Dp_act_draft

  • Uploaded by: Chiranuch Premchaiporn
  • 0
  • 0
  • December 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Dp_act_draft as PDF for free.

More details

  • Words: 1,064
  • Pages: 17
ราง พระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. ....

กันยายน 2548

-----------------------............................................... ................................................ ................................................ ............................................................................................................................................................. .................................... โดยที่เปนการสมควรใหมีกฎหมายวาดวยการคุมครองขอมูลสวนบุคคล พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการที่จํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบ มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๔ มาตรา ๓๕ และมาตรา ๕๘ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ใหกระทําไดโดย บทบัญญัติของกฎหมาย ............................................................................................................................................................. .................................... มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติคุมครองขอมูลสวนบุคคล พ.ศ. ….” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแตวนั ที่ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “ขอมูลสวนบุคคล” หมายความวา สิ่งสื่อความหมายใหรูเรื่องราวขอเท็จจริง ขอมูลหรือสิ่งอื่นใดๆ เกี่ยวกับตัวบุคคลธรรมดาอันมีผลใหสามารถกําหนดตัวบุคคลไดแนนอนหรือที่อาจกําหนดตัวบุคคลนั้นได ไมวา การสื่อความหมายนั้นจะทําไดโดยสภาพของสิ่งนั้นเองหรือโดยผานวิธกี ารใดๆ ที่อาจจัดทําไวในรูปของเอกสาร แฟม รายงาน หนังสือ แผนผัง ภาพวาด ภาพถาย ฟลม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกโดยเครือ่ งคอมพิวเตอร หรือวิธีอื่นใดที่ทําใหสิ่งที่บนั ทึกไวปรากฏได ทั้งนี้ หมายความรวมถึงขอเท็จจริงหรือพฤติการณของผูที่ถึง แกกรรมดวย “การประมวลผล” หมายความวา การดําเนินการใด ๆ เกี่ยวกับการเก็บรวบรวม การบันทึกการจัด หมวดหมู การเก็บรักษา การจัดลําดับตําแหนง การแกไข การเลือก การเรียก การเปรียบเทียบ การใช การเชื่อมตอ

-๒การระงับ การเปดเผยโดยเฉพาะเจาะจง การเปดเผยทั่วไป การลบ หรือการทําลายซึ่งขอมูลสวนบุคคลไมวาจะใช วิธีการใดๆ และใหหมายความรวมถึงการสง หรือโอนขอมูลสวนบุคคล “การเก็บรวบรวม” หมายความวา การกระทําดวยประการใดๆ เพื่อใหไดมาซึ่งขอมูลสวนบุคคล “การเก็บรักษา” หมายความวา การกรอกหรือปอนขอมูล การบันทึกหรือการเก็บขอมูลบนสื่อที่ใช ในการเก็บขอมูลเพื่อใหสามารถประมวลผลหรือใชขอมูลนั้นไดอีก “การแกไข” หมายความวา การแกไขเปลี่ยนแปลงเนื้อหาสาระของขอมูลสวนบุคคลที่เก็บรักษาไว “การโอน” หมายความวา การเปดเผยขอมูลสวนบุคคลที่เก็บรักษาไวหรือไดจากการประมวลผลตอ บุคคลที่สามไมวาโดยการสงขอมูลนั้นไปยังบุคคลที่สามหรือโดยการตรวจ การเรียกดูหรือคิดคนขอมูลนั้นโดย บุคคลที่สาม “การลบ” หมายความวา การลบขอมูลสวนบุคคลที่เก็บไวทิ้งไปหรือออกไปจากสื่อที่บันทึกเก็บขอมูลนั้น “ผูประมวลขอมูลสวนบุคคล” หมายความวา บุคคลหรือองคกรผูดําเนินการประมวลผลตามพระราช บัญญัตินี้ “เจาของขอมูลสวนบุคคล” ใหหมายความรวมถึง (๑) ทายาทหรือคูสมรสของบุคคลนั้นในกรณีทเี่ จาของขอมูลถึงแกความตาย ทั้งนี้ ตามลําดับกอนหลัง ตามที่กําหนดในกฎกระทรวง (๒) ผูซึ่งมีหนาที่เกีย่ วของกับขอมูลสวนบุคคลของบุคคลนั้นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการคุมครองขอมูลสวนบุคคล “นายทะเบียน” หมายความวา ผูซึ่งไดรับการแตงตั้งหรือมอบหมายจากผูประมวลขอมูลสวนบุคคล เพื่อทําหนาที่ควบคุมดูแลและรับผิดชอบในการประมวลผลขอมูลสวนบุคคล “สํานักงาน” หมายความวา สํานักงานคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ “เลขาธิการ” หมายความวา เลขาธิการคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ “พนักงานเจาหนาที”่ หมายความวา เลขาธิการและขาราชการในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการขอมูล ขาวสารของราชการและการคุมครองขอมูลสวนบุคคล และใหหมายความรวมถึงขาราชการหรือพนักงาน ซึ่งมา ชวยราชการในสํานักงานคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการและการคุมครองขอมูลสวนบุคคล ซึ่งประธาน คณะกรรมการคุมครองขอมูลสวนบุคคลไดแตงตั้งใหปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๔ พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับกับการประมวลผลขอมูลสวนบุคคลของผูประมวลขอมูลสวน บุคคลทั้งที่เปนบุคคล องคกร หรือหนวยงานของรัฐทีม่ ีวัตถุประสงคในการดําเนินงานเชิงธุรกิจหรือการพาณิชย เวนแตมีบทบัญญัติแหงกฎหมายในการประมวลผลขอมูลสวนบุคคลเรื่องหนึ่งเรื่องใดกําหนดไวเปนการเฉพาะ

-๓ใหเปนไปตามบทบัญญัติแหงกฎหมายนั้น การยกเวนการบังคับใชกับการประมวลผลขอมูลสวนบุคคลในลักษณะใด หรือกิจการประเภทใดใหตราเปนกฎกระทรวง เพื่อประโยชนในการคุมครองขอมูลสวนบุคคล ในกรณีที่บทบัญญัติแหงกฎหมายอืน่ ตามวรรคหนึ่ง มิไดบัญญัติถึงการประมวลผลขอมูลสวนบุคคลเรื่องหนึ่งเรื่องใดไว ใหนําการประมวลผลขอมูลสวนบุคคลใน เรื่องนั้นตามทีบ่ ัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้ไปใชบังคับ มาตรา ๕ ภายใตบังคับมาตรา ๔ พระราชบัญญัตินี้ไมใชบังคับกับการประมวลผลขอมูลสวนบุคคล ของหนวยงานของรัฐที่อยูภายใตบังคับตามพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๖ ใหนายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และมีอํานาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการ ตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนัน้ เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได หมวด ๑ คณะกรรมการคุมครองขอมูลสวนบุคคล --------------------------มาตรา ๗ ใหมีคณะกรรมการคุมครองขอมูลสวนบุคคลคณะหนึ่ง ประกอบดวย (๑) นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมายเปนประธานกรรมการ (๒) กรรมการโดยตําแหนง ประกอบดวย ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา อธิบดีกรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ (๓) กรรมการซึ่งเปนผูแทนของหอการคาไทย สมาคมธนาคารไทย คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน คณะกรรมการคุมครองผูบริโภค (๔) กรรมการผูทรงคุณวุฒิซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากผูมีความรูความเชี่ยวชาญดานกฎหมายและ ดานการประมวลผลอิเล็กทรอนิกส จํานวนสี่คน ใหเลขาธิการเปนกรรมการและเลขานุการและเจาหนาทีส่ ํานักงานคณะกรรมการขอมูลขาวสารของ ราชการและการคุมครองขอมูลสวนบุคคล จํานวนไมเกิน ๒ คน เปนผูชวยเลขานุการ การไดมาซึ่งกรรมการตาม (๔) ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่คณะรัฐมนตรีกําหนดและ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

-๔มาตรา ๘ กรรมการผูทรงคุณวุฒใิ หมวี าระการดํารงตําแหนงคราวละสามป ผูพนจากตําแหนงแลว อาจไดรับการแตงตั้งอีกไดในกรณีทกี่ รรมการผูทรงคุณวุฒิพนจากตําแหนงตามวาระ แตยังมิไดแตงตั้งกรรมการ ใหมใหกรรมการซึ่งพนจากตําแหนงนั้นปฏิบัติหนาที่ตอไปจนกวาจะไดมีการแตงตั้งกรรมการขึ้นใหม มาตรา ๙ นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระ กรรมการผูทรงคุณวุฒิพนจากตําแหนงเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) คณะรัฐมนตรีมีมติใหออกเพราะบกพรองตอหนาที่ มีความประพฤติเสื่อมเสีย หรือหยอน ความสามารถ (๔) เปนบุคคลลมละลาย (๕) เปนคนไรความสามารถหรือคนเสมือนไรความสามารถ (๖) ไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดที่ไดกระทํา โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ มาตรา ๑๐ ในกรณีทกี่ รรมการผูทรงคุณวุฒิพนจากตําแหนงกอนครบวาระและยังมิไดแตงตั้งกรรมการ ขึ้นแทนตําแหนงที่วาง ใหกรรมการที่เหลืออยูปฏิบัติหนาที่ตอไปได เมื่อกรรมการผูทรงคุณวุฒวิ างลงกอนครบวาระใหดําเนินการแตงตั้งกรรมการภายในสามสิบวัน เวนแต วาระของกรรมการเหลือไมถึงหนึ่งรอยแปดสิบวันจะไมแตงตั้งกรรมการก็ได ทั้งนี้ ใหกรรมการซึ่งไดรับแตงตั้ง มีวาระการดํารงตําแหนงเทากับเวลาที่เหลืออยูของกรรมการที่ยังอยูใ นตําแหนง มาตรา ๑๑ คณะกรรมการมีอํานาจและหนาที่ ดังตอไปนี้ (๑) กําหนดนโยบาย มาตรการหรือแนวทางการดําเนินการเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล เพื่อใหเปนไปตามพระราชบัญญัตินี้ (๒) เสนอความเห็นตอนายกรัฐมนตรีเพื่อออกกฎกระทรวงตามพระราชบัญญัตินี้ (๓) ใหคําแนะนําและคําปรึกษาเกีย่ วกับการดําเนินการใดๆ ในการคุมครองขอมูลสวนบุคคล รวมทั้ง สงเสริมในการพัฒนาเทคโนโลยีที่เกีย่ วกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล (๔) กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการประมวลผล (๕ กําหนดหลักเกณฑและเงื่อนไขในการไดรบั เครื่องหมายรับรองการประมวลผล (๖) ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการดําเนินการของผูประมวลขอมูลสวนบุคคล (๗) พิจารณาดําเนินการเกีย่ วกับเรื่องรองเรียนตามพระราชบัญญัตินี้

-๕(๘) ออกระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ คําสั่งหรือปฏิบัติการอื่นใดเพื่อใหเปนไปตามวัตถุประสงค ของพระราบัญญัตินี้ (๙) แตงตั้งคณะอนุกรรมการ เพื่อดําเนินการใดๆ ตามพระราชบัญญัตินี้ตามความจําเปนและเหมาะสม (๑๐) ปฏิบัติการอืน่ ตามที่บัญญัตไิ วในพระราชบัญญัตินี้หรือตามที่กฎหมายอืน่ กําหนดใหเปนอํานาจ หนาที่ของคณะกรรมการหรือตามที่นายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย (๑๑) เสนอแนะตอคณะรัฐมนตรีใหมีการตราหรือปรับปรุงแกไขกฎหมายหรือกฎที่ใชบงั คับอยูใน สวนที่เกีย่ วของและเหมาะสม (๑๒) จัดทํารายงานเกี่ยวกับการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้เสนอตอคณะรัฐมนตรีรัฐสภาหรือ สาธารณชนเปนครั้งคราวตามความเหมาะสมอยางนอยปละหนึ่งครั้ง ในการปฏิบัตหิ นาที่ตามมาตรานี้ ใหสํานักงานคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการและการ คุมครองขอมูลสวนบุคคลเปนหนวยงานฝายเลขานุการของคณะกรรมการและปฏิบัติหนาที่ตามที่คณะกรรมการ มอบหมาย มาตรา ๑๒ ในการประชุมคณะกรรมการ ถาประธานกรรมการไมมาประชุมหรือไมอยูในที่ประชุม ใหกรรมการทีม่ าประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเปนประธานในที่ประชุม การวินจิ ฉัยชี้ขาดของที่ประชุมใหถือเสียงขางมาก กรรมการคนหนึ่งใหมีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถาคะแนนเสียงเทากันใหประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเปนเสียงชี้ขาด กรรมการผูใดมีสวนไดเสียไมวาโดยตรงหรือโดยออมในเรื่องที่ที่ประชุมพิจารณา ใหแจงการมีสวน ไดเสียของตนใหคณะกรรมการทราบลวงหนากอนการประชุมและหามมิใหผูนั้นเขารวมประชุมพิจารณาในเรือ่ ง ดังกลาว มาตรา ๑๓ ในการปฏิบัติหนาที่ตามมาตรา ๑๑ คณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการอาจเชิญบุคคล ใดมาใหขอเท็จจริง คําอธิบาย คําแนะนํา หรือความเห็น หรือใหบุคคลใดสงเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวของหรือ สิ่งใดมาเพื่อประกอบการพิจารณาไดตามทีเ่ ห็นสมควร มาตรา ๑๔ เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยวาการดําเนินการใดๆ เกีย่ วกับขอมูลสวนบุคคล ซึ่งอาจกอใหเกิด ความความเสียหายแกเจาของขอมูลสวนบุคคลหรือบุคคลที่เกี่ยวของ คณะกรรมการอาจสั่งใหผูประมวลขอมูล สวนบุคคลดําเนินการพิสูจนการดําเนินการดังกลาวได ถาผูประมวลขอมูลสวนบุคคลไมดําเนินการพิสูจน การดําเนินการนั้นหรือดําเนินการลาชา โดยไมมีเหตุผลอันสมควรคณะกรรมการอาจจัดใหมีการพิสูจนโดยผูประมวล ขอมูลสวนบุคคลเปนผูเสียคาใชจายก็ได

-๖ถาผลจากการพิสูจนปรากฏวาการดําเนินการใดๆ เกี่ยวกับขอมูลสวนบุคคลของหนวยงานหรือ ผูประมวลขอมูลสวนบุคคลอาจกอใหเกิดความเสียหายแกเจาของขอมูลหรือบุคคลที่เกี่ยวของหรือบุคคลอื่น และ กรณีไมอาจปองกันความเสียหายที่จะเกิดจากการดําเนินการนั้นไดตามที่กําหนดในกฎหมายนีห้ รือกฎหมายอืน่ ใหคณะกรรมการมีอํานาจสัง่ หามการดําเนินการนั้น และถาเห็นสมควรจะสั่งใหหนวยงานหรือผูประมวลขอมูล สวนบุคคลทําลายหรือจะจัดใหมีการทําลายโดยหนวยงานหรือผูประมวลขอมูลสวนบุคคลเปนผูเสียคาใชจายก็ได ในกรณีจําเปนเรงดวน ถาคณะกรรมการมีเหตุที่นาเชื่อวาการดําเนินการใดๆ เกี่ยวกับขอมูลสวนบุคคล อาจกอใหเกิดความเสียหายแกเจาของขอมูลหรือบุคคลที่เกี่ยวของ ใหคณะกรรมการมีอํานาจสั่งหามการดําเนินการ ใดๆ เกีย่ วกับขอมูลสวนบุคคลตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองไดตามสมควร การสั่งหามดําเนินการใดๆ เกี่ยวกับขอมูลสวนบุคคลตามวรรคสองและวรรคสาม ใหประกาศในราชกิจจา นุเบกษา มาตรา ๑๕ ในการปฏิบัตหิ นาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ คณะกรรมการตองใหโอกาสแกผูถูกกลาวหา หรือสงสัยวากระทําการอันเปนการฝาฝนบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัตินไี้ ดทราบขอเท็จจริงอยางเพียงพอ ชี้แจง เหตุผลหรือแสดงความคิดเห็นและมีโอกาสโตแยงและแสดงพยานหลักฐานของตนตามสมควร ความในวรรคหนึ่งมิใหนํามาใชบังคับในกรณีดังตอไปนี้ เวนแตคณะกรรมการจะเห็นสมควรปฏิบตั ิ เปนอยางอื่น (๑) เมื่อมีความจําเปนรีบดวนหากปลอยใหเนิ่นชาไปจะกอใหเกิดความเสียหายอยางรายแรงแกผูหนึ่ง ผูใดหรือจะกระทบตอประโยชนสาธารณะ (๒) เมื่อจะมีผลทําใหระยะเวลาทีก่ ําหนดไวในกฎหมายหรือกฎตองลาชาออกไป (๓) เมื่อเปนขอเท็จจริงที่คูกรณีนนั้ เองไดใหไวในคําขอ คําใหการหรือคําแถลง (๔) เมื่อโดยสภาพเห็นไดชดั ในตัววาการใหโอกาสดังกลาวไมอาจกระทําได (๕) กรณีอื่นตามทีค่ ณะกรรมการประกาศกําหนด การกําหนดหรือการออกคําสัง่ ในเรื่องใดตามพระราชบัญญัตินี้ใหคณะกรรมการคํานึงถึงความเสียหาย ที่อาจเกิดขึน้ แกเจาของขอมูลหรือบุคคลที่เกี่ยวของ และในกรณีที่เห็นสมควรคณะกรรมการอาจกําหนดเงื่อนไข หรือวิธีการชั่วคราวในการบังคับใหเปนไปตามคําสั่งก็ได

-๗หมวด ๒ สํานักงานคณะกรรมการคุมครองขอมูลสวนบุคคล --------------------------มาตรา ๑๖ ใหมีสํานักงานคณะกรรมการคุมครองขอมูลสวนบุคคลในสํานักงานคณะกรรมการขอมูล ขาวสารของราชการ โดยมีผูอํานวยการสํานักงานเปนผูบังคับบัญชาและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของสํานักงาน มาตรา ๑๗ ใหสํานักงานคณะกรรมการคุม ครองขอมูลสวนบุคคลมีอํานาจหนาทีป่ ฏิบัติงานเกีย่ วกับ งานวิชาการและธุรการใหแกคณะกรรมการตามพระราชบัญญัตินี้ รวมทั้งใหมีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้ (๑) ประสานงานกับสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ องคการมหาชน และหนวยงานอื่นของรัฐเกี่ยวกับ การคุมครองขอมูลสวนบุคคล (๒) ใหคําปรึกษาแกองคกรภาครัฐและภาคเอกชนเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ (๓) วางระเบียบรวมถึงการกําหนดหลักสูตรฝกอบรมการปฏิบัติหนาที่ของนายทะเบียน (๔) จัดทําบัญชีรายชื่อผูประมวลผลขอมูลสวนบุคคล (๕) ติดตามและประเมินผลในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ (๖) ปฏิบัติหนาที่อนื่ ตามที่คณะกรรมการมอบหมาย หมวด ๓ การประมวลผลขอมูลสวนบุคคล --------------------------มาตรา ๑๘ การประมวลผลขอมูลสวนบุคคลจะกระทํามิได เวนแตจะไดรับความยินยอมจากเจาของ ขอมูลสวนบุคคลและเปนไปตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัตินี้หรือตามกฎหมายอืน่ ที่เกีย่ วของ ในการประมวลผลขอมูลสวนบุคคลตามวรรคหนึ่ง ตองเปนไปเพื่อประโยชนในการดําเนินการตาม วัตถุประสงคของกิจการของผูนั้น มาตรา ๑๙ ผูดําเนินการประมวลขอมูลสวนบุคคลตองดําเนินการใหเปนไปตามหลักเกณฑวิธีการ และเงื่อนไขทีบ่ ัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้ เพื่อประโยชนในใหความคุมครองขอมูลสวนบุคคลและการประมวลผลตามพระราชบัญญัตินี้คณะกรรมการ จะกําหนดประมวลจริยธรรมเกี่ยวกับการประมวลผลก็ได

-๘มาตรา ๒๐ ใหผูซึ่งตองดําเนินการประมวลผลตามมาตรา ๑๙ จัดใหมนี ายทะเบียนทําหนาที่ควบคุม ดูแลและรับผิดชอบในการประมวลผลขอมูลสวนบุคคล รายชื่อผูทําหนาที่นายทะเบียนตามวรรคหนึ่ง ใหผูประมวลขอมูลสวนบุคคลแจงใหคณะกรรมการทราบ ภายในเจ็ดวันนับแตวนั ทีไ่ ดแตงตัง้ ในกรณีที่มิไดแตงตั้งบุคคลอืน่ เปนนายทะเบียนใหถือวาผูนนั้ เปนนายทะเบียน ถาเปนนิติบุคคลใหถือวาผูจดั การหรือผูแทนของนิติบุคคลนั้นเปนนายทะเบียน ผูซึ่งจะไดรับการแตงตั้งเปนนายทะเบียนตามวรรคหนึ่งตองมีคุณสมบัติตามที่คณะกรรมการกําหนด สวนที่ ๑ การเก็บรวบรวมขอมูลสวนบุคคล --------------------------มาตรา ๒๑ การเก็บรวบรวมขอมูลสวนบุคคลตองเปนไปเพียงเทาทีเ่ กีย่ วของและจําเปนแกการดําเนิน กิจการตามวัตถุประสงคของผูประมวลขอมูลสวนบุคคลเทานั้น ในการเก็บรวบรวมขอมูลสวนบุคคลตามวรรคหนึ่ง หามมิใหเก็บรวบรวมขอมูลสวนบุคคลที่เกี่ยวกับ พฤติกรรมทางเพศ ประวัตอิ าชญากรรม ประวัติสุขภาพ หรือขอมูลอื่นใดที่กระทบตอความรูสึกของผูอื่นหรือ ประชาชนตามที่กําหนดในกฎกระทรวง เวนแตไดรับความยินยอมเปนหนังสือจากเจาของขอมูลสวนบุคคล การเก็บรวบรวมขอมูลสวนบุคคลของบุคคลหนึ่งบุคคลใด จากแหลงอื่นที่ไมใชจากเจาของขอมูล โดยตรงโดยปราศจากความยินยอมของเจาของขอมูลจะกระทํามิได เวนแต (๑) การเก็บรวบรวมขอมูลดังกลาวเปนสิ่งจําเปนสําหรับการรักษาพยาบาลเจาของขอมูลและเจาของ ขอมูลไมสามารถใหคํายินยอมได (๒) การเก็บรวบรวมขอมูลดังกลาวเปนไปเพือ่ การสืบสวน สอบสวนหรือเพื่อการตรวจสอบการ กระทําหรือความประพฤติและมีเหตุผลที่นาเชื่อถือไดวา การเก็บขอมูลสวนบุคคลโดยขอคํายินยอมจากเจาของ ขอมูลกอนจะมีผลกระทบตอความมีอยูหรือความถูกตองของขอมูล (๓) การเก็บรวบรวมขอมูลสวนบุคคลซึ่งไดจากการดูหรือสังเกตการณ การแสดง กีฬา หรือกิจกรรม อื่นๆ ที่คลายคลึงกัน เมื่อบุคคลที่ถูกเก็บรวบรวมขอมูลนั้นไดปรากฏตัวหรือเขารวมในกิจกรรมนั้นดวยความสมัครใจ และกิจกรรมนั้นเปนกิจกรรมที่เปดเผยตอสาธารณะ (๔) การเก็บรวมรวมนั้น เปนสิง่ จําเปนเพื่อใชประกอบการพิจารณาการตัดสินความเหมาะสมของ บุคคลในการที่ใหไดรับรางวัลเกียรติยศ หรือผลประโยชนในลักษณะคลายคลึงกัน

-๙(๕) การเก็บรวบรวมขอมูลโดยหนวยงานดานขอมูลเครดิต ซึ่งมีหนาทีเ่ ก็บรวมรวมขอมูลบุคคล เพื่อทํารายงานขอมูลเครดิต และเจาของขอมูลสวนบุคคลไดใหคํายินยอมไวในครัง้ แรกที่มีการจัดเก็บขอมูลวา ใหสามารถเก็บรวบรวมเปดเผยเพื่อการจัดทําขอมูลเครดิตนี้ได (๖) การเก็บรวบรวมซึ่งเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๒๒ ในการเก็บรวบรวมขอมูลสวนบุคคลใหนายทะเบียนแจงตอเจาของขอมูลสวนบุคคล ทราบกอนหรือในขณะที่จะดําเนินการถึงรายละเอียด ดังตอไปนี้ (๑) ชื่อ สถานที่ทําการ และสถานภาพของผูประมวลขอมูลสวนบุคคล (๒) วัตถุประสงคของการเก็บรวบรวมขอมูลสวนบุคคล (๓) ประเภทของขอมูลสวนบุคคลที่มีการเก็บรวบรวม (๔) วิธีการเก็บรวบรวมขอมูลสวนบุคคล (๕) ระยะเวลาในการเก็บรักษาขอมูลสวนบุคคล (๖) เงื่อนไขในการเขาถึงขอมูลสวนบุคคล (๗) รายละเอียดอืน่ ตามที่คณะกรรมการกําหนด มาตรา ๒๓ เมื่อนายทะเบียนไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลสวนบุคคลแลว ใหจดั ทํารายการการ จัดเก็บขอมูลสวนบุคคลหรือระบบขอมูลสวนบุคคล ณ สถานที่ทําการเพื่อใหเจาของขอมูลสวนบุคคลสามารถ ตรวจสอบได มาตรา ๒๔ ความในสวนนี้มิใหใชบังคับแกกจิ การตามกฎหมายวาดวยการพิมพ หรือกิจการอื่น ตามที่กําหนดในกฎกระทรวง สวนที่ ๒ การใชและการเปดเผยขอมูลสวนบุคคล --------------------------มาตรา ๒๕ ผูประมวลขอมูลสวนบุคคลตองใชขอมูลสวนบุคคลที่อยูในความครอบครองหรือควบคุม ดูแลตามวัตถุประสงคของการเก็บรวบรวมเทานั้น การใชขอมูลสวนบุคคลนอกเหนือจากวัตถุประสงคของการเก็บรวบรวมใหผูประมวลขอมูลสวนบุคคล แจงตอเจาของขอมูลสวนบุคคลเปนหนังสือโดยแสดงเหตุผลในการดําเนินการดังกลาวและตองไดรบั ความยินยอม เปนหนังสือจากเจาของขอมูลสวนบุคคลดวย

- ๑๐ ในกรณีที่มีเหตุจําเปนที่มีผลกระทบตอชีวติ รางกายหรืออนามัยของบุคคล ซึ่งมิอาจดําเนินการตาม วรรคสองไดใหผูประมวลขอมูลสวนบุคคลใชขอมูลสวนบุคคลที่อยูในความครอบครองหรือควบคุมดูแลไดเทาที่ จําเปนแหงการนั้น โดยมิตอ งไดรับความยินยอมจากเจาของขอมูลสวนบุคคลที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ ผูประมวลขอมูล สวนบุคคลตองแจงใหเจาของขอมูลสวนบุคคลนั้นทราบโดยเร็ว มาตรา ๒๖ การเปดเผยขอมูลสวนบุคคลที่อยูในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของตนตอผูอื่น โดยปราศจากความยินยอมเปนหนังสือของเจาของขอมูลสวนบุคคลจะกระทํามิได เวนแตเปนการเปดเผยในกรณี ดังตอไปนี้ (๑) เจาหนาที่ของรัฐรองขอเพื่อปองกันการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามกฎหมาย การสืบสวนการสอบสวน หรือการฟองคดีไมวาเปนคดีประเภทใดก็ตาม (๒) ศาลและเจาหนาที่ของรัฐหรือหนวยงานของรัฐที่มีอํานาจตามกฎหมายทีจ่ ะขอขอมูลสวนบุคคล ดังกลาว (๓) เพื่อปองกันหรือระงับอันตรายตอชีวิตหรือสุขภาพของบุคคล (๔) หนวยงานอืน่ ที่บทบัญญัติของกฎหมายใหอํานาจ (๕) เพื่อประโยชนในการศึกษาวิจัยโดยไมระบุหรือมีสวนใดที่ทําใหรูวาเปนขอมูลสวนบุคคลที่ เกี่ยวกับบุคคลใด (๖) ปรากฏโดยชัดแจงวา เพือ่ ประโยชนของเจาของขอมูลและการขอความยินยอมไมสามารถ ดําเนินการไดในเวลาที่จําเปนนั้น (๗) เพื่อการรักษาพยาบาลเจาของขอมูล และในขณะนั้น เจาของขอมูลไมอยูสภาวะตามกฎหมาย ที่จะใหคํายินยอมได การเปดเผยขอมูลสวนบุคคลตาม (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) และ (๗) ใหผูประมวลขอมูลสวนบุคคล ตองเปดเผยเฉพาะที่เกีย่ วของกับเจาของขอมูลสวนบุคคลนั้นโดยตรง และเทาที่จาํ เปนและเหมาะสมแกการนัน้ ทั้งนี้ เมื่อเปดเผยขอมูลประการใดแลวใหแจงใหเจาของขอมูลทราบ ผูซึ่งไดรับขอมูลสวนบุคคลจากการเปดเผยขอมูลตามวรรคหนึ่ง จะตองไมใชหรือเปดเผยขอมูลสวน บุคคลที่ไดรับเพื่อวัตถุประสงคอยางอื่นนอกเหนือจากที่ไดแจงความประสงคไว ใหผูประมวลขอมูลสวนบุคคลบันทึกการเปดเผยขอมูลสวนบุคคลตามวรรคหนึ่งไวในรายการตาม มาตรา ๒๓ เพื่อประโยชนในการตรวจสอบของเจาของขอมูลสวนบุคคลและพนักงานเจาหนาทีด่ วย

- ๑๑ สวนที่ ๓ การเก็บรักษา การแกไขและการโอนขอมูลสวนบุคคล --------------------------มาตรา ๒๗ ผูประมวลขอมูลสวนบุคคลจะเก็บรักษาขอมูลสวนบุคคลของเจาของขอมูลสวนบุคคล นั้นไวไดเทาระยะเวลาทีก่ ําหนดในมาตรา ๒๒ (๕) หรือเทาที่จําเปนตามวัตถุประสงคของการเก็บรวบรวมของ ผูประมวลขอมูลสวนบุคคลนั้น เมื่อพนกําหนดระยะเวลาหรือหมดความจําเปนในการเก็บรวบรวมขอมูลสวนบุคคลตามวรรคหนึ่ง หรือเจาของขอมูลเพิกถอนความยินยอม ใหผูประมวลขอมูลสวนบุคคลดําเนินการลบหรือทําลายขอมูลสวนบุคคล นั้นโดยเร็ว ในกรณีที่จําเปนเพื่อประโยชนในกิจการของผูประมวลขอมูลสวนบุคคลนั้นที่ตองมีการรวบรวมขอมูล สวนบุคคลดังกลาวไวเพื่อเปนสถิติหรือการศึกษาวิจัย ผูประมวลขอมูลสวนบุคคลอาจไมลบหรือทําลายขอมูล สวนนั้นไดแตตองมีหนังสือแจงเจาของขอมูลสวนบุคคลนั้นเพื่อใหความยินยอมเปนหนังสือ ในกรณีที่เจาของ ขอมูลสวนบุคคลใหความยินยอมแลวใหผูประมวลขอมูลสวนบุคคลนั้นมีหนาที่และความรับผิดในขอมูลสวนบุคคล นั้นตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๒๘ ใหผูประมวลขอมูลสวนบุคคลมีหนาที่แกไขขอมูลสวนบุคคลที่อยูในความครอบครอง ใหถูกตอง สมบูรณและทันสมัย ตามที่เจาของขอมูลสวนบุคคลรองขอเปนหนังสือ ในการแกไขขอมูลสวนบุคคลตามวรรคหนึ่ง ผูประมวลขอมูลสวนบุคคลอาจขอใหเจาของขอมูล สวนบุคคลนั้นจัดสงเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวของเพือ่ ประกอบการแกไขก็ได ในกรณีที่ขอมูลสวนบุคคลที่เจาของขอมูลสวนบุคคลรองขอใหแกไข ซึ่งโดยวิธีการเก็บรวบรวมไมอาจ ดําเนินการแกไขไดโดยวิธีอนื่ นอกจากการทําลายเพื่อเก็บรวบรวมใหม ใหผูประมวลขอมูลสวนบุคคลดําเนินการ ทําลายเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลสวนบุคคลดังกลาวใหมตามที่ขอแกไขไดโดยแจงใหเจาของขอมูลสวนบุคคลทราบ ลวงหนาไมนอ ยกวาเจ็ดวัน มาตรา ๒๙ ผูประมวลขอมูลสวนบุคคลจะสงหรือโอนขอมูลสวนบุคคลที่อยูในความครอบครอง หรือควบคุมดูแลใหแกผูอื่นไมได เวนแตไดรับความยินยอมเปนหนังสือจากเจาของขอมูลสวนบุคคล หรือตามที่ พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นกําหนด ในกรณีที่มีความจําเปนเรงดวนที่หากรอใหไดรับความยินยอมจากเจาของขอมูลสวนบุคคลตาม วรรคหนึ่งแลว จะกอใหเกิดความเสียหายแกสว นรวมหรือชีวิต รางกาย หรืออนามัยของบุคคลใหผูประมวล

- ๑๒ ขอมูลสวนบุคคลสงหรือโอนขอมูลสวนบุคคลนั้นได แตใหนายทะเบียนแจงใหเจาของขอมูลสวนบุคคลทราบ โดยเร็ว ทั้งนี้ ภายในไมเกิน ๑๕ วัน นับแตวันสงหรือโอนขอมูลนั้นแลวแตกรณี มาตรา ๓๐ การสงหรือโอนขอมูลสวนบุคคลออกไปนอกราชอาณาจักรโดยปราศจากความยินยอม เปนหนังสือของเจาของขอมูลสวนบุคคลจะกระทํามิได เวนแตเปนการกระทําตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย หรือ เพื่อการดําเนินคดีนอกราชอาณาจักร หรือเพื่อประโยชนของเจาของขอมูลสวนบุคคลนั้นและเมื่อมีการโอนแลว ใหทํารายงานไวดว ย การขอความยินยอมตามวรรคหนึ่ง ใหผูประมวลขอมูลสวนบุคคลผูโอนระบุชื่อและประเทศผูรับ โอนขอมูล ขอมูลสวนบุคคลที่จะโอนและวัตถุประสงคของการโอนในหนังสือขอความยินยอมดวย มาตรา ๓๑ หามมิใหมีการสงหรือโอนขอมูลสวนบุคคลไปยังประเทศซึ่งมิไดมีบทบัญญัติในการให ความคุมครองขอมูลสวนบุคคลหรือมีแตบทบัญญัติของกฎหมายในประเทศนั้นมีมาตรฐานในการใหความคุมครอง ขอมูลสวนบุคคลในสาระสําคัญต่ํากวาบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัตินี้ เวนแตในกรณีดังตอไปนี้ (๑) ไดรับความยินยอมเปนหนังสือจากเจาของขอมูล (๒) กรณีอื่นตามทีค่ ณะกรรมการประกาศกําหนด หมวด ๔ สิทธิของเจาของขอมูลสวนบุคคล --------------------------มาตรา ๓๒ ภายใตบังคับของกฎหมายเจาของขอมูลสวนบุคคลมีสิทธิดังตอไปนี้ (๑) เขาตรวจดูขอมูลสวนบุคคลที่เกี่ยวกับตน ขอสําเนาหรือขอสําเนารับรองถูกตองขอมูลสวนบุคคล ดังกลาวได (๒) ขอใหแกไขหรือเปลี่ยนแปลงขอมูลสวนบุคคลที่เกี่ยวกับตนใหถูกตอง สมบูรณหรือทันสมัย (๓) ขอใหระงับการใชหรือเปดเผย กรณีที่ขอมูลสวนบุคคลที่เกีย่ วกับตนไมถูกตองตามความเปนจริง (๔) ขอใหลบหรือทําลายขอมูลสวนบุคคลสวนที่พนระยะเวลาการเก็บรวบรวมหรือไมเกี่ยวของ หรือเกินกวาความจําเปนตามวัตถุประสงคการเก็บรวบรวมขอมูลสวนบุคคลนั้น มาตรา ๓๓ ในกรณีเจาของขอมูลสวนบุคคลเปนผูเยาว คนไรความสามารถคนเสมือนไรความสามารถ ใหผูใชอํานาจปกครอง ผูอนุบาล หรือผูพิทักษแลวแตกรณี มีสิทธิดําเนินการตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัตินี้

- ๑๓ มาตรา ๓๔ เมื่อเจาของขอมูลสวนบุคคลรองขอ ผูซึ่งไดรับขอมูลสวนบุคคลจากการเปดเผยขอมูล สวนบุคคลของผูประมวลผลขอมูลสวนบุคคลโดยมิไดรับความยินยอมจากเจาของขอมูลสวนบุคคลจะตอง เปดเผยถึงการไดมาของขอมูลใหเจาของขอมูลทราบ หากไมเปดเผยผูซึ่งไดรับขอมูลสวนบุคคลมาโดยมิไดรับ ความยินยอมจะตองรับผิดชอบชดใชคาสินไหมทดแทนในความเสียหายที่เกิดขึ้นใหแกเจาของขอมูลสวนบุคคล กรณีที่ผูซึ่งไดรับขอมูลสวนบุคคลมาโดยมิไดรับความยินยอมไมยอมเปดเผยถึงแหลงที่มาของ ขอมูลสวนบุคลตามวรรคหนึ่ง เจาของขอมูลอาจรองขอใหคณะกรรมการคุมครองขอมูลสวนบุคคลพิจารณาให ผูซึ่งไดรับขอมูลสวนบุคคลไวโดยมิไดรับความยินยอมเปดเผยถึงแหลงที่มาของขอมูลก็ได คําสั่งของคณะกรรมการตามวรรคกอนไมตัดสิทธิเจาของขอมูลสวนบุคคลในอันที่จะเรียกรองคา สินไหมทดแทนจากผูซึ่งไดรบั ขอมูลสวนบุคคลมาโดยมิไดรับความยินยอมจากเจาของขอมูลสวนบุคคล หมวด ๕ หนาที่นายทะเบียน --------------------------มาตรา ๓๕ นายทะเบียนมีหนาที่ประมวลผลขอมูลสวนบุคคลใหถกู ตอง ทันสมัยครบถวนและ รักษาความปลอดภัยของขอมูลสวนบุคคลไมใหสูญหาย ถูกแกไขหรือเปลี่ยนแปลง เปดเผยหรือกระทําการใดๆ แกขอมูลสวนบุคคลใหเกิดความเสียหายแกเจาของขอมูลสวนบุคคลหรือผูซึ่งเกีย่ วของ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขทีค่ ณะกรรมการกําหนด ในกรณีที่มีความจําเปนเพื่อประโยชนในการคุมครองขอมูลสวนบุคคล คณะกรรมการอาจสั่งให นายทะเบียนรายงานการประมวลผลเพิ่มเติมจากที่กําหนดในวรรคหนึ่งก็ได มาตรา ๓๖ ใหนายทะเบียนรายงานการประมวลผลตอคณะกรรมการอยางนอยปละหนึ่งครั้งทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และแบบที่กําหนดในกฎกระทรวง หมวด ๖ การรองเรียน --------------------------มาตรา ๓๗ เมื่อมีการรองเรียนตามพระราชบัญญัตินี้ คณะกรรมการตองดําเนินการใหแลวเสร็จ โดยเร็วและตองเปดโอกาสใหผูรองเรียน เจาของขอมูลหรือบุคคลที่เกี่ยวของชี้แจงและแสดงพยานหลักฐาน ประกอบคําชีแ้ จงของตนไดตามสมควร

- ๑๔ เรื่องใดทีค่ ณะกรรมการสั่งไมรับไวพิจารณาหรือใหยุตเิ รื่องใหแจงแกผูรอ งเรียนทราบพรอมทั้งเหตุผล ที่ไมรับไวพจิ ารณาหรือใหยตุ ิเรื่อง มาตรา ๓๘ ในกรณีที่นายทะเบียนไมปฏิบัติตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้ หรือปฏิบัติการ ไมเปนไปตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้ ใหเจาของขอมูลสวนบุคคลหรือผูซึ่งไดรับความเสียหายมีสิทธิ แจงเปนหนังสือใหนายทะเบียนดําเนินการแกไขหรือดําเนินการใหถกู ตองภายในสิบหาวันนับแตวนั วันทีไ่ ดรับแจง ถานายทะเบียนไมดําเนินการแกไขหรือดําเนินการใหถูกตองหรือไมดําเนินการภายในกําหนดนับแต วันทีไ่ ดรับแจง ใหเจาของขอมูลสวนบุคคลหรือผูซึ่งไดรับความเสียหายนั้นมีสิทธิยนื่ คํารองเรียนตอคณะกรรมการ เพื่อขอใหสั่งใหนายทะเบียนดําเนินการได เมื่อไดรับคํารองเรียนตามวรรคหนึง่ ใหคณะกรรมการพิจารณาและมีคาํ สั่งใหแลวเสร็จภายในสามสิบ วันนับแตวันทีไ่ ดรับคํารองเรียน การยื่นและการพิจารณาคํารองเรียนใหเปนไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด มาตรา ๓๙ ในกรณีที่นายทะเบียนไมรายงานตามมาตรา ๓๖ และคณะกรรมการไดแจงเตือนแลว หรือไมปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการตามมาตรา ๑๔ หรือมาตรา ๓๘ วรรคสาม คณะกรรมการอาจสั่งให ผูประมวลขอมูลสวนบุคคลนั้นเปลี่ยนนายทะเบียนได มาตรา ๔๐ ในกรณีที่ผูประมวลขอมูลสวนบุคคลไมดําเนินการตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัตินี้ และกอใหเกิดความเสียหายอยางรายแรงแกสวนรวมหรือตอชีวิต รางกายและอนามัยของบุคคล หากผูประมวล ขอมูลสวนบุคคลนั้นเปนผูประกอบกิจการตามกฎหมายอืน่ ดวยแลว คณะกรรมการอาจเสนอความเห็นตอหนวยงาน ที่มีอํานาจหนาที่ในการควบคุมหรือกํากับดูแล การประกอบกิจการของผูประมวลขอมูลสวนบุคคล เพื่อใหมี คําสั่งใหหยุดประกอบกิจการ หรือพักใชหรือเพิกถอนใบอนุญาตประกอบกิจการตามกฎหมายอื่นนั้นก็ได ทั้งนี้ ตามความรายแรงแหงกรณี หมวด ๗ พนักงานเจาหนาที่ --------------------------มาตรา ๔๑ ในการปฏิบัติการใหเปนไปตามพระราชบัญญัตินี้ใหพนักงานเจาหนาที่โดยความเห็นชอบ ของเลขาธิการมีอํานาจและหนาที่ ดังตอไปนี้

- ๑๕ (๑) เรียกใหบุคคลใดมาใหถอยคําหรือสงวัตถุ เอกสาร หรือพยานหลักฐานมาประกอบการพิจารณา เพื่อประโยชนในการปฏิบัตกิ ารใหเปนไปตามพระราชบัญญัตินี้ (๒) เขาไปในอาคารหรือสถานที่ที่เกี่ยวของเกีย่ วกับการประมวลผลตามพระราชบัญญัตินี้ ในระหวาง เวลาทําการของผูดําเนินการประมวลผลนั้น เพื่อตรวจสอบวามีการกระทําอันเปนการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตาม บทบัญญัติแหงพระราชบัญญัตินี้หรือไม รวมถึงตรวจดูเอกสารและหลักฐานอื่นที่เกี่ยวของ เพื่อประโยชนใน การคุมครองขอมูลสวนบุคคล (๓) ตรวจสถานทีท่ ี่เกี่ยวกับเรื่องที่มีการรองเรียน โดยแจงใหเจาของหรือผูครอบครองสถานที่ ทราบลวงหนาในเวลาอันควร (๔) ยึดหรืออายัดทรัพยสิน เอกสาร หรือสิ่งของที่เกี่ยวของกับการกระทําความผิดเพื่อประโยชน ในการดําเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ (๕) ปฏิบัติการอื่นตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้ หรือตามที่กฎหมายอื่นกําหนดหรือตามที่ คณะกรรมการรองขอ มาตรา ๔๒ ในการปฏิบัตหิ นาที่ พนักงานเจาหนาที่ตอ งแสดงบัตรประจําตัวตอบุคคลซึ่งเกี่ยวของ บัตรประจําตัวพนักงานเจาหนาที่ใหเปนไปตามแบบที่กาํ หนดในกฎกระทรวง มาตรา ๔๓ ในการปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ใหพนักงานเจาหนาที่เปนเจาพนักงานตาม ประมวลกฎหมายอาญา หมวด ๘ มาตรการสงเสริม --------------------------มาตรา ๔๔ ผูประมวลขอมูลสวนบุคคลอาจขอรับการสงเสริมและสนับสนุนจากสํานักงานในการ ใหความชวยเหลือ แนะนําและใหคําปรึกษาในการดําเนินการประมวลผลหรือการดําเนินการอืน่ ที่เกีย่ วของ รวมถึง การอบรมพัฒนาเพื่อพัฒนาความรูความสามารถของบุคลากรซึ่งปฏิบัติงานเกี่ยวกับการประมวลผลหรือการดําเนินงาน อื่นที่เกี่ยวของ

- ๑๖ มาตรา ๔๕ ในการพิจารณาคําขอรับการสงเสริมและสนับสนุนตามมาตรา ๔๔ ใหคณะกรรมการ พิจารณาตามทีเ่ ห็นสมควร โดยคํานึงถึงความจําเปนในการใหความคุมครองขอมูลสวนบุคคลในเรือ่ งนั้น ทั้งนี้ คณะกรรมการอาจขอความรวมมือจากผูประมวลขอมูลสวนบุคคลอื่นหรือหนวยงานของรัฐก็ได มาตรา ๔๖ ในแตละปใหสํานักงานประเมินผลการประมวลของผูประมวลขอมูลสวนบุคคลหาก ผูประมวลขอมูลสวนบุคคลใดดําเนินการประมวลผลไดอยางมีประสิทธิภาพและเปนไปตามหลักเกณฑและมาตรฐาน ที่คณะกรรมการกําหนด ใหสํานักงานเสนอตอคณะกรรมการเพื่อใหไดรบั เครื่องหมายรับรองมาตรฐานการประมวลผล ลักษณะและรายละเอียดของเครื่องหมายรับรองมาตรฐานการประมวลผลใหเปนไปตามที่คณะกรรมการ กําหนด หมวด ๙ ความรับผิดทางแพง --------------------------มาตรา ๔๗ ผูประมวลขอมูลสวนบุคคล ผูครอบครองหรือควบคุมดูแลขอมูลสวนบุคคลใดกระทํา การเกี่ยวกับขอมูลสวนบุคคลอันกอใหเกิดความเสียหายแกเจาของขอมูลสวนบุคคลหรือแกบุคคลที่เกี่ยวของ ตองชดใชคาสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น ไมวาจะเปนการกระทําโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอหรือไมก็ตาม เวนแตจะพิสูจนไดวาการกระทํานั้นเกิดจากเหตุสุดวิจยั เปนการกระทําตามกฎหมายหรือตามคําสั่งของเจาหนาที่ ปฏิบัติตามอํานาจหนาที่ตามกฎหมาย หรือเกิดเพราะการกระทําหรือละเวนการกระทําของบุคคลที่เกี่ยวของหรือ เจาของขอมูลสวนบุคคล คาสินไหมทดแทนตามวรรคหนึ่ง ใหหมายความรวมถึงคาใชจายที่เจาของขอมูลสวนบุคคลหรือ บุคคลอื่นทีเ่ กีย่ วของแลวแตกรณีไดใชจายไปตามความจําเปนแกการปองกันความเสียหายที่เกิดขึ้นหรืออาจเกิดขึน้ ดวย หมวด ๑๐ บทกําหนดโทษ --------------------------มาตรา ๔๘ ผูใดกระทําการใดๆ เกี่ยวกับขอมูลสวนบุคคลเพื่อใหตนเองหรือผูอื่นไดรับประโยชน อันไมชอบดวยกฎหมาย หรือใหผูอื่นเสียหาย ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

- ๑๗ ถาการกระทําตามวรรคหนึ่งเปนการเผยแพรขอมูลสวนบุคคลโดยเฉพาะเจาะจงหรือโดยเปดเผยซึ่ง ขอมูลสวนบุคคลดังกลาว ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๔๙ นายทะเบียนผูใดไมดําเนินการตามมาตรา ๒๓ ตองระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งหมืน่ บาท มาตรา ๕๐ นายทะเบียนผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการตามมาตรา ๑๔ หรือ มาตรา ๓๘ วรรคสอง ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมืน่ บาทหรือทั้งจําทัง้ ปรับ มาตรา ๕๑ ในกรณีที่ผูตองรับโทษเปนนิติบุคคลใหผูแทนนิตบิ ุคคลตองระวางโทษที่กําหนดสําหรับ ความผิดนั้น เวนแตจะพิสูจนไดวาตนมิไดมีสวนในการกระทําความผิดของนิติบุคคลนั้น บทเฉพาะกาล --------------------------มาตรา ๕๒ ใหดําเนินการแตงตั้งคณะกรรมการคุมครองขอมูลสวนบุคคลตามพระราชบัญญัตินี้ภายใน เกาสิบวันนับแตวนั ที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ มาตรา ๕๓ ในระหวางที่ยงั มิไดแตงตั้งเลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ ใหผูซึ่งดํารงตําแหนงผูอํานวยการสํานักงานคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการในวันกอนวันที่พระราช บัญญัตินี้มีผลใชบังคับปฏิบัตหิ นาที่เลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการและตามพระราช บัญญัตินี้ ---------------------------

More Documents from "Chiranuch Premchaiporn"

Standing In The Shadows
November 2019 27
Dp_act_draft
December 2019 20
Rapport_en_2_
December 2019 18
October 2019 21
Massacre
November 2019 25