Employee Engagement

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Employee Engagement as PDF for free.

More details

  • Words: 211
  • Pages: 14
ลองดูกัน หลาย ๆ ท่านคงคงเคยได้ยินสำานวน ฝรั่งที่ว่า “People Organization But Leave their boss.” ที่มาของสำานวนนี้เกิดจากหลาย ๆ องค์กรที่พยายามสรรหาบุคคลากรเก่งๆ เข้ามาสูอ่ งค์กร แต่ไม่สามารรักษาคนเหล่านั้นไว้ได้

ส่วนใหญ่เรามักเข้าใจว่าการดึงดูดและรักษาคนให้อยู่ทำางานกับองค์ กรนั้นขึ้นอยู่กับเงินหรือค่าตอบแทนที่น่าพึงพอใจ แต่หากถามว่าเงินคือตัวแปรสำาคัญอย่างเดียวหรือไม่ คำาตอบคือไม่ใช่ เพราะการจากไปของพนักงานมาจากหลายสาเหตุ

การที่จะค้นหาตำาตอบที่แท้จริงว่าพนักงานลาออกจากองค์กรเพราะเหตุใ ด ต้องอาศัยระยะเวลาตรวจสอบอย่างใกล้ชิด เพราะแค่การสัมภาษณ์ตอนลาออก (Exit Interview) และเหตุผลที่เขียนในใบลาออกเพียงอย่างเดียวคงไม่ใช่คำาตอบที่แท้จริง เพราะคำาตอบที่พนักงานส่วนใหญ่ตอบคือ “ ไปเรียนต่อ ไปช่วยงานที่บ้าน ได้งานใหม่” ล้วนแต่เป็นคำาตอบเดิม ๆ ที่อาจจะจริงหรือไม่จริงก็ได้ ....อยากรู้คำาตอบไหม

การหาโอกาสค้นหาต้นตอของการลาออกด้วยการโทรศัพท์ไปสอบถา มพนักงานที่ลาออกจากองค์กรแล้วสักระยะเวลาหนึ่ง ดูจะได้ผลมากกว่า เพราะคนที่โบยบินไปแล้วมักจะยินดีให้ข้อมูลที่ถูกต้อง พบว่ากว่า 80% ของพนักงานที่ลาออกไปแล้ว ส่วนใหญ่กลับคำาให้การของตัวเองและค้นพบด้วยสาเหตุหลักของการ ลาออกนั้นมักมาจากปัญหาที่เกิดจากหัวหน้างาน สอดคล้องกันกับงานวิจัยของสถาบันด้านการพัฒนาบุคลากรทั้งภายใน และภายนอกประเทศที่ว่า คนเข้าทำางานเพราะองค์กรแต่จากไปเพราะหัวหน้าได้เป็นอย่างดี ต่อนะ

ก ส่วนใหญ่มักเลื่อนจากตำาแหน่งพนักงานให้มาเป็นหัวหน้าโดยอาศัยเกณฑ์ Technical Skill มากกว่า People Skill หรือมักเลื่อนตำาแหน่งจากชิ้นงานมากกว่าการบริหารจัดการคน ความเชือ่ เหล่านี้ไม่ถูกต้องจริง เพราะหัวหน้าที่ดีต้องมี People Skill ประกอบด้วย แต่องค์กรมักมองข้ามข้อนี้ไป มีไปไม่กี่องค์กรเท่านั้นที่มีการพัฒนาเรื่อง People Skill ให้กับคนที่จะขึ้นมาเป็นหัวหน้า บางองค์กรเลวร้ายกว่านั้นคือไม่มีการพัฒนา People Skill ให้กับคนที่จะขึ้นมาเป็นหัวหน้าเลย จนทำาให้เกิดปัญหาเรื้อรังและส่งผลให้คนดี คนเก่งในองค์กรต้องหลีกหนีหัวหน้างานเหล่านั้นไปเอง อ่านต่อจ้า

เมื่อเร็ว ๆ นี้ ได้มีปรมาจารย์ด้าน Executive Coaching ท่านหนึ่ง ชื่อ Marshall Goldsmith ได้บรรยายหัวข้อที่น่าสนใจเกี่ยวกับภาวะผู้นำา และทิ้งข้อคิดไว้เตือนสติหัวหน้าหลาย ๆคนที่นั่งฟังวันนั้นว่า What got you here, won’t get you there” หมายความว่า “วิธีการที่ท่านให้ในอดีตและทำาให้ท่านประสบความสำาเร็จในวันนี้ อาจไม่ใช่วิธกี ารที่ท่านจะนำาไปใช้เพื่อสร้างความสำาเร็จในอนาคต” ต่อจ้า

Peter Drucker ปรมาจารย์ด้านภาวะผู้นำา กล่าวไว้ว่า “พวกเราใช้เวลามากมายในการสอนหัวหน้าว่าพวกเขาควรต้องทำาอะไรเพิ่ มเติมที่จะเป็นหัวหน้าที่ดี แต่เราไม่ได้ให้เวลามากพอที่จะบอกหัวหน้าว่า พวกเขาควรหยุดทำาอะไรเพื่อที่เป็นหัวหน้าที่ดี หัวหน้าจำานวนกว่าครึ่งที่ผมเคยเจอไม่จำาเป็นต้องทำาอะไรเพิ่มเติม ถ้าเพียงพวกเขารู้จักที่จะหยุดทำาอะไรสักอย่างหนึ่งที่ไม่ควรทำา พวกเขาจะเป็นหัวหน้าที่ดีขึ้นได้ในทันที ใกล้จบแล้วครับ

ต่อไปนี้เป็นสิ่งที่หัวหน้าควรหยุดทำาสัก 5 อย่างมาให้ดูกันนะ 1. รับปากแล้วไม่ทำา หรือรับปากในสิง่ ที่ไม่สามารถทำาได้ด้วยอำานาจหรือหน้าที่ของตนคน เดียว เช่นรับปากจะขั้นเงินเดือนให้ หรือจะให้โบนัสต้นปี หรือปรับเลื่อนตำาแหน่งให้เพือ่ รั้งให้ลูกน้องทำางานให้ต่อไป เป็นต้น เพราะจะทำาให้ลูกน้องเสียความรู้สกึ เสื่อมศัทธานับถือในเรื่องที่รับปากแล้วทำาไม่ได้ อาจทำาให้ลูกน้องหมดกำาลังในการทำางาน

2. รับชอบแต่ไม่รบั ผิด ไม่กางปีกปกป้องลูกน้อง ดร. เสรี วงษ์มณฑา เคยกล่าวถึงเรื่องนี้ว่า การเป็นหัวหน้าที่ดีคือการรู้จักใช้มือ ใช้หัว และใช้หน้า หมายถึงการเป็นหัวหน้าต้องรู้จักที่จะใช้มือในการลงมือทำาให้ลูกน้องได้ เห็น ใช้หัวเพื่อสร้างสรรค์ความคิดใหม่ ไม่ใช่คอยจับผิดลูกน้อง และที่สำาคัญใช้หน้าเพื่อใช้เอาไว้ยืดหน้ารับความผิดแทนลูกน้อง อย่างคำาโบราณว่า “รับหน้า” ไม่ใช่ทุกอย่างโบ้ยว่า ไม่รู้ มอบหมายให้ลูกน้องทำาแล้ว ลูกน้องเป็นคนทำา แล้วจะเรียกว่าหัวหน้าได้อย่างไร

3. ตัดสินโดยไม่ฟังความคิดเห็นของผู้อื่น หรือไม่อธิบายเหตุผลใด ๆ เป็นการตัดสินใจโดยยึดความคิดของตนเองเป็นหลัก อย่าบังคับลูกน้องทำาในสิ่งที่เขาลำาบากใจ ควรฟังเหตุผลส่วนตัวของลูกน้องบางหรือเมื่อตัดสินใจออกมาเบื้องต้นแ ล้วบอกว่ามันเป็น “นโยบาย” ซึง่ การอธิบายแค่นี้ไม่สามารถให้ลูกน้องเข้าใจได้กลับยิ่งจะทำาให้เข่ารู้สึ กไม่ดีต่อองค์กรมากขึ้นไปอีก

4. พูดจาไม่ให้เกียรติลกู น้อง หัวหน้างานจำานวนหนึ่งมักมีความคิดว่าตัวเองมีความสนิทสนมกับลูกน้ องเป็นอย่างดี จึงไม่จำาเป็นต้องระวังคำาพูดมากนัก ยิ่งลูกน้องที่ทำางานด้วยกันมานานยิ่งสนิทคิดไปเองว่าลูกน้องคงรู้จักนิสยั ของตนดีอยู่แล้ว ทำาให้หัวหน้าหลาย ๆคนไม่ระวังคำาพูดและปฏิบัติกับลูกน้องไม่ค่อยให้เกียรติกับลูกน้องอยู่บ่ อย ๆ

พูดเสียงดังในสิง่ ที่เป็นปมด้อยและความผิดพลาดของลูกน้องต่อหน้าพนัก งานแผนกอื่น ทำาให้ลูกน้องรู้สกึ อายและไม่อยากทำาให้งาน ที่สำาคัญไม่เคยชม นัยว่ากลัวเหลิงอะไรทำานองนั้น อย่างหนึ่งสำาคัญคือความเสมอภาคเท่าเทียม ความยุติธรรมและความเป็นกลาง การให้สทิ ธิพิเศษกับลูกน้องคนใดคนหนี่งจนทำาให้เห็นความแตกต่าง คือ ลูกน้องบางคนทำาดีและทำาหน้าที่ของตัวเองไม่มีข้อบกพร่อง แต่อกี คนทำาผิดระเบียบบ่อยครั้ง แต่ได้รับผลงานและผลตอบแทนเท่ากันหรือดีกว่า ทำาให้ลูกน้องอีกคนที่ทำาดีอยู่แล้วไม่มีกำาลังใจในการทำางานและเสียความรู้ สึกได้ คุณควรจะเป็นหัวหน้าที่มีความยุติธรรมมากกว่านี้ไม่ควรเอาความรู้สกึ ส่ว นตัวตัดสินมากเกินไป

นี่คือพฤติกรรม 5 อย่างที่หัวหน้าหลาย ๆ คน สัง่ สมไว้ ถ้าคนเป็นหัวหน้าลองย้อนมองดูตัวเองด้วยใจเป็นกลาง แล้วประเมินว่า “มีสกั กี่ข้อแล้ว”?? และหวังว่าคุณจะรู้ตัวเองนะครับ

Related Documents

Employee Engagement
November 2019 23
Employee Engagement
December 2019 25
Employee Engagement
October 2019 26
Employee Engagement
November 2019 37