระบบแรงในระนาบเดียวกัน (Coplanar force systems) คือ ระบบ ที่แรงทุกแรงที่ กระทําตอวัตถุ แนวแรงจะวางตัวบนระนาบเดียวกัน บางครั้งมีผูเรียกระบบแรงนีว้ า ระบบแรง 2 มิติ 4.3.2 ระบบของแรงตางระนาบ (Non-coplanar force systems) คือ ระบบที่แรงกระทํา ตอวัตถุแนวแรงไมวางตัวอยูบนระนาบเดียวกัน บางครัง้ เรียกแรงระบบ 3 มิติ ระบบของแรงทั้ง 2 ระบบยังแยกยอยออกเปน 1. ระบบที่แรงทุกแรงที่กระทําตอวัตถุ แนวแรงวางตัวอยูในเสนตรงเดียวกัน (Collinear force systems) ระบบนี้จดั อยูในกลุม Coplanar คืออยูในระนาบเดียวกัน 2. ระบบที่แรงกระทํามีแนวแรงตัดกันที่จดุ เดียวกัน (Concurrent force systems) 3. ระบบที่แรงกระทํามีแนวแรงที่ไมไดตดั กันที่จุดจุดเดียวกัน (Non-concurrent force systems) 4. ระบบแรง ที่แรงกระทําทุกแรงในระบบมีแนวแรงขนานกัน (Parallel force systems) 4.4 การแยกแรง ในวิชากลศาสตรแรงที่กระทําตอวัตถุหรือเครื่องมือตาง ๆ ในแตละชิน้ มิไดมีแรงกระทํา เพียงแรงเดียว หากแตมแี รงกระทําเปนจํานวนมากและเนื่องจาก แรงเปนปริมาณ เวกเตอร การหา แรงลัพธจากแรงตาง ๆ จึงเปนเรื่องลําบากเพื่อใหการคํานวณหาแรงลัพธที่กระทําตอวัตถุเนื่องจาก v แรงหลายแรงมีความสะดวก การศึกษาการแยกแรงจึงเปนสิ่งจําเปน การแยกแรงแรงหนึ่งแรง R

สามารถแยกไดออกเปนแรงยอยสองแรง ซึ่งแรงยอยทั้งสองจะตั้งฉากกันหรือไมก็ได กรณีการแยก แรงยอยที่สําคัญที่สุด คือ การแยกแรงยอยที่มีแนวทิศของแรงยอยตั้งฉากซึ่งกันและกัน 4.4.1 การแยกแรงเดี่ยวออกเปนแรงยอยสองแรงตั้งฉากกัน (Rectangular component) พิจารณาแรงลัพธ R ทํามุม θ กับแนวนอน การหาแรงองคประกอบยอยของแรงลัพธ R ทําได โดยการสรางแกน X แกน Y โดยใหจุดกําเนิดอยูทางหางของเวกเตอรลัพธ R แลวทําการแยก แรงลัพธ R เขาแกน X และแกน Y เพื่อใหแรงลัพธ R ในแนวแกน X ตั้งฉากกับแรงลัพธ R v ในแนวแกน Y ถา Rx คือ ขนาดของแรงลัพธ R ในแนวแกน X และ Ry คือขนาดของแรง v ลัพธ R ในแนวแกน Y ขนาดของแรงองคประกอบยอยสามารถหาไดจากนิยามของฟงกชันใน วิชาตรีโกณมิติที่วา

v รูป 4.2 Rx และ Ry เปนองคประกอบยอยของ R

R Rx = cos θ และ y = sin θ R R Rx = R cos θ และ Ry = R sin θ

……….4.1

คาของแรงองคประกอบยอย Rx และ Ry จะมีคาเปนบวกหรือลบ ขึน้ กับทิศของเวกเตอร แรง Rx และ Ry ถาเวกเตอรแรง Rx มีทิศพุงไปทางขวาคาของ Rx จะเปนบวก แตในทิศตรงกัน ขามคาของ Rx จะเปนลบ สําหรับเวกเตอรแรง Ry ถามีทิศพุงขึ้น ดานบนคา Ry จะเปนบวกใน ทิศทางตรงขามคา Ry จะเปนลบ การแยกแรงใหตั้งฉากกันอาจเปนแนวคูใ ด ๆ ก็ได เชน

จากรูปการแยกเวกเตอรแรงลัพธ สามารถสรุปไดวาถาแรงที่จะแยกทํามุมกับแกนอางอิงใด ขนาดของแรงยอยในแกนอางอิงนั้นเทากับขนาดผลคูณของแรงที่จะแยกกับ cos θ สวนขนาดของ แรงยอยในแนวแกนอางอิงอีกแกนหนึ่งทีต่ งั้ ฉากจะมีคาเทากับขนาดผลคูณของแรงที่จะแยกกับ sin θ 4.4.2 การแยกแรงเดี่ยวออกเปนแรงองคประกอบยอยสองแรงที่ไมตงั้ ฉากกัน สมมติเรา ตองการแยกแรง F ออกเปนแรงยอยคูหนึ่งซึ่งมีแนวทิศไมตั้งฉากซึ่งกันและกันใหแนวทิศของแรง F ทํามุม α และ β กับแนวทิศของแรงยอยทั้งสองที่แยกไดตามลําดับ ลากเสน OC แทน เวกเตอรแรง F ลากเสนตรง OA และ OB ทํามุม α และ β กับ OC จากจุด C ลากเสน ขนานใหไดสี่เหลี่ยม OACB จะได OA และ OB เปนแรงองคประกอบยอยของแรง F

ใชทฤษฎีบทของลามี (Lami’s theorem) ที่วา “เมื่อมีแรงสามแรงมากระทํารวมกันที่ อนุภาคหนึ่งและเปนผลทําใหทั้งหมดอยูในสภาพสมดุลแลว แรงแตละแรงยอมเปนสัดสวน โดยตรงกับ sine ของมุมที่อยูระหวางแนวทิศของแรงสองแรงที่เหลืออยูนั้น” กับสามเหลี่ยม OAC จากรูป OA AC OC = = จะได sin OCˆA sin COˆA sin OAˆC OA AC OC = = sin β sin α sin [180 − (α + β)] OA OB OC = = sin β sin α sin [180 − (α + β)] OA OB F = = sin β sin α sin ( α + β) OA F เพราะฉะนั้น = sin β sin ( α + β)

OA

=

OB

=

F sin β sin ( α + β) F sin α sin (α + β)

……….4.2 ……….4.2

4.4.3 การแยกแรงตางระนาบ ปญหาในทางกลศาสตรสวนใหญเปนปญหาในระบบพิกัดฉากสามมิติ ดังนั้นการ แกปญหาทางกลศาสตรจําเปนตองศึกษาเกี่ยวกับแรงกระทําตอวัตถุในระบบพิกัดฉากสามมิติ โดยเฉพาะในเรื่องของการ

รูป 4.5 แสดงองคประกอบของแรงในระบบ 3 มิติ v จากรูป 4.5 องคประกอบของแรง F คือ FxFy และ Fz ทําใหเกิดขอบ กลอง v ลูกบาศกโดยมีแรง F เปนเสนทแยงมุม ทํามุมกับแกน X Y และ Z ดวยมุม θx θy และ θz ตามลําดับ = F cos θx จากหลักการแยกเวกเตอร Fx Fy = F cos θy = F cos θz Fz

โดยขนาดของแรง F = ( Fx ) 2 + ( Fy ) 2 + ( Fz ) 2 v เทอม cosθx , cosθy , cosθz มีชื่อเรียกวา Direction cosine ของ F ใชสําหรับบอกทิศ v สําหรับกรณีทจี่ ําเปนจะตองหาองคประกอบของแรง F ในระนาบ X – Y X – Z หรือระนาบ Y – Z แรงองคประกอบเหลานี้จะเปน Fxy Fxz และ Fyz โดย Fxy ทํามุม θxy กับ ระนาบ X – Y Fxz ทํามุม θxz กับระนาบ X – Z และ Fyz ทํามุม θyz กับระนาบ Y – Z

รูป 4.6 แสดงองคประกอบของแรงในระนาบ โดย Fxy = F cos θxy ; Fxz = F cos θxz ; Fyz = F cos θyz จากรูป คา Direction cosine ของแรงองคประกอบในระนาบสามารถกําหนดไดวา cos θxy

OA = = OB

cos θxy = cos θyz =

x2 + y2 x2 + y2 z2

x2 + z2 x2 + y2 z2 y2 + z2 x2 + y2 z2

ตัวอยางที่ 2 แรงขนาด 100 นิวตัน กระทําผานตําแหนง (5,4,3) จงหา ก) องคประกอบของแรง 100 นิวตัน ในแกน X Y และ Z ข) องคประกอบของ 100 นิวตัน ในระนาบ X – Y ก) แนวคิด การหาองคประกอบของแรงในแตละแนวแกนจําเปนตองทราบคา Direction Cosine ของแรง จากโจทย 5 cos θx = = 0.707 2 2 2 ( 5) + ( 4 ) + ( 3) 4 cos θy = = 0.566 2 2 2 ( 5) + ( 4 ) + ( 3) 3 cos θz = = 0.424 2 2 2 ( 5) + ( 4 ) + ( 3) องคประกอบของแรง F เปน

Fx = F cos θx = 100 × 0.707 = 70.7 N Fy = F cos θy = 100 × 0.565 = 56.6 N Fz = F cos θz = 100 × 0.424 = 42.4 N

ตอบ

ข) องคประกอบของแรง 100 นิวตัน ในระนาบ X - Y Fxy = F cos θxy แต

cos θxy

=

cos θxy

=

cos θxy

=

cos θxy

= = =

Fxy Fxy

x2 + y2 x2 + y2 + z2 ( 5) 2 + ( 4 ) 2 ( 5) 2 + ( 4 ) 2 + ( 3) 2 41 50 0.906 100 × 0.906 90.6 N

ตอบ

4.5 การรวมแรง เมื่อมีแรงสอนแรงไปกระทําตอวัตถุเดียวกันในเวลาเดียวกัน เราสามารถรวมแรงตาง ๆ ที่ กระทําเหลานัน้ ได ซึ่งการรวมแรงก็คือ การหาแรงลัพธนั้นเอง 4.5.1 การรวมแรงในระนาบ 1. เมื่อแรงยอยนั้น ๆ กระทําตอวัตถุในทิศเดียวกัน แรงลัพธที่วัตถุนั้นไดรับคือ ผลบวกของแรงยอยทั้งสอง และทิศทางของแรงลัพธจะเปนเชนเดียวกับทิศทางของแรงยอย 2. เมื่อแรงยอยนั้น ๆ กระทําตอวัตถุในทิศตรงกันขามแรงลัพธที่วัตถุนั้น ๆ ไดรับ คือผลตางของแรงยอยทั้งสองนั้น และทิศทางของแรงลัพธจะเปนเชนเดียวกับทิศทางของแรงยอยที่ มีคามากกวา 3. เมื่อแรงสองแรงไปกระทํารวมกันตอวัตถุในทิศทางทีท่ ํามุม θ ซึ่งกันและกัน ณ จุดทีแ่ รงไปกระทํา เราหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ R ไดโดยการใช cosine law ดังที่เคย แสดงไวในเรือ่ งการบวกเวกเตอรหวั ขอ 3.2.2 ตามสมการ 3.1

v R = A 2 + B 2 + 2 AB cos θ v เมื่อ R = ขนาดเวกเตอรลัพธ A = ขนาดเวกเตอรแรก B = ขนาดเวกเตอรหลัง θ = มุมที่เวกเตอร A และ B กระทํารวมกัน และใชกฎสามเหลี่ยมมุมฉากในการหาทิศทางของแรงลัพธดังสมการ 2.2 B sin θ tan α = A + B cos θ

ที่วา

เมื่อ α = มุมที่เวกเตอรลัพธ R ทํากับเวกเตอร A ตัวอยางที่ 3 แรงขนาด 20 นิวตัน และ 30 นิวตัน มากระทํารวมกัน ณ จุด ๆ หนึง่ เปนมุม 37 องศาจงหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธโดยการคํานวณ v วิธีทํา จากสูตร R = A 2 + B 2 + 2 AB cos θ v R = ( 20 ) 2 + (30 ) 2 + 2( 20 )(30 ) cos 37° =

( 20 ) 2 + ( 30 ) 2 + 2( 20 )(30 ) (0.7986)

= 2258.36 = 47.52 N B sin θ จากสูตร tan α = A + B cos θ 30 sin 37° tan α = 20 + 30 cos 37° 18.05 tan α = 43.96 α = 22.32 องศา แรงลัพธมีขนาด 47.52 นิวตันและทํามุมกับแรง 20 นิวตันเปนมุม 22.32 องศา ตอบ v R

4. เมื่อแรงหลายแรงมากระทํารวมกันทีจ่ ดุ จุดหนึ่งในทิศทางตางกัน ถาแรง เหลานั้นไมอยูใ นสภาพสมดุล เราสามารถหาแรงลัพธไดโดยการสรางรูปและการวัดหรือการ คํานวณโดยการแยกแรง แตการหาแรงลัพธที่นิยมใชกนั ในทางปฏิบัตนิ ิยมใชการคํานวณ การ คํานวณหาแรงลัพธเนื่องจากแรงหลายแรงโดยวิธีการแยกแรงเปนองคประกอบยอย พึงระลึกวาการ แยกแรงองคประกอบยอยในระบบพิกัดฉากไมจําเปนตองกําหนดใหแกน X อยูในแนวนอนและ แกน Y อยูในแนวดิ่งเสมอไป ตัวอยางกรณีวัตถุวางอยูบ นพื้นเอียงมุม θ น้ําหนักของวัตถุจะพุง ลงในแนวดิ่งการหาองคประกอบยอยของน้ําหนักวัตถุจะตองกําหนดแกน X และ Y ขนานกับพืน้ เอียงและตั้งฉากกับพื้นเอียงตามลําดับ ดังรูป

ตอจากนัน้ จึงทําการแยกน้ําหนัก (แรงโนมถวงของโลกที่ทําตอวัตถุ) เพื่อหา องคประกอบยอยในแนวพืน้ เอียง (wx) และองคประกอบยอยในแนวตั้งฉากกับพื้นเอียง (wy) ในกรณีวัตถุมแี รงมากกวา 2 แรงมากระทําที่จุดเดียวกัน การหาแรงลัพธของแรง ที่มากระทํามีวธิ ีการตามลําดับขั้น 1. สรางแกน X และ แกน Y โดยถือจุดกําเนิด (Origin) เปนจุดหลักที่แรงมา กระทํา 2. เขียนเสนตรงแทนแรงยอยทั้งหลายทีก่ ําหนดโดยหางของเวกเตอรแรงยอยทุก ตัวตองอยูทจี่ ุดกําเนิดของระบบพิกัดฉาก 3. แยกแรงแตละแรงที่กระทําเขาแกน X และแกน Y 4. หาผลบวกทางพีชคณิตของแรงองคประกอบยอยตามแนวแกน X และแกน Y ยึดหลัก - แยกแรงเขาแกน X ทางขวามีคาเปนบวก - แยกแรงเขาแกน X ทางซายมีคาเปนลบ - แยกแรงเขาแกน Y ดานบนมีคาเปนบวก - แยกแรงเขาแกน Y ดานลางมีคาเปนลบ

5. หาขนาดของแรงลัพธเนื่องจากผลรวมแรงยอยในแนวแกน X (∑Fx) ผลรวม ของแรงยอยในแนวแกน Y (∑Fy) ตั้งฉากกัน ดังนั้นขนาดของแรงลัพธสามารถหาไดโดยใชกฎ สามเหลี่ยมมุมฉาก นั้นคือ v R = ( ∑ Fx ) 2 + ( ∑ Fy ) 2 และหาทิศทางของแรงลัพธที่ทํากับแกน X ไดโดยใชความสัมพันธในวิชา ตรีโกณ จะไดวา tan α =

∑ Fy ∑ Fx

α คือมุมที่เวกเตอรลัพธ R ทํากับแกน X α ตัวอยางที่ 4 กําหนดแรง 3 แรงกระทําทีจ่ ุด O ดังรูป โดยมี F1 = 12 นิวตัน F2 = 20 นิวตัน ทํามุม 60 องศาบนแกน X และ F3 = 15 นิวตัน ทํามุม 45 องศาใตแกน X

แยกแรง แรง F1 F2 F3 รวมแรงในแตละแนวแกน แกน X

แกน X

F1 F2 cos 60° -F3 cos 45°

แกน Y F2 cos 60° -F3 cos 45°

∑Fx = 12 + 20 cos 60° + (-15 cos 45°) ∑Fy = 11.39 N

∑Fy = 0 + 20 sin 60° + (-15 sin 45°) ∑Fy = 6.71 N

แกน Y หาขนาดแรงลัพธ

R

=

( ∑ Fx ) 2 + ( ∑ Fy ) 2

= (11.39) 2 + ( 6.71) 2 R = 13.22 N ∑ Fy หาทิศของแรงลัพธ tan α = ∑ Fx 6.71 tan α = 11.39 α = 30.50° แรงลัพธมีขนาด 13.22 นิวตัน ทิศทางทํามุม 30.50 องศากับแกน X

ตอบ

4.5.2 การรวมแรงตางระนาบ เมื่อมีแรงมากระทําตอวัตถุ แตเราตาง ๆ ที่กระทําตอวัตถุไมอยูในระนาบเดียวกัน การรวมแรงตาง ๆ ใหเปนแรงลัพธเพียงแรงเดียวสามารถทําไดดังนี้ 1. ถาแรงทั้งหลายที่กระทําเหลานั้นวางตัวอยูในระนาบที่ตางกันเชน ระนาบ XY และระนาบ X – Y จะตองทําการแยกแรง ตางๆ เหลานั้นเขาสูแกน X Y และแกน Z 2. ถาแรงทั้งหลายที่กระทํามีบางแรงมิไดวางตัวอยูใ นระนาบ จะตองแยกแรง เหลานั้นเขาสูร ะนาบกอนแลวจึงคอยแยกเขาสูแกนตาง ๆ ตอไป 3. รวมแรงยอยในแตละแนวแกนเพื่อหาแรงลัพธในแตละแกน นั้นคือหาคา (1) ∑Fx (2) ∑Fy และ (3)∑Fz 4. นําแรงลัพธของแตละแกนมารวมกัน เพื่อหาขนาดแรงลัพธสุทธิ Fnet โดยใช ความสัมพันธ

Fnet =

( ∑ Fx ) 2 + ( ∑ Fy ) 2 + ( ∑ Fz ) 2

5. หาทิศทางของแรงลัพธที่กระทําตอแนวแกนตาง ๆ โดยใชการบอกทิศแบบ direction cosine ซึ่งเปนการบอกทิศโดยใชฟงกชั่น cosine ดังความสัมพันธที่วา F cos θx = x F

F cos θy = y F Fz cos θz = F

ให

θx θy θz

คือมุมที่แรงลัพธสุทธิทํากับแกน X คือมุมที่แรงลัพธสุทธิทํากับแกน Y คือมุมที่แรงลัพธสุทธิทํากับแกน Z

ตัวอยางที่ 5 จงหาผลรวมของแรงสามแรงตามรูป พรอมหา Direction Cosince

วิธีทํา แยกแรงทุกแรงเขาสูแ กน X Y Z แยกแรง F1 เขาแกน X ได F1x = เขาแกน Z ได F1z = ทํามุมกับระนาบ X – Z แรง F2 แยกแรง F2 เขาระนาบ X – Z F2xz (1)

F1 cos 60° -F1 cos 60° 35 องศา = F2 cos 35°

หาผลรวมแรงในแตละแนวแกน ΣFx = F1 x + F 2 xzx = 400 cos 60° + 600 cos 35° cos 60° = 445.75 N (2)

ΣFy = 600 sin 35° = 344.15 N

( 3)

ΣFz = = =

F3 + F1z + F2 xzz 300 − 400 sin 60° − 600 cos 35° sin 60° - 472.05 N

แรงลัพธ Fnet =

(ΣFx ) 2 + ( ΣFy ) 2 + ( ΣFz ) 2

= ( 445.75) 2 + (344.15) 2 + ( −472.05) 2 = 734.82 N

Fnet Direction cosine ของ Fnet

cos θx =

(1)

∑ Fx = 445.75 = 0.607

F 734.82 θx = 52.63 องศา (2) F ∑ y 344.15 cos θy = = = 0.468 F 734.82 θy = 62.09 องศา ( 3) F ∑ z = 472.05 = 0.642 cos θz = F 734.82 θz = 129.94 องศา

ตอบ

ตอบ

ตอบ

4.6 สรุป แรงเปนอํานาจอยางหนึ่งซึ่งสามารถเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุและหรือทําใหวัตถุ เปลี่ยนรูปรางได แรงเปนปริมาณเวกเตอร การวัดแรงที่กระทําตอวัตถุ สามารถทําไดโดยการ พิจารณาจากผลการเคลื่อนที่ของวัตถุ การเปลี่ยนรูปรางของวัตถุหรือเทียบขนาดแรงกระทํากับ ขนาดแรงที่รูคา สําหรับแรงที่กระทําตอวัตถุ เราสามารถจําแนกได 2 ระบบ คือ ระบบแรงใน ระนาบเดียวกัน กับระบบแรงตางระนาบ การหาผลรวมของแรงหรือแรงลัพธที่กระทําตอวัตถุ จําเปนตองพิจารณาระบบของแรงถา แรงที่กระทําเปนแรงในระนาบเดียวกัน เราสามารถรวมแรงลัพธไดดงั นี้ เมื่อแรงกระทํา 2 แรง แรงลัพธหาไดจากกฎของ cosine ดังในเรื่องการบวกเวกเตอรแต ถาแรงกระทํามากกวา 2 แรง แรงลัพธจะหาไดตองใชการแยกแรงเพือ่ หาแรงองคประกอบยอย กอนหาแรงลัพธ ในการแยกแรงองคประกอบยอย เราแยกแรงลัพธเปนแรงองคประกอบยอยได 2 แรง โดยแรงองคประกอบยอยทั้ง 2 จะตั้งฉากกันหรือไมก็ไดแตการแยกแรงองคประกอบยอยที่ สําคัญคือการแยกแรงองคประกอบยอย 2 แรงตั้งฉากกัน โดยแยกเขาแกน X และ Y ซึ่งหลักการ แยกแรงใชหลักที่วาถาแยกแรงลัพธเขาแกนที่แรงทํามุมผลไดคือ แรงลัพธคูณ cos ของมุม และถา แยกแรงลัพธออกจากแกนที่แรงทํามุมจะไดแรงองคประกอบ คือ แรงลัพธคูณ sin ของมุม เมื่อ

แยกแรงตาง ๆ เขาแกน X และแกน Y แลว จึงรวมแรงในแนวแกน X ใหเปน ∑Fx และรวม แรงในแนวแกน Y ใหเปน ∑Fy ขนาดของแรงลัพธหาไดจากความสัมพันธ (ΣFx ) 2 + ( ΣFy ) 2

R =

มุมที่เวกเตอร ทํากับแนวนอนหาไดจากความสัมพันธ ∑ Fx tan α = ∑ Fy กรณีแรงกระทําเปนแรงตางระนาบการหาผลรวมหรือแรงลัพธของแรงตางระนาบทําได โดยการแยกแรงที่กระทําเขาแกนแตละแกน โดยใชหลักการแยกแรงเขาแกนทํามุมแลวรวมแรงใน แตละแนวแกน นําแรงลัพธในแตละแกนมารวมกันจะไดแรงลัพธสุทธิ ดังสมการ Fnet

=

(ΣFx ) 2 + ( ΣFy ) 2 + ( ΣFz ) 2

การบอกทิศทางของแรงลัพธทําไดโดยการใช direction cosine ดังความสัมพันธ ∑ Fx cos θx = F ∑ Fy cos θy = F ∑ Fz cos θz = F

Related Documents

Force
November 2019 29
Force
May 2020 22
Force
May 2020 18
Force
May 2020 17
Force
May 2020 9
Force
November 2019 28