Chapter 15

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Chapter 15 as PDF for free.

More details

  • Words: 1,446
  • Pages: 36
วิ ชา ฟิ สิ กส ์ 2 บทที่ 15 นิวเ คล ียร ์ฟ ิ ส ิ กส์

นิ วเ คล ี ย สแล ะชน ิ ด ของนิว เคล ี ย ส นิวเคลียส : บริเวณใจกลางอะตอม ประกอบด้วยอนุภาคนิวตรอน และโปรตอน สัญลักษณ์นิวเคลียร์

A คือ เลขมวล = จำานวนนิวตรอน + โปรตอนA = Z+N

A Z

X

โปรตอน และนิวตรอน เรียกรวมว่านิวคลิออน ในอะตอมที่เป็นกลาง จะมีจำานวนโปรตอนเท่ากับอิเล็กตรอน

Z คือ เลขอะตอม = จำานวนโปรตอน

นิ วเ คล ี ย สแล ะชน ิ ด ของนิว เคล ี ย ส การจำา แนก ชนิด จากเลขมวล เ ลขอ ะตอ ม จำา นวน นิว ตรอ น แล ะระด ับ พลั ง งาน ไอโซโทป (Isotope) หมายถึงอะตอมทีม ่ ีจำานวนโปรตอนเท่ากัน ไอโซโทน (Isotone) หมายถึงอะตอมที่มีจำานวนนิวตรอนเท่ากัน ไอโซบาร์ (Isobar) หมายถึงอะตอมที่มีจำานวนนิวคลิออนเท่ากัน ไอโซไดอะเฟียร์ (Isodiaphere) หมายถึงอะตอมทีม่ ีผลต่างจำานวนนิวตรอนกับโปรตอนเท่ากัน ไอโซเมอร์ (Isomer) อะตอมทีม่ ีเลขมวลกับเลขอะตอมเท่ากันแต่ตา่ งกันที่ระดับพลังงาน

นิ วเ คล ี ย สแล ะชน ิ ด ของนิว เคล ี ย ส

ไอ โซโทป (isotope) H ไอ โซโ ทน (isotone) C 1 1 13 6

ไอ โซบาร์ (isobar) 144Ba 56

H N

2 1 14 7

La

ไอ โซเม อร์ (isomer)

Pr

Ce

Nd

144

144

144

144

57

58

59

60

ไอ โซไดอะเ ฟีย ร์ (isodiaphere) 59*

H O

3 1 15 8

Co,

30

59

Si14 ,

Co

32

P15 ,

34

S16

มวล แล ะพล ั ง งาน ความสัมพันธ์ระหว่างมวลและพลังงานจากทฤษฎีสัมพัทธภาพ

E  mc

2

หน่วยของมวลอะตอม 1 u = 1.66 X 10-27 kg ซึ่งมาจาก

1 1 amu = (atomic mass of 12 =1.660559  10-27 kg =931.5 MeV

c2

12

C)

Mass Particle

kg

amu

MeV/c2

Proton

1.6726 x 10-27

1.007276

938.28

Neutron

1.6750 x 10-27

1.008665

939.57

Electron

9.109 x 10-31

5.486 x 10-4

0.511

ขนาด ของ นิ ว เค ลี ย ส

R α A1/3 R = R0 A1/3

Ro = 1.2-1.5 fermi (จาก กา รท ดลอง )

โดยทั่ว ไปจ ะใช้

Ro = 1.35 f (1 f = 10-15 m)

ตัว อย่ าง ที ่ 1 จงประมาณรัศมีนิวเคลียสของอะตอมไฮโดรเจน และคาร์บอน

พล ัง งานยึด เห นี ่ ย ว แรงที่ทำาให้นวิ คลิออนรวมตัวกันเป็น

นิวเคลียสอยู่ได้ มีระยะเพียง 2 fm อย่างไรก็ตามแรงนิวเคลียร์ต้องสู้กับ แรงทางไฟฟ้า

แสดงว่าต้องมีพลังงานยึดเหนี่ยวเนื่อ

งมาจากแรงนิวเคลียร์ ซึ่งเป็นพลังงานทีต่ ้องใช้ในการแยกนิ วตรอน และโปรตอนออกจากกัน

ตั วอ ย่าง ที่ 2 นิวเคลียสของดิวเทอเรียวอะตอมเรียกว่า ดิวเทอรอน ประกอบไปด้วย โปรตอนและนิวตรอนอย่างละ 1 ตัว จงคำานวณหาพลังงานยึดเหนี่ยวของดิวเทอรอน เมื่อมวลอะตอมของดิวเทอรอน 2.014102 amu Solution m p  1.007825 amu

mn = 1.008665 amu มวลของนิวคลิออนแต่และตัวรวมกันได้

m p  mn  2.016490 amu

m   m p  mn   md  0.002388 amu

มวลที่หายไปกลายเป็นพลังงานคำานวณโดย

E  mc ซึ่ง

2

1 amu = 931.5 MeV/c 2 1 amu c  931.5 MeV 2

MeV  Eb  mc   0.002388 amu   931.5  amu    2.224 MeV 2



เขียนเป็นสมการสำาหรับคำานวณพลังงานยึดเหนี่ยวได้ B.E. = MeV เมื่ อ

[Zmp + (A – Z)mn – m] 931.5 Z คือ เล ขอะต อม A คือ เล ขม วล A–Z คือ เล ขนิวต รอน m คือ ม วล ที แ่ ท ้จร ิง ในหน ่วย amu

เสถ ี ย รภา พข องนิ วเ คล ี ย ร์ นิวไคล์ของธาตุเบาเสถียรเมื่อ

N=Z นิวไคล์ของธาตุหนักเสถียรเมื่อ N> Z นิวเคลียสที่มี n หรือ p = 2, 8, 20, 50, 82 และ 126 จะมีความเสถียรสูง นิวเคลียสที่มีทั้ง n และ p เป็นเลขคู่ มีความเสถียรสูงกว่า เลขคี่ นิวเคลียสที่ไม่เสถียรจะปรับตัวเองโดยก ารปลดปล่อยรังสีออกมาเรียกว่าการปล ดปล่อยกัมมันตภาพรังสี(Radioactivity)

ใช้ ΔE/nucleon ระบุเสถียรภาพของนิวเคลียสได้ ดังนัน้ หากธาตุมี ΔE/nucleon สูง นิวเคลียสก็จะมี เสถียรภาพสูง ยากแก่การทำาลาย ΔE α Δm ดังนัน้ หาก ΔE สูง Δm ก็สงู ตามด้วย แสดงว่านิวเคลียสที่เสถียร จะยึดเกาะเป็นกลุ่มได้ดี และมีการสูญเสีย มวลของนิวเคลียส มาก นั่นคือมีมวลต่อนิวคลีออนน้อย

ค่าสูงสุด ที่ mass ≈ 60 (เสถี ยรสูง , กล ุ่ม 8B, 8-10 )

ธาต ุห นัก ที่เส ถีย รน้อย มีแ นวโน้มท จะ เกิด ปฏิก ิ ร ิย าแ ตก ตัว (fission)

มีคว ามเส ถียรน้อ ย มี แนว โน้มที่จะ เปลี่ย นเ ป็ นธ าตุท เสถ ีย รมากกว ่า โดยเกิด ปฏิกิร ิยา หล อมตัว (fusion) 15 กุมภาพันธ์ 2550

15

19 9

F ตั ว อย่าง ที ่ 3 จงหาพลังงานยึดเหนีย่ วต่อนิวคลีออนของ ซึ่งมีมวลอะตอม 18.998405 amu

แบ บจำา ลองของ นิ ว เค ลี ย ส

แรงนิวเคลียร์จะมีลกั ษณะเดียวกันกั บแรงตึงผิวซึ่งมีพสิ ัยสั้น นิวเคลียสจึงเป็นทรงกลมเหมือนกับ หยดของเหลว

กฎการสล าย ตั ว การทีน ่ ิวเคลียสของธาตุที่ไม่เสถียรเปลีย่ นสภาพเป็นนิวเคลียสของธาตุใหม่

หรือเปลีย่ นโครงสร้างภายในแล้วปล่อยกัมมันตภาพรังสีออกมาเรียกว่า การสลายตัว (decay) อัตราการสลายตัวของสารกัมมันตภาพรังสี เรียกว่า กัมมันตภาพ (activity) dN A 

dt

  N

หน่วยของ A ในระบบ SI คือ Becquerel ซึง่ 1 Bq = 1 dps หน่วยของ A เดิมคือ Curie ซึง่ 1 Ci = 3.7 x 1010 Bq 1 Ci นิยามจากอัตราการสลายตัวของเรเดียมจำานวน 1 g

กฎการสล าย ตั ว  ถ้าต้องการหาจำานวนนิวเคลียสของสารกัมมันตรังสีเมื่อเวลาผ่านไป t

ทำาได้โดยอินทิเกรตสมการ จะได้ N

dN N N 0

t

    dt



N

N 0 e  t

0

เรียกว่ากฎการสลายตัวของสารกัมมันตรังสี (law of radioactive decay)  เราไม่สามารถคำานวณหาเวลาที่สารกัมมันตรังสีสลายตัวจนหมดได้ แต่จะหาเวลาที่จำานวนนิวเคลียสของมันลดลงเหลือครึ่งหนึ่งของตอนเริ่มต้น  T1 0.693 ระยะเวลาช่วงนี้เรียกว่N า ครึ ง ่ ชี ว ต ิ (half-life) 0 2  N0e T1  2

2



 อายุเฉลี่ยของนิวเคลียสของสารกัมมันตรังสีจะค่าเป็นส่วนกลับของค่าคงที่ของการสลายตัว





1 

ตั วอ ย่าง 15-4 จงหากัมมันตภาพ (activity) ของเรดอน จำานวน 1000 μg มีครึ่งชีวิต 3.8 วัน และเป็นเวลานานเท่าใดปริมาณของเรดอนจึงจะสลายไป 60% ของค่าเริ่มต้น ค่าคงทีก่ ารสลายตัวของเรดอน =

0.693

T1 2

=

0.693

(3.8d )(86, 400 s / d )

= 2.1 × 10-6 s -1 เรดอน มีเลขมวลอะตอม = 222 มวลอะตอมจะมีค่าใกล้เคียงกับเลขมวลอะตอมในหน่วย amu -6 จำานวนอะตอมของเรดอน คือ 10 kg N = (222amu)(1.66  10-27 kg/amu) = 2.7 × 1018 อะตอม

ตั วอ ย่าง 15-4 จงหากัมมันตภาพ (activity) ของเรดอน จำานวน 1000 μg มีครึ่งชีวิต 3.8 วัน และเป็นเวลานานเท่าใดปริมาณของเรดอนจึงจะสลายไป 60% ของค่าเริ่มต้น กัมมันตภาพของเรดอน 1 µ g

A = λN

= (2.1 × 10-6 s-1)(2.7 × 1018 =nuclei) 5.7 × 10-12 Bq

เมื่อเรดอนสลายตัวไป 60% จาก

N = N 0e หรือ

−λt

N0 t = ln  N 1

ตั วอ ย่าง 15-4 จงหากัมมันตภาพ (activity) ของเรดอน จำานวน 1000 μg มีครึ่งชีวิต 3.8 วัน และเป็นเวลานานเท่าใดปริมาณของเรดอนจึงจะสลายไป 60% ของค่าเริ่มต้น ซึ่งจากโจทย์ ต้องการ

N = (1 - 0.6)N0

= 0.4N0

1 1 ln t= −6 2.1×10 0.4

= 5.02 วัน ต้ อง ใช ้ เว ลาน าน 5.02 วัน เรด อน จึง จะส ลาย ตัวไป 60% ขอ งปริ มาณ เริ่มต้ น

ตัว อย่าง 15-5 วัดกัมมันตภาพรังสีของคาร์บอน-14 ในวัตถุโบราณชิ้นหนึง่ ได้เท่ากับ 2.8 × 107 Bq ครึ่งชีวิตของคาร์บอน-14 มีค่าเท่ากับ 5730 ปี ก. จงหาค่าคงที่ของการสลายตัว ในหน่วย s-1 ข. จงคำานวณปริมาณเริ่มต้นของคาร์บอน-14 ค. จงหาค่ากัมมันตภาพเมื่อเวลาผ่านไป 1000 ปี ง. จงหาค่ากัมมันตภาพเมื่อเวลาผ่านไป 4 เท่าของครึ่งชีวิต

0.693

ก. ค่าคงที่ของการสลายตัว =

T1 2

= =

0.693

(5730 y )(315  107 s / y )

3.84 × 10-12

s-1

ตัว อย่าง 15-5 วัดกัมมันตภาพรังสีของคาร์บอน-14 ในวัตถุโบราณชิ้นหนึง่ ได้เท่ากับ 2.8 × 107 Bq ครึ่งชีวิตของคาร์บอน-14 มีค่าเท่ากับ 5730 ปี ก. จงหาค่าคงที่ของการสลายตัว ในหน่วย s-1 ข. จงคำานวณปริมาณเริ่มต้นของคาร์บอน-14 ค. จงหาค่ากัมมันตภาพเมื่อเวลาผ่านไป 1000 ปี ง. จงหาค่ากัมมันตภาพเมื่อเวลาผ่านไป 4 เท่าของครึ่งชีวิต ข. เพราะ A = λN0 เมื่อ N0 คือปริมาณเริ่มต้นของคาร์บอน -14 N0

7

Bq = 12 1 3.84  10 s 2.8  10

= 7.3 × 1018

อะตอม

ตัว อย่าง 15-5 วัดกัมมันตภาพรังสีของคาร์บอน-14 ในวัตถุโบราณชิ้นหนึง่ ได้เท่ากับ 2.8 × 107 Bq ครึ่งชีวิตของคาร์บอน-14 มีค่าเท่ากับ 5730 ปี ก. จงหาค่าคงที่ของการสลายตัว ในหน่วย s-1 ข. จงคำานวณปริมาณเริ่มต้นของคาร์บอน-14 ค. จงหาค่ากัมมันตภาพเมื่อเวลาผ่านไป 1000 ปี ง. จงหาค่ากัมมันตภาพเมื่อเวลาผ่านไป 4 เท่าของครึ่งชีวิต

N = N 0e

−λt

= ( 2.8×107 Bq )⋅exp(-(3.84×10-12s-1)(3.15×10 = 2.5 × 107 Bq

ตัว อย่าง 15-5 วัดกัมมันตภาพรังสีของคาร์บอน-14 ในวัตถุโบราณชิ้นหนึง่ ได้เท่ากับ 2.8 × 107 Bq ครึ่งชีวิตของคาร์บอน-14 มีค่าเท่ากับ 5730 ปี ก. จงหาค่าคงที่ของการสลายตัว ในหน่วย s-1 ข. จงคำานวณปริมาณเริ่มต้นของคาร์บอน-14 ค. จงหาค่ากัมมันตภาพเมื่อเวลาผ่านไป 1000 ปี ง. จงหาค่ากัมมันตภาพเมื่อเวลาผ่านไป 4 เท่าของครึ่งชีวิต ง. เมื่อเวลาผ่านไปครึ่งชีวิต ปริมาณคาร์บอน-14 จะลดเหลือครึ่งหนึง่ ของปริมาณเดิม เมื่อเวลาผ่านไป 4 เท่าของครึ่งชีวิต นั่นคือ

1 N = N0   2

4

= 1.7 × 106

Bq

การสลายตั วให ้ ร ัง สี แอ ลฟา

a z

X→

Y + He

A -4 Z- 2

4 2

การสลายตั วให ้ ร ัง สี เบตาร์ β = e

A Z

X → Y + β +ν

β = e

A Z

X → Y + β +ν

− +

0 −1

0 +1

A Z +1 A Z −1



+

การสลายตั วให ้ ร ัง สี แก รมม า เป็นกระบวนการทีน่ ิวเคลียสปรับตัวจากสถา นะกระตุ้นกลับลงมายังสถานะพื้น

A Z 12 5

X *→ X + γ A Z

B →126 C * +β − + ν

C * →126 C + γ

12 6

การทะลุ ทะ ลวง

การวิ เคร าะ ห์

ปฏิ กิ ร ิ ย าน ิ วเ คล ีย ร์ สมการ E= mc2 ใช้คำานวณพลังงานที่เกิดขึ้นในปฏิกริ ิยานิวเคลียร์

จากมวลทีห่ ายไปในปฏิกิริยา (การสลายตัวให้กัมมันตภาพรังสี ก็ใช้สมการนี้ได้ด้วย) Q: Reaction energy Q = ( M a + M X − M Y

− M b )c

2

a + X →Y +b X (a, b)Y 1 7 4 4 H + 3 Li →2 He+ 2 He Q = 17.3MeV 1 7 4 3 Li ( p, α ) 2 He

เมื่อพิจารณามวลนิง่ ของอะตอมและอนุภาคในสมการ 14 7

N  24 He 

17 8

O  11H

ไนโต รเ จน =14. 003 07 amu ออกซิเ จน = 16 .99 913 amu แอ ลฟา = 4. 00260 amu ไฮโ ดรเ จน = 1. 00 783 amu 2 00 567 amu 18. 00696 Q 18. = (M + M − M − M ) c a X Y b amu = (18.00567 − 18.00696 ) c 2 = ( 0.00129 ) c 2

= 1.20 MeV

มวลนิ่งทีเ่ พิม่ ขึ้นเกิดจากการดูดกลืนพลังงานจลน์ของอนุภาคที่เป็นตัวยิง ถ้าพลังงานจลน์ของอนุภาคทีเ่ ป็นตัวยิงมีค่าน้อยกว่า 1.20 MeV ปฏิกิริยา นิวเคลียร์นี้จะไม่เกิด

Nuclear Fission  ปฏิกิริยานิวเคลียร์ซึ่งเกิดจากการยิงนิวตรอนหรืออนุภาคอื่นๆ เช่น อนุภาคแอลฟา หรือโปรตอน

ไปยังนิวเคลียสของธาตุหนัก ทำาให้นิวเคลียสของธาตุหนักไปอยู่ที่สถานะกระตุ้น แล้วแบ่งตัวเองออกเป็น 2 ส่วน แต่ละส่วนจะเป็นนิวเคลียสของธาตุใหม่ที่มขี นาดใกล้เคียงกัน และมีนิวตรอนถูกปล่อยออกมาครั้งละประมาณ 2-3 ตัว ปฏิกิริยาแบบนีเ้ รียกว่า กระ บวน การ แบ ่ งแย กตั ว

Nuclear Fusion ปฏิกิริยานิวเคลียร์อกี ประเภทหนึ่งเกิดจากนิวเคลียสเบา 2 นิวเคลียส

หลอมตัวเป็นนิวเคลียสที่หนักกว่า ผลรวมของมวลนิง่ ของนิวเคลียสเบาจะมีค่ามากกว่ามวลนิ่งของนิวเคลียสตัวใหม่ มวลทีห่ ายไปนี้กลายเป็นพลังงานมหาศาลซึ่งถูกปลดปล่อยออกมา ปฏิกิริยาเช่นนี้เรียกว่า กร ะบวนก ารหล อมตปฏิัวกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน่ ที่เกิดขึน้ ในดาวฤกษ์ เช่นดวงอาทิตย์

Nuclear Fusion (on Earth) 2 1

H + H → He+ n

2 1

H+ H→ H+ H

2 1

H + H → He+ n

2 1 2 1

3 1

3 2

3 1

1 0

1 1

4 2

แต่ละปฏิกิริยา ให้ Q =3.27, 4.03 และ 17.59 MeV ตามลำาดับ

1 0

Related Documents

Chapter 15
November 2019 21
Chapter 15
December 2019 11
Chapter 15
June 2020 10
Chapter 15
April 2020 6
Chapter 15
November 2019 19
Chapter 15
May 2020 10