รายงาน ระบบสารสนเทศทางการผลิต กรณีศึกษา : Systems, Applications Products in Data Processing
เสนอ อาจารย์นราทิป วงษ์ปัน จัดทาโดย นายวิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาค้นคว้าประกอบการเรียนการสอน ในรายวิชา ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ รหัส 102203 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 คณะบริหารธุกิจ มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น
รายงานเรือ ่ ง:ระบบสารสนเทศทางการผลิต Manufacturing Information System
คานา (Preface) ปั จ จุบัน เทคโนโลยี ส ารสนเทศเริ่ ม มี บ ทบาทมากขึน้ ในชี วิ ต ประจ าวัน แทบจะเกี่ ย วข้ อ งกับ การ ดารงชีวิตของแต่ละคน การนาเอาเทคโนโลยีมาใช้ ในกระบวนการการผลิต มีแพร่ หลายมากยิ่งขึ ้น ไม่ว่าจะ เป็ นธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ไปจนถึงธุรกิจขนาดใหญ่ (Enterprise) เพื่อลดต้ นทุนค่าใช้ จ่าย และลดความผิดพลาดจากการจัดเก็บข้ อมูล จึงจาเป็ นต้ องนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ ามาประยุกต์ใช้ ใน องค์กรของตน ซึ่งระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางการผลิตนัน้ จะช่วยให้ การบริ หารจัดการทางการผลิตเกิด ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ ้น ผลิตสินค้ าทันต่อความต้ องการของลูกค้ า และได้ เปรี ยบคูแ่ ข่งทางการค้ า รายงานเล่มนี ้ ทางคณะผู้จดั ทาได้ รวบรวมข้ อมูล ที่มีความเกี่ยวข้ องกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ทางการผลิต ตังแต่ ้ ระบบออกแบบการผลิต ระบบวางแผนการผลิต ระบบจัดการโลจิสติกส์ ระบบดาเนินการ ผลิต และระบบควบคุมการผลิต ซึ่งการประมวลผลของระบบต่างๆ เหล่านี ้ จาเป็ นต้ องใช้ เทคโนโลยีทางการ ผลิต อาทิเช่น โปรแกรมสาเร็ จรู ปทางการผลิต การใช้ หุ่นยนต์ การใช้ รหัสแท่ง การใช้ งานอินเทอร์ เน็ต การ ออกแบบโดยใช้ คอมพิ วเตอร์ ช่วย การผลิตโดยใช้ คอมพิวเตอร์ ช่วย ระบบการผลิตแบบยืดหยุ่น การผลิตแบบ ผสมผสานด้ วยระบบคอมพิวเตอร์ ระบบบูรณาการทางการผลิต และระบบสับเปลี่ยนข้ อมูลอิเลคทรอนิคส์ เป็ นต้ น เพื่อช่วยสนับสนุนงานด้ านการนาเสนอสารสนเทศทางการผลิตที่ถกู ต้ อง รวดเร็ว และทันต่อเหตุการณ์ ทางผู้จัดทาหวังเป็ นอย่างยิ่งว่า รายงานเล่มนีจ้ ะเป็ นประโยชน์ต่อผู้ใคร่ ศึกษา หาความรู้ เกี่ ยวกับ ระบบสารสนเทศทางการผลิต ไม่มากก็น้อย หากเนื ้อหาภายในรายงานเล่มนี ้พิมพ์ผิด ขาด ตก บกพร่ องแต่ ประการใด ทางผู้จดั ทาจึงขออภัยมา ณ ที่นี ้ด้ วย
วิษณุ สุวรรณเวียง ผู้จัดทา
วิชาระบบสารสนเทศทางธุรกิจเบือ ้ งต ้น Basic Business Information System
102203
A
รายงานเรือ ่ ง:ระบบสารสนเทศทางการผลิต Manufacturing Information System
B
สารบัญ (Index) เรื่ อง
หน้ า บทที่ 1 ระบบสารสนเทศทางการผลิต (Manufacturing Information System)…………………. 1 บทนา………………………………………………………………………………………... แนวคิดและความหมาย……………………………………………………………………. บทที่ 2 การจัดการการผลิตและดาเนินการ (Production and Operation Management)…….. การผลิตและการดาเนินงาน....................................................................................... แนวคิดและความหมาย……………………………………………………………………. วิวัฒนาการการผลิต.................................................................................................... กลยุทธ์ การผลิตและการดาเนินงาน........................................................................... หน้ าที่ทางการผลิตและการดาเนินงาน....................................................................... การจัดการโซ่ อุปทานและโลจิสติกส์ ……………………………………………………... ระบบการผลิตยุคใหม่ ……………………………………………………………………… บทที่ 3 สารสนเทศทางการผลิต (Manufacturing Information)………………………………… แนวคิดและความหมาย.............................................................................................. การจาแนกประเภทของสารสนเทศทางการผลิต……………………………………….. กระบวนการทางธุรกิจของระบบสารสนเทศ……………………………………………. - ระบบการออกแบบการผลิต - ระบบการวางแผนการผลิต - ระบบจัดการโลจิสติกส์ - ระบบดาเนินงานการผลิต - ระบบควบคุมการผลิต บทที่ 4 เทคโนโลยีการผลิต (Manufacturing Technology)……………………………………… โปรแกรมสาเร็จรู ปทางการผลิต………………………………………………………….. - โปรแกรมสาเร็จรูปด้ านการจัดการโลจิสติกส์ - โปรแกรมสาเร็จรูปด้ านการควบคุมสินค้ าคงเหลือ - โปรแกรมสาเร็จรูปด้ านการวางแผนความต้ องการวัสดุ - โปรแกรมสาเร็จรูปด้ านการวางแผนทรัพยากรการผลิต - โปรแกรมสาเร็จรูปด้ านการผลิตแบบทันเวลาพอดี วิชาระบบสารสนเทศทางธุรกิจเบือ ้ งต ้น Basic Business Information System
102203
1 1
13 13 13 14 14 15 16 17
19 19 19 21
26 26
รายงานเรือ ่ ง:ระบบสารสนเทศทางการผลิต Manufacturing Information System
เรื่ อง
หน้ า
ระบบสับเปลี่ยนข้ อมูลทางอิเลคทรอนิคส์ ………………………………………………. - Electronic Data Interchange : EDI บทที่ 5 สรุ ปและกรณีศกึ ษา (Summarize and Case Study)……………………………………... สรุป………………………………………………………………………………………….. กรณีศึกษา…………………………………………………………………………………… - โปรแกรมบริ หารจัดการการผลิต Systems, Applications Products in Data Processing : SAP - ตัวอย่างบริษัทในประเทศไทยที่นา SAP มาประยุกต์ใช้ ในองค์กร บริษัท กระเบื ้องหลังคาตราเพชร จากัด (มหาชน) บรรณานุกรม (Reference)………………………………………………………………………..
ภาคผนวก (Appendices)..................................................................................................... .......
วิชาระบบสารสนเทศทางธุรกิจเบือ ้ งต ้น Basic Business Information System
C
102203
32
37 37 38
บทที่ 1 บทนำ Introduction to
Manufacturing Information System
รายงานเรือ ่ ง ระบบสารสนเทศทางการผลิต วิชา ระบบสารสนเทศทางธุรกิจเบือ ้ งตน ้
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 1 บทที่ 1 : บทนา
บทที่ 1 บทนา (Introduction to Manufacturing Information System) การผลิตและดาเนินงาน คือ หน้ าที่วานหนึ่งทางธุรกิจ ซึ่งรับผิดชอบสาหรับกระบวนการการแปรรูป ปั จ จัย การผลิ ต เพื่ อ เข้ า สู่รู ป แบบของผลิ ต ภัณ ฑ์ นั่น ก็ คื อ สิ น ค้ า หรื อ บริ ก ารนั่น เอง ซึ่ ง ถ้ าหากมี ก าร เปรี ยบเที ยบกับหน้ าที่ งานด้ านอื่นของธุรกิ จ แล้ ว พื น้ ที่ งานด้ านผลิตและการดาเนินงานจะถูกแบ่ง แยก ออกเป็ นพื ้นที่ยอ่ ยที่มีความหลาหลาย อันสืบเนื่องมาจากการที่ธุรกิจมีผลิตภัณฑ์หลากหลายรูปแบบนัน่ เอง ดังนัน้ องค์กรธุรกิจจึงจาเป็ นต้ องมีการที่ธุรกิจจาเป็ นต้ องมีการจัดการการผลิตและดาเนินงาน (Production and operation management: POM) ที่ดีและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนมีการใช้ สารสนเทศทางการผลิต เพื่อเป็ นเครื่ องมือช่วยสนับสนุนอีกด้ วย ระบบสารสนเทศทางการผลิต นับเป็ นเครื่ องมือหนึ่งของการนาเสนอสารสนเทศทางการผลิตเพื่อ ตอบสนองความต้ อ งการของผู้ใ ช้ ส ารสนเทศด้ า นการวางแผน การจัด การ การควบคุม การผลิ ต และ ดาเนินงาน ตลอดจนมีการควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ซึ่งเป็ นผลลัทธ์ จากกระบวนการผลิต ซึ่งความ ต้ องการสารสนเทศที่ แตกต่างไปจากธุ รกิจ บริ การ หรื อธุ รกิ จ บริ การในโรงพยาบาล จะมีความต้ องการ สารสนเทศที่แตกต่างไปจากธุรกิจบริการในมหาวิทยาลัย เป็ นต้ น แนวคิดและความหมาย O’ Brien (2005, p. 240) ได้ ให้ นิยามไว้ ว่า ระบบสารสนเทศทางการผลิต หมายถึง ระบบที่ พัฒนาขึ ้นเพื่อใช้ สนับสนุนหน้ าที่งานด้ านการผลิตและดาเนินงาน ตลอดจนกิจกรรมที่มีความเกี่ยวข้ องกับ การวางแผน การควบคุมกระบวนการผลิตและดาเนินงาน ในส่วนของการวางแผน การติดตามดูแล การ ควบคุมสินค้ าคงเหลือ การจัดซื ้อ รวมทังกระแสไหลเข้ ้ าออกสินค้ าหรื อบริ การ นอกจากนี ้ ยังมีการเชื่อมต่อ ระบบสารสนเทศทางการผลิตเข้ ากับระบบสารสนเทศของธุรกิจขนส่ง ผู้ค้าปลีก สถาบันการเงินและธุรกิจซึ่ง ให้ บริการประเภทต่างๆ ในฐานะองค์การคูค่ า่ ขายภายนอกของธุรกิจเพื่อประสิทธิภาพด้ านการวางแผนและ การควบคุมการดาเนินการผลิต ทังนี ้ ้จะต้ องตังอยู ้ บ่ นพื ้นฐานของการใช้ ระบบคอมพิวเตอร์ เป็ นสาคัญ Laudon and Laudon (2005, p. 51) ได้ ให้ นิยายว่า ระบบสารสนเทศทางการผลิต หมายถึง ระบบ สารสนเทศที่ใช้ สนับสนุนกิจกรรมด้ านการผลิตสินค้ าหรื อบริ การ อาทิเช่น การวางแผนการผลิต การพัฒนา ผลิตภัณฑ์ การบารุ งรักษาเครื่ องจักรและอุปกรณ์การผลิต เพื่อให้ บรรลุเป้าหมายของการผลิตในส่วนของ การจัดหา การจัดเก็บ และการดารงวัตถุดิบในการผลิต การจัดการตารางของการใช้ อปุ กรณ์พื ้นที่การผลิต
วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 2 บทที่ 1 : บทนา
วัสดุและแรงงานที่ต้องการสาหรับการผลิตสินค้ าสาเร็ จรูป เป็ นต้ น ซึ่งสามารถจาแนกระบบย่อยออกเป็ น 3 ประเภท ดังนี ้ ประเภทที่ 1 ระบบในระดับกลยุทธ์ จะมีความเกี่ยวข้ องกับเป้าหมายการผลิตในระยะยาว เช่น การกาหนดสถานที่ตงโรงงาน ั้ หรื อการลงทุนในเทคโนโลยีการผลิต ประเภทที่ 2 ระบบในระดับบริ หารหรื อกลวิธี จะมีความเกี่ยวข้ องกับการวิเคราะห์และการ ติดตามดูแลต้ นทุนและทรัพยากรการผลิต ประเภทที่ 3 ระบบในระดับภาคปฏิบัตกิ าร จะมีความเกี่ยวข้ องกับงานพื ้นฐานของการผลิต จะเห็นได้ ว่าในแต่ละความหมายของระบบสารสนเทศทางการผลิต จะมุ่งเน้ นการนาเสนอสาน สนเทศทางการผลิต เพื่อช่วยสนับสนุนกิจกรรมด้ านต่างๆของการผลิตและดาเนินงาน ทังในระดั ้ บกลยุทธ์ กลวิธีและปฏิบตั ิการทังนี ้ ้อาจมีการเชื่อมโยงสารสนเทศเข้ ากับระบบสารสนเทศขององค์การคู่ค้าที่ธุรกิจมี การติดต่อ สัม พัน ธ์ กัน ในระยะยาว โดยมุ่ง เน้ น ความร่ ว มมื อ กัน ใช้ เ ทคโนโลยี สารสนเทศ ( Information Technology Collaboration) และยัง สนองตอบความคิดด้ านการจัดการโซ่อุปทาน (Supply Chain Management: SCM) ซึง่ นับวันจะมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการผลิตและดาเนินงานของธุรกิจในยุคปั จจุบนั แนวความคิดของระบบธุรกิจและห่ วงโซ่ คุณค่ า ระบบธุรกิจ (Business System) ขอบเขตของระบบ (System Boundary) โดยสมมติให้ วงกลมใหญ่แทนองค์กรธุรกิจ ซึ่งในที่นี ้ก็ คือ “ระบบธุรกิจ” ภายใต้ ขอบเขตของระบบนี ้ เป็ นสิ่งที่ผ้ บู ริหารสามารถวางแผน ดาเนินกิจการและควบคุม กิจกรรมต่างๆ ให้ บรรลุตามเป หมายขององค์กรได้ ขณะที่สิ่งที่อยู่นอกขอบเขตของระบบจะไม่สามารถ ควบคุมได้ แต่เป็ นสิ่งที่มีอิทธิพลต่อการดาเนินงานของธุรกิจทังสิ ้ ้น ระบบย่ อ ย (Subsystems) ได้ แ ก่ ห น้ า ที่ ก ารงานต่า งๆที่ อ ยู่ใ นระบบหลัก เช่น หน้ า ที่ ท าง การเงิน บัญชีบริ หารบุคคล ซึ่งมีวตั ถุประสงค์เฉพาะของแต่ละหน้ าที่ที่แตกต่างกันไป เช่น เป้าหมายทาง การตลาด คือ เพื่อแสวงหาลูกค้ า ในขณะที่หน้ าที่ทางการเงิน คือ การจัดหาแหล่งทุน เป็ นต้ น ปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ความสัมพันธ์ ระหว่างระบบย่อยต่างๆ เพื่อการแลกเปลี่ยนข้ อมูล ข่าวสารซึง่ กันและกัน เพื่อการประสานงานกันให้ บรรลุเป้าหมายหลักขององค์กร ความเป็ นอิสระต่ อกันและการพึ่งพากัน (Independence and Interdependence) เป็ นความ อิสระต่อกันภายในระบบย่อยหนึง่ ๆ ทาให้ มองเห็นภาพได้ วา่ ระบบย่อยหนึ่งๆ อาจถูกมองให้ เป็ นระบบหลัก ได้ เช่นกัน โดยมีขอบเขต วัตถุประสงค์ และ ปฏิสมั พันธ์ได้ เช่นเดียวกัน ระบบธุรกิจ จึงเป็ นระบบที่พบเห็นกันอยู่ในชีวิตประจาวันค่อนข้ างมาก มีความสัมพันธ์กันใน หลายๆหน้ าที่การงานอย่างเด่นชัด แม้ จะแบ่งแยกหน้ าที่กนั อย่างชัดเจน และมีวตั ถุประสงค์แตกต่างกัน ออกไป แต่กลับต้ องอาศัยข้ อมูลต่างๆเพื่อทางานร่ วมกันอย่างเป็ นระเบียบ เพื่อให้ บรรลุวตั ถุประสงค์ของ
วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 3 บทที่ 1 : บทนา
องค์กรร่วมกัน ซึ่งเป็ นวัตถุประสงค์เดียวกัน เช่น วัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากาไร เพื่อสร้ างยอดขาย เพื่อ สังคม เป็ นต้ น
รูปที่ 1.1 : ภาพจาลองระบบธุรกิจและองค์ประกอบของระบบ ห่ วงโซ่ คุณค่ า (Value Chain) ตาม แนวคิดของ Michel E. Porter ได้ สร้ างภาพจาลอง ห่วงโซ่คณ ุ ค่า (Value Chain ) ของธุรกิจ ซึ่งประกอบด้ วยกิจกรรมหลัก (Primary Activities) และกิจกรรมสนับสนุน (Support Activities) โดยที่ กิจกรรมต่างๆเหล่านี ้จะมีผลต่อความสามารถในการทากาไรขององค์กรธุรกิจ
วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 4 บทที่ 1 : บทนา
รูปที่ 1.2 : แบบจาลองห่วงโซคุณค่า กิจกรรมหลัก 5 กิจกรรมประกอบไปด้ วย การพลาธิการขาเข้ า (Inbound Logistics) การผลิตหรื อ การปฏิ บัติ ก าร (Operation) การพลาธิ ก ารขาออก (Outbound Logistics) การตลาดและการขาย (Marketing and Sales)และการให้ บริการลูกค้ า (Customer Services) กิจกรรมหลักข้ างต้ นจะต้ องทางาน ประสานกันตามลาดับขันตอนที ้ ่เหมาะสมและมีการ ส่งต่อไปกับยังกิจกรรมถัดไปพร้ อมกับการเพิ่มคุณค่าที่ เป็ นผลลัพธ์ของแต่ละ กิจกรรม ลักษณะของการส่งต่อภาระงานอันทรงคุณค่านี ้มีความสัมพันธ์กนั เป็ น ห่วงโซ่ที่ ขาดจากกันไม่ได้ และมักจะขาดในจุดที่อ่อนแอที่สดุ ซึ่งในปั จจุบนั เป็ นศาสตร์ ความรู้ใหม่ที่อาศัย เทคโนโลนสารสนเทศเข้ ามาช่วย บริ หารจัดการห่วงโซ่เหล่านี เ้ ป็ นที่ ร้ ู จักกันดีว่า การจัดการโซ่อุปทาน (Supply Chain Management ; SCM)
รูปที่ 1.3 : ภาพแสดงการใช้ IT ในการจัดการโซ่อปุ ทาน กิจกรรมหลักข้ างต้ นจะทางานประสานงานกันได้ ดีจนก่อให้ เกิดคุณค่าได้ นนจะ ั ้ ต้ องอาศัยกิ จกรรม สนับสนุนทัง้ 4 กิจกรรม ซึ่งได้ แก่ โครงสร้ างองค์กร (Firm Infrastructure) ได้ แก่ ระบบบัญชี ระบบ การเงิน การบริ หารจัดการ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Management) การ พัฒ นาเทคโนโลยี (Technology Development) และการจัด หา (Procurement) นอกจากกิ จ กรรม สนับสนุน จะทาหน้ าที่สนับสนุนกิจกรรมหลักแล้ ว กิจกรรมสนับสนุนยังจะต้ องทาหน้ าที่สนับสนุนซึ่งกันและ กันอีกด้ วย วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 5 บทที่ 1 : บทนา
รูปที่ 1.4 ตัวอย่างโครงสร้ างองค์กร ดังนันระบบสารสนเทศจึ ้ งกลายมาเป็ นองค์ประกอบหนึ่งในห่วงโซ่คณ ุ ค่าในส่วนของ การพัฒนา ด้ านเทคโนโลยี ทั ง้ นี อ้ ง ค์ ก รธุ ร กิ จ จะต้ องมี ก ารพั ฒ นาระบบสารสนเทศที่ เ หมาะสมกั บ การ วางแผน ดาเนินงาน ตัดสินใจและควบคุม โดยจะต้ องทาหน้ าที่สนับสนุนให้ แก่ทกุ ๆองค์ประกอบของห่วง โซ่คุณค่านีด้ ้ วย และหากมีการพัฒนาระบบสารสนเทศที่สามารถสนับสนุนทุกๆกิจกรรมได้ แล้ ว ภายใน องค์กรก็จะประกอบไปด้ วยระบบสารสนเทศย่อยๆ จานวนมาก ซึง่ ได้ แก่ - ระบบสารสนเทศทางพลาธิการ (Logistics Information System) - ระบบสารสนเทศทางการผลิต (Manufacturing Information System) - ระบบสารสนเทศทางการตลาด (Marketing Information System) - ระบบสารสนเทศด้ านการบริการลูกค้ า (Customer services Information System) - ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System) - ระบบสารสนเทศทางการเงิน (Financial Information System) - ระบบสารสนเทศทางการบัญชี (Accounting Information System) - ระบบสารสนเทศด้ านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Information System) - ระบบสารสนเทศด้ านการวิจยั พัฒนา (Research and Development Information System) - ระบบสารสนเทศทางด้ านการจัดซื ้อจัดหา (Procurement and Purchasing Information System ที่ร้ ูจกั กันดีก็คือ e-Procurement and e-Purchasing ที่รัฐบาลกาลังผลักดันให้ หน่วยงานต่างๆใช้ เพื่อป้องกันการคอรัปชัน่ ในวงการ ราชการ) หากมีการนาระบบสารสนเทศย่อยๆ เหล่านี ้มาเขียนแบบจาลองห่วงโซ่คณ ุ ค่า ก็จะได้ แผนภาพแสดง ห่วงโซ่คณ ุ ค่าของระบบสารสนเทศ (Information System Value Chain) ได้ เช่นกัน
วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 6 บทที่ 1 : บทนา
ความสัมพันธ์ ของระบบสารสนเทศ กับองค์ การ และกระบวนการทางธุรกิจ เนื่องจาก การเปลี่ยนแปลงของโลกปั จจุบนั ที่มีการแข่งขันสูงขึ ้น การตัดสินใจของผู้บริ หารต้ องทา ในเวลาที่จากัดภายใต้ เงื่อนไขต่างๆมากมาย ทาให้ บทบาทของสารสนเทศในองค์กรมีมากขึ ้นในแง่ของการ ให้ สารสนเทศแก่ผ้ ูบริ หารในการช่วยการตัดสินใจทางธุรกิจ จึงทาให้ องค์กรตัดสินใจ นาระบบสารสนเทศ หรื อเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในองค์กร นามาใช้ เทคโนโลยีตา่ งๆ ทาให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงต่างๆที่ใน องค์กร เช่น การเปลี่ยนแปลงการปฏิบตั ิงาน การเพิ่มขีดความสามารถในการทางาน และการสร้ างความ ต้ องการในด้ านอื่นๆ นอกจากนี ้องค์กร การเมืองในองค์กร ลักษณะการดาเนินการ และวัฒนธรรมองค์กร เป็ นต้ น
รูปที่ 1.5 ภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างระบบสารสนเทศ กับกระบวนการทางธุรกิจ บทบาทขององค์ กรที่มีผลต่ อระบบสารสนเทศ 1. การตัดสินใจเรื่ องบทบาทของระบบสารสนเทศและการนาระบบสารสนเทศมาใช้ กล่าวคือ องค์กร จะต้ องทาการพิจารณาว่าจะนาระบบสารสนเทศมาใช้ ให้ เกิดความได้ เปรี ยบทางการแข่งขัน หรื อ จะนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ แทนพนักงานเท่านัน้ หรื อที่เรี ยกว่า Automation หากองค์กรให้ ความสาคัญต่อระบบสารสนเทศในการเป็ นทรัพยากรที่ใช้ ในการแข่งขัน องค์ กรอาจจะต้ องมีการ จัดเตรี ยมงบประมาณในการลงทุนด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศให้ มากขึ ้น เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ ในการทางานของระบบให้ ดีขึ ้นเรื่ อยๆ 2. การตัดสินใจว่าจะพัฒนาระบบสารสนเทศอย่างไร ได้ แก่ การตัดสินใจที่จะพัฒนาระบบสารสนเทศ ด้ วยหน่วยงานภายใน หรื อจะจ้ างหน่วยงานภายนอกมาทาการพัฒนาที่เรี ยกว่า Outsourcing หาก องค์กรจะทาการพัฒนาด้ วยตัวเอง องค์กรจะต้ องมีหน่วยงานทางด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศภายใน ที่มีความรู้ ความสามารถเพียงพอในการจะดาเนินการดังกล่าวได้ วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 7 บทที่ 1 : บทนา
3. การตัด สิ น ใจเกี่ ย วกับ การจัด ตัง้ หน่ ว ยงานสารสนเทศ ได้ แ ก่ การตัด สิ น ใจที่ จ ะมี ห น่ ว ยงาน สารสนเทศภายในแบบใด เช่น เป็ นเพียงหน่วยงานสนับสนุนการบารุ ง รั กษาระบบสารสนเทศ เท่านัน้ หรื อจะเป็ นหน่วยงานสารสนเทศหลักในการพัฒนาระบบด้ วยตัวเอง 4. การตัดสินใจว่ามีปัจจัยอะไรบ้ างที่ต้องคานึงถึงในการพัฒนาระบบสารสนเทศ เช่น จะต้ องมีการ ปรับเปลี่ยนวิธีการทางานหรื อไม่เพื่อรองรับการนาระบบสารสนเทศหรื อเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ ในองค์กร และปรับปรุงอย่างไร เป็ นต้ น การนาระบบสนเทศมาใช้ ในองค์กรก่อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในองค์กรมากมาย ซึ่ง สามารถ อธิบายได้ ดงั นี ้ 1. ทาให้ ผ้ บู ริหารมีสารสนเทศ(Information)มาช่วยในการตัดสินใจ การวิเคราะห์ การจัดการ และการ ควบคุมที่ดีขึ ้น 2. ทาให้ ผ้ บู ริ หารสามารถจัดการการงานที่มีประสิทธิภาพขึ ้น ด้ วยการเสริ มทางด้ านการติดต่อสื่อสาร ที่สะดวกรวดเร็ว 3. ทรัพยากรสารสนเทศมีความสาคัญมากขึ ้น และถือเป็ นส่วนหนึ่งขององค์กรเช่นเดียวกับทรัพยากร ด้ านอื่นๆ ดังนันการจั ้ ดสรรงบประมาณการจัดซื ้อหรื อหรื อหามาซึง่ ทรัพยากรสารสนเทศถือเป็ นส่วน หนึง่ ของแผนกลยุทธ์ขององค์กร 4. ผู้บริหารทุกคนถือว่ามีสว่ นสาคัญในการจัดการ และการใช้ ประโยชน์ของทรัพยากรสารสนเทศ 5. ทาให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้ าง วัฒนธรรม และอิทธิ พลทางการเมืองในองค์กรหน่วยงาน สารสนเทศหรื อหน่วยงานทีมีส่วนในการเก็บรวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลจะมีความสาคัญมากขึ ้น ในองค์กร ระบบสารสนเทศที่นาไปใช้ ในองค์กรในปั จจุบนั นันที ้ ่สาคัญมี 3 อย่าง คือ 1. นาไปใช้ ในการประมวลผลรายการ และการจัดทารายงาน 2. นาไปใช้ ในการช่วยการตัดสินใจ 3. นาไปใช้ ในการช่วยการติดต่อสื่อสาร
วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 8 บทที่ 1 : บทนา
ระบบสารสนเทศที่แบ่ งตามหน้ าที่ทางธุรกิจ ระบบสารสนเทศทางด้ านการตลาด ( Marketing Information Systems) ได้ แก่ ระบบสารสนเทศที่ใช้ ช่วยงานทางด้ านการตลาด เช่น ระบบการขาย ณ จุดขาย (Point of Sales หรื อ POS) ที่ใช้ ในการเก็บข้ อมูลการซื ้อขายสินค้ าของห้ างสรรพสินค้ าต่างๆ หรื อ ระบบพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ ในการซื ้อขายสินค้ าผ่านทางระบบอินเตอร์ เน็ตเป็ นต้ น ระบบสารสนเทศทางการผลิตหรืออุตสาหกรรม (Manufacturing Information Systems) ได้ แก่ ระบบสารสนเทศที่ใช้ ชว่ ยงานทางด้ านการผลิต เช่น ระบบการจัดการทรัพยากรการผลิต หรื อ MRP ที่ ใช้ ในการคานวณการใช้ วัตถุดิบทางการผลิต และการจัดตารางการผลิต หรื อ ระบบการสั่ง ซื อ้ วัตถุดบิ ทางสายหรื อ เชื่อมตรง (On-line) เป็ นต้ น ระบบสารสนเทศการจัดการทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Information Systems) ได้ แก่ ระบบสารสนเทศที่ใช้ ช่วยงานทางด้ านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ เช่น ระบบการจัดเก็บ ข้ อมูลพนักงานในฐานข้ อมูล (Database) หรื อระบบการรับสมัครงานทางอินเตอร์ เน็ต เป็ นต้ น ระบบสารสนเทศทางการเงิน (Financial Information Systems) ได้ แก่ ระบบสารสนเทศที่ใช้ ช่วยงานทางด้ านการเงิน เช่น ระบบการวิเคราะห์การลงทุนของกิจการ หรื อระบบการคานวณรายรับรายจ่ายของกิจการที่เป็ นเงินสดเพื่อจัดทางบกระเสเงินสดและการวิเคราะห์ การมีเงินสดสารองในกิจการ เป็ นต้ น ระบบสารสนเทศทางการบัญชี (Accounting Information Systems) ได้ แก่ ระบบสารสนเทศที่ใช้ ชว่ ยงานทางด้ านการบัญชี ส่วนใหญ่จะเป็ นการเก็บข้ อมูลทางบัญชีเพื่อ การจัดทางบการเงิน ระบบสารเทศที่แบ่ งตามโครงสร้ างองค์ กร แบ่ งตามโครงสร้ างของธุรกิจ คื อ การแบ่ ง ระบบสารสนเทศตามลั ก ษณะการจั ด สายงานของ องค์ กร ระบบสารสนเทศของหน่ วยงาน (Departmental Information Systems) ได้ แก่ ระบบการเก็บข้ อมูล การประมวลผล และการส่งผ่านข้ อมูลของแต่ละหน่วยงานส่วน ใหญ่จะเชื่อมต่อกันด้ วยระบบเครื อข่ายภายใน (Local-Area Network, LAN ) ระบบสารสนเทศขององค์ กร (Organizational Information Systems) ได้ แก่ ระบบสารสนเทศที่เชื่อมต่อระบบสารสนเทศของแต่ละหน่วยงานภายในองค์กรเข้ า ด้ วยกัน เพื่อเรี ยกใช้ ข้อมูลร่วมกัน ระบบสารสนเทศระหว่ างองค์ กร (Inter-Organizational Information Systems) ได้ แก่ ระบบสารสนเทศที่เชื่อมต่อกันระหว่างต่างองค์กร เพื่อใช้ ข้อมูลร่วมกัน หรื อประสาน การทางานกัน โดยใช้ การเชื่อมต่อด้ วยระบบเครื อข่ายแบบวงกว้ าง (Wide-Area Network, WAN)
วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 9 บทที่ 1 : บทนา
ระบบสารสนเทศที่แบ่ งตามโครงสร้ างของระบบ ระบบสารสนเทศแบบเดี่ยว (Standalone Information Systems) ได้ แก่ระบบสารสนเทศที่ใช้ งานสาหรับคนใดคนหนึ่ง ไม่มีการเชื่อมต่อกับผู้อื่น เช่น ผู้จัดการฝ่ าย ตลาดจัดเก็ บข้ อมูลลูกค้ าไว้ เพื่อการวิเคราะห์ลูกค้ าทาประวัติลูกค้ า (Customer Profile) ไว้ เพื่อจะได้ ตัดสินใจเรื่ องการตอบสนองความต้ องการของลูกค้ า เป็ นต้ น ระบบสารสนเทศแบบกระจายไปยังเครือข่ าย (Distributed of Network Information Systems) ได้ แ ก่ ระบบสารสนเทศที่ ก ระจายการประมวลผลข้ อ มูล หรื อ การจัด เก็ บ ข้ อ มูล ไปยัง เครื่ อ ง คอมพิวเตอร์ สว่ นบุคคล (Personal Computer, PC) ที่เชื่อมโยงกันในระบบเครื อข่าย ระบบสารสนเทศที่อยู่บนเมนเฟรม (Mainframe Information Systems) ได้ แก่ ระบบสารสนเทศที่รวมการประมวลผลและการเก็บข้ อมูลไว้ ที่เครื่ องคอมพิวเตอร์ เมนเฟรม ส่วนใหญ่จะเป็ นการประมวลผลที่มีข้อมูลจานวนมาก หรื การประมวลผลที่มีความสาคัญมากต่อองค์กร เช่น การประมวลผลดอกเบี ้ยของธนาคาร หรื อ การประมวลผลทางบัญชี เป็ นต้ น ระบบสารสนเทศที่แบ่ งตามการตัดสินใจ ระบบสารสนเทศเอการตัดสินใจระดับกลยุทธ์ (Strategic Information Systems) คือ ระบบสารสนเทศซึ่ง เน้ นการตัดสินใจแบบที่ไ ม่มีรูปแบบ (Unstructured) และ แบบกึ่งมีรูปแบบ (Semi-structured) ส่วนใหญ่จะเป็ นการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูง เช่น การใช้ ระบบสารสนเทศเพื่อการ วิเคราะห์ทางเลือกต่างๆ ในการจะขยายกิจการ ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจระดับยุทธวิธี (Tactical Information Systems) คือ ระบบสารสนเทศ ซึง่ จะเน้ นการตัดสินใจแบบกึ่งมีรูปแบบ และแบบมีรูปแบบ (Structured) เช่น การใช้ ระบบสารสนเทศวิเ คราะห์ การออกผลิตภัณฑ์ ใหม่ ซึ่ง รวมทัง้ การเลื อกผลิตภัณฑ์ การออกแบบ ผลิตภัณฑ์ และการทดสอบตลาด เป็ นต้ น ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจระดับปฏิบัตกิ าร (Operational Information Systems) คื อ ระบบสารสนเทศซึ่ ง จะเน้ นการตัด สิ น ใจแบบมี รู ป แบบ (Structured) เช่ น การใช้ ร ะบบ สารสนเทศในการเก็บข้ อมูลการตลาดว่า สินค้ าใดมียอดขายดีที่สุด สินค้ าใดมียอดขายที่น้อยที่สุดเพื่อทา การแก้ ไข โดยอาจมีการตัดสินใจทางการปรับกลยุทธ์ทางการตลาด หรื อการยกเลิกการผลิตได้
วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 10 บทที่ 1 : บทนา
ตารางแสดงความสัมพันธ์ ระหว่ างระบบสารสนเทศกับการตัดสินใจของระดับผู้บริหาร ลักษณะสารสนเทศ
ระดับการตัดสินใจ ระดับล่ าง
ระดับกลาง
ระดับบน
ระยะเวลา
สัน้
ปานกลาง
ยาว
ที่มา
ภายใน
ภายและภายนอก
ภายนอก
ละเอียด
ส่ ว นใหญ่ เ ป็ นแบบ สรุป สรุป
แน่นอน
ไ ม่ แ น่ น อ น บ้ า ง ไม่แน่นอน แน่นอนบ้ าง
ระดับความเสี่ยง
ต่า
ปานกลาง
สูง
ความสามารถในการตัดสินใจ
ใช้ น้อยมาก
ใช้ บ้าง
ใช้ มาก
การพึง่ พาระบบสารสนเทศ
สูง
ปานกลาง
ต่าถึงปานกลาง
การพึง่ พาสารสนเทศภายใน
สูงมาก
สูง
ปานกลาง
การพึง่ พาสารสนเทศภายนอก
ต่า
ปานกลาง
สูงมาก
ความต้ องการสารสนเทศออนไลน์ สูงมาก สายตรง
สูง
ปานกลาง
การใช้ สารสนเทศที่ผา่ นมา
สูง
ปานกลาง
ต่า
การใช้ การวิเคราะห์สารสนเทศแบบ “What – if(อะไร - ถ้ า)
ต่า
สูง
สูงมาก
เนื ้อหา ระดับความแน่นอน
วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 11 บทที่ 1 : บทนา
ระบบสารสนเทศแบ่ งตามกิจกรรมที่สนับสนุน ระบบประมวลผลรายการ(Transaction Processing Systems, TPS) และระบบควบคุมการผลิต (Process Control Systems, PCS) TPS คือ ระบบสารสนเทศที่ใช้ ในการรวบรวมข้ อมูลที่เป็ นการทางธุรกิจต่างๆเข้ ามาประมวลผล เบื ้องต้ น แล้ วเก็บไว้ เป็ นข้ อมูลของธุรกิจที่จะนาไปใช้ ประโยชน์ตอ่ ไปเป็ นระบบที่จดั เก็บข้ อมูลทังภายในและ ้ ภายนอกองค์กร เป็ นแหล่งข้ อมูลของการนาไปใช้ ระบบอื่นๆ ทางานที่เป็ นประจา ส่วนใหญ่เป็ นงานของ ผู้บริหารระดับล่าง สามารถใช้ ในการเก็บข้ อมูลแบบรวม (batch) หรื อ ออนไลน์ การประมวลผลสามารถทา ได้ ทงั ้ การนาข้ อมูล การตรวจสอบข้ อมูลอประมวลผลข้ อมูล การจัดเก็บ การนาเสนอผลลัพธ์ และการให้ คาตอบกับคาถาม (query support) PCS คือ ระบบ TPS อย่างกนึง่ ซึง่ ใช้ ในการควบคุมการผลิตแบบต่อเนื่องที่ต้องมีการเก็บข้ อมูลเพื่อ การควบคุมตลอดเวลา (real-time) เช่น การผลิตในโรงงานกลัน่ น ้ามัน หรื อโรงานไฟฟ้า เป็ นต้ น ระบบสนับสนุนการจัดการ (Management Support System : MSS) ระบบสนับสนุนการจัดการ (Management Support System : MSS) คือ ระบบที่ช่วยในการ ตัดสินใจหรื อการทางานของผู้บริ หารให้ ประสิทธิ ขึน้ ได้ แก่ ระบบการจัดการทารายงาน ( Management Reporting Systems, MRS)หรื อระบบการจัดการสารสนเทศ (Management Information Systems, MIS) ระบบสนับสนุนการทางานกลุ่ม(Groups Support Systems, GDSS) และระบบสนับสนุนการทางานของ ผู้บริหารระดับสูง (Executive Support Systems, ESS หรื อ Executive Information Systems, EIS) MRS หรื อ MIS คือ ระบบจัดการทัว่ ไปที่ทาหน้ าที่ดแู ลควบคุมการปฏิบตั ิการภายในองค์กร และ จัดทารายงานเพื่อให้ ผ้ บู ริ หารระดับกลางใช้ ช่วยในการตัดสินใจ ส่วนใหญ่จะเป็ นรายงานที่เกี่ยวกับความ ผิดปกติของการทางาน (Exception Report) หรื อรายงานสรุปผลการปฏิบตั ิงาน (Summary Report) โดย ได้ รับข้ อมูลมาจาก TPS ของหน่วยงาน หรื อ หน้ าที่งานต่างๆในองค์กร
รูปที่ 1.6 ภาพแสดงความสัมพันธ์ของระบบสารสนเทศ
วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 12 บทที่ 1 : บทนา
กลยุทธ์ ระดับอุตสาหกรรม (Industrial Level Strategy) ได้ แก่ การตัดสินใจทางด้ านการแข่งขันหรื อการเป็ นพันธมิตรกับองค์กรอื่นในอุตสาหกรรมเดียวกัน ซึ่งองค์กรจะต้ องทาการพิจารณาก่อนว่าใครเป็ นลูกค้ า ผู้ผลิต คู่แข่งขันในปั จจุบนั และอนาคต เพื่อนามา ตัดสินใจว่าธุรกิจนัน้ มีความสามารถในการแข่งขันเป็ นอย่างไรเมื่อเทียบกับคู่ แข่งขัน มีอานาจต่อรองกับ ลูกค้ า และผู้ผลิต เพียงใด ควรจะเป็ นพันธมิตรกับใคร เพื่อความได้ เปรี ยบทางการแข่งขัน เช่น การตัดสินใจ เข้ าร่วมเป็ นพันธมิตรใน Star Alliance ของบริ ษัทการบินไทยกับสายการบินอื่นที่บริ ษัทไม่มีเส้ นทางการบิน เป็ นต้ น การร่วมเป็ นพันธมิตรนันอาจเป็ ้ นในลักษณะของการใช้ ข้อมูลร่วมกันมากกว่าการทาธุรกิจร่วมกันได้ เช่น การเป็ นพันธมิตรกันระหว่างบัตรเครดิตธนาคารไทยพาณิชย์กบั บริ ษัทมีเดียออฟมีเดีย กับการออกบัตร เครดิตมีเดีย เพื่อการใช้ ฐานข้ อมูลลูกค้ าร่วมกัน เป็ นต้ น ลักษณะการเป็ นพันธมิตรสามารถทาได้ ดงั นี ้ 1) การเป็ นพันธมิตรระหว่างธุรกิจกับคูแ่ ข่งขัน เช่น การร่ วมมือกันระหว่างบริ ษัทคอมพิวเตอร์ หลายๆ บริษัทการพัฒนาระบบสารสนเทศให้ องค์กรขนาดใหญ่ 2) การเป็ นพันธมิตรระหว่างธุรกิจกับธุรกิจอื่นที่ไม่ใช่ค่แู ข่ง เช่น ความร่ วมมือระหว่างสายการบินกับ บริษัทให้ เช่ารถในการให้ บริการลูกค้ าและการให้ สว่ นลด 3) การเป็ นพันธมิตรระหว่างธุรกิจกับผู้ผลิตหรื อลูกค้ าระบบสารสนเทศที่นามาใช้ ในการสร้ างพันธมิตร นัน้ เรี ยกว่า ระบบสารสนเทศระหว่างองค์กร (Inter-organizational Information Systems) เช่น ระบบเอ็กซ์ทราเน็ต ระบบอินเทอร์ เน็ต เป็ นต้ น
วิษณุ สุวรรณเวียง
บทที่ 2 การจัดการการผลิต และการดาเนินการ Production and Operation Management
รายงานเรือ ่ ง ระบบสารสนเทศทางการผลิต วิชา ระบบสารสนเทศทางธุรกิจเบือ ้ งตน ้
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 13 บทที่ 2 การจัดการการผลิตและดาเนินการ
บทที่ 2 การจัดการการผลิตและการดาเนินงาน (Production and Operation Management) การผลิตและการดาเนินงาน คือ กิจกรรมหลักกิจกรรมหนึ่ง ซึ่งอยู่ภายใต้ โซ่คณ ุ ค่าขององค์การ ซึ่งถือเป็ นกระบวนการสร้ างคุณค่าให้ กับการแปรรูปปั จจัยการผลิตให้ เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ทรงคุณค่าส่งตรงถึง มือผู้ค้าหรื อผู้บริ โภคและมีส่วนผลักดันให้ การดาเนินงานด้ านการตลาดเป็ นไปอย่างราบรื่ นอีกทังยั ้ งมีการ ตอบสนองเป้าหมายสาคัญทางการผลิต คือการผลิตสินค้ าหรื อบริ การที่มีคณ ุ ภาพ และสร้ างความพึงพอใจ ระยะยาวให้ กบั ลูกค้ าในส่วนนี ้ได้ จดั แบ่งเป็ น 6 หัวข้ อ ดังต่อไปนี ้ 1.แนวคิดและความหมาย การผลิต และการดาเนิ นงาน คื อ การน าทรั พ ยากรต่า งๆ ทัง้ ด้ านแรงงานเงิ น ทุนเครื่ องจัก ร เทคโนโลยีวิธีการ วัตถุดบิ ความต้ องการของตลาด การจัดการและเวลาซึ่งรวมเรี ยกว่า ปั จจัยการผลิต โดย ผ่านกระบวนการผลิตในขันตอนต่ ้ างๆ เพื่อทาการแปรรูปเป็ นผลิตภัณฑ์ซงึ่ หมายรวมถึงสินค้ าและบริการ กระบวนการผลิต คือ กิจกรรมการแปรรูป และเพิ่มมูลค่าให้ กบั ปั จจัยการผลิต เพื่ อเข้ าสู่รูปแบบ ของสิ น ค้ า หรื อ บริ ก ารซึ่ ง พร้ อมส่ ง มอบให้ แ ก่ ลูก ค้ า และในแต่ล ะกระบวนการผลิ ต จะประกอบด้ ว ย กระบวนการผลิตย่อยหลายกระบวนการซึง่ มักมีความเกี่ยวข้ องและสัมพันธ์กนั จากทัง้ 2 ความหมายข้ างต้ นจะเห็นได้ ว่า กระบวนการการผลิต เป็ นส่วนหนึ่งของการผลิตและ ดาเนินงานเพราะปั จจัยการผลิต คือ สิ่งรับเข้ า กระบวนการผลิต คือ การประมวลผล และผลิตภัณฑ์ คือ สิ่ง ส่งออกซึ่งถือเป็ นความหมายการผลิตนันเอง ้ ดันนั ้ น้ หากปั จจัยการผลิตของธุรกิจประกอบด้ วยทรัพยากร มนุษย์ด้านแรงานและด้ านบริหาร นอกจากนี ้ ธุรกิจจาเป็ นต้ องดาเนินการจัดการการผลิตและการดาเนินงาน ในส่วนกระบวนการ ตัด สิ น ใจที่ เ กี่ ย วข้ อ งกับ การแปรรู ป ปั จ จัยการผลิต ต่างๆ เป็ นผลิต ภัณฑ์ โดยมี ก ารออกแบบระบบการ ดาเนินงาน การวางแผนและการจัดโครงสร้ างการผลิตและการดาเนิน งาน ตลอดจนการครบคุมการผลิต และการดาเนินงานให้ เป็ นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ ซึ่งจะเห็นได้ ว่า การจักการผลิตและการดาเนินที่ดีของ ธุรกิจจะช่วยให้ บรรลุเปาหมายขององค์การและช่วยสร้ างความได้ เปรี ยบทางการแข่งขันอีกด้ วย แต่อย่างไรก็ ตามองค์การจะต้ องตระหนักถึงข้ อเท็จจริ ง คื อ ทกๆ แผนกงานขององค์การล้ วนมีความเกี่ ยวข้ องกับการ ตัดสิ นใจทัง้ ในเรื่ องคุณ ภาพ เทคโนโลยี และบุคคลกร ซึ่ง มีความสัม พันธ์ อย่างใกล้ ชิ ดกับการผลิตและ ดาเนินงานด้ วยกันทังสิ ้ ้น ดังนันทุ ้ กๆหน่วยงาน จะเป็ นต้ องร่วมมือกันสร้ างผลิตภัณฑ์ และบิการที่มีคณ ุ ภาพ เพื่อสร้ างความพึงพอใจให้ กบั ลูกค้ า วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 14 บทที่ 2 การจัดการการผลิตและดาเนินการ
2.วิวัฒนาการการผลิต ระยะเริ่ มต้ นของการดาเนินธุรกิจด้ านอุตสาหกรรม ธุรกิจส่วนใหญ่ดาเนินการผลิตบนพื ้นฐานการ ผลิตเก็บเป็ นสินค้ าคงคลัง (Make-to-Stock) อย่างง่าย ซึ่งมีจดุ เน้ นการผลิตสินค้ าหรื อปริ มาณมากและขาย สินค้ าผ่านข่ายและช่องทางการตลาดหลายรู ปแบบ มีการสร้ างระบบที่ใช้ ติดตามรอบการหมุนเวียนของ สินค้ าคงเหลือ และทาให้ ทราบถึงระดับของสินค้ าคงเหลืองแต่ละรายกการ สาหรับการผลิตที่มีความเร่งรี บ จะมีราคาแพง และทางเลือกในการส่งการผลิตยังมีความจากัด ในเวลาต่อมาจึงมีการเปลี่ยนวิธีการผลิต โดยการนาแนวคิดระบบการผลิตแบบทันเวลาพอดีมาใช้ และใช้ วิธีการผลิตตามคาสั่ง(make-to-order) หรื อวิธีการประกอบสินค้ าตามคาสัง่ มาแทนที่การเก็บเป็ นสินค้ าคงคลัง อีกทังมี ้ การนาวิสยั ทัศน์ด้านการจัก โซ่อปุ ทานมาใช้ เพื่อรองรับงานด้ านความเปลี่ยนแปลงคาสัง่ ผลิตลูกค้ าที่เกิดขึ ้นอย่างกะทันหัน นอกจากนี ้ ยังมีการพัฒนาเครื่ องมือของธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ในสักษณะของระบบสารสนเทศบนเว็บเพื่อเป็ นการรับรอง รับการผลิตแบบร่วมมือรวมทังการปฎิ ้ วตั ดิ ้ านระบบการจักการโรงงานยุคใหม่ 3. กลยุทธ์ การผลิตและการดาเนินงาน กลยุท ธ์ การผลิ ตและการดาเนินงานจะมุ้ง เน้ น ถึง ความต้ องการของลูกค้ า ที่ สะท้ อนให้ เ ห็นถึ ง เป้ าหมายระยะยาวขององค์ ก าร โดยจะต้ อ งอาศัย ความร่ ว มมื อ จากแผนการตลาดและการผลิ ต ที่จะทาการค้ นหาควาต้ องการของลูกค้ าและนามากาหนดเป็ นความได้ เปรี ยบทรงการผลิต เพื่อธุรกิจจะ สามารถรั กษาล าดับ ส าคัญ ทางการแข่ง ขัน ทัง้ ในด้ านต้ นทุนการผลิ ตที่ ต่ า การออกแบบผลิ ตภัณฑ์ ที่ คุณภาพที่สูงและมีการรักษาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง มีความรวดเร็ วในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ มีการส่งมอบ สินค้ าและบริการอยางรวดเร็วและตรงต่อเวลามีการผลิตตามความต้ องการ ของลูกค้ าและปริ มาณการผลิต ที่ยืนหยุน่ ซึ่ง ริทซ์ แมนและกราจิวสกี (Rittman & Krajewski) จาแนกกลยุทธ์ การผลิตเป็ น 3 กลยุทธ์ ดังนี ้ กลยุทธ์ ท่ ี 1 การผลิตเป็ นสินค้ าคงคลัง ธุรกิจจะมีการผลิตสินค้ า เพื่อเก็บสินค้ าที่พร้ อมส่งมอบ แก่ลูกค้ าได้ ทนั ที เหมาะกับการผลิตสินค้ ามาตรฐานที่มีการผลิตจานวนมาก(Mass Production) ซึ่งธุรกิจ ต้ องมี ก ารพยากรยอดขายได้ อย่างแม่น ยา และนามาซึ่ง ความได้ เ ปรี ย บเชิ ง การแข่ง ขันด้ วยการรั กษา คุณภาพอย่างต่อเนื่อง และต้ นทุนสินค้ าที่ต่า กลยุทธ์ ท่ ี 2 การผลิตตามคาสั่ง เป็ นการผลิตตามความต้ องการของลูกค้ า โดยการผลิตเป็ นล็อต (Lot Production) ในปริมาณน้ อย การออกแบบกระบบการผลิตแต่ละครัง้ จะขึ ้นกับความต้ องการของลูกค้ า และต้ องมรความยืดหยุน่ สูงสาหรับการปฎิบตั หิ น้ าที่ได้ หลากหลาย กลยุทธ์ ท่ ี 3 การประกอบสินค้ าตามคาสั่ง เป็ นการประกอบชิ ้นส่วยมาตรฐานตามข้ อกาหนด ของผลิตภัณฑ์ที่ระบุไว้ ในคาสัง่ ของลูกค้ า และนะมาซึ่งความได้ เปรี ยบทางการแข่งขัน เนื่องจากมีการส่ง มอบสินค้ าตรงเวลาตามความต้ องการของลูกค้ า วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 15 บทที่ 2 การจัดการการผลิตและดาเนินการ
ทัง้ 3 กลยุทธ์ ข้างต้ น อาจถูกนามาใช้ ผสมผสานกันเพื่อใช้ ผลิตตามความต้ องการของลูกค้ าแบบ จานวนมาก (Mass Customization) และผลิตสินค้ าได้ หลากหลายรูปแบบ ซึ่งจะต้ องใช้ กระบวนการผลิตที่ ต่า โดยมี การผลิ ตชิ น้ ส่วนมาตรฐานรอไว้ จนกระทัง้ ได้ รับการสั่งซื อ้ จากลูกค้ าจึง ผลิตชิน้ ส่วนที่มี ความ แตกต่างตามความต้ องการของลูกค้ า และนามาประกอบชิ ้นส่วนมาตรฐานเพื่อส่งมอบให้ ลกู ค้ าต่อไป 4.หน้ าทางการผลิตและดาเนินงาน หน้ าที่ในการผลิตและการดาเนินงาน นับเป็ นหัวใจสาคัญของธุรกิจ ซึ่งประกอบด้ วยกิจกรรมต่างๆ ที่ก่อให้ เกิดผลผลิตในรูปแบบของสินค้ าคงหรื อบริการ และจัดแบ่งหน้ าที่เป็ น 2 ด้ าน คือ หน้ าที่ด้านการผลิต ซึ่งเน้ นความพึงพอใจของลูกค้ าในสินค้ าหรื อบริ การของธุรกิจเป็ นหลัก อีกทังมี ้ การผลิตสินค้ าให้ คณ ุ ภาพ และครบตามจานวนที่ลกู สัง่ และอีกหน้ าที่หนึ่ง คือหน้ าที่ด้านโรงงาน ซึ่งเน้ นความสามารถด้ านการรับรอง ปริ มาณการผลิตที่เพิ่มขึ ้นในอนาคตได้ ทังนี ้ ้ต้ องคานึงถึงการลดต้ นทุนสินค้ าหรื อบริ การ การเพิ่มคุณภาพ ของผลผลิต การจักส่งสินค้ าที่ตรงเวลา ตลอดจนมีความยืดหยุ่นทางการผลิตอีกด้ วย โดยจัดแบ่ งหน้ าที่การ ผลิต ดังนี ้ 4.1 การวางแผนและการพัฒนาผลิตภั ณฑ์ เพื่ อช่วยหาคาตอบว่าจะผลิตอะไร จ านวน เท่าไหร่ ผลิตอย่างไร เกิดความต้ องการสินค้ าและบริ การเมื่อใด 4.2 การออกแบบกระบวนการผลิต เพื่อให้ ได้ กระบวนการผลิตที่เหมาะสมกับความต้ องการ ผลิตภัณฑ์ของลูกค้ า และมีต้นทุนการผลิตที่เหมาะสม 4.3 การวางแผนทาเลที่ตัง้ โรงงาน เพื่อสร้ างความได้ เปรี ยบทางการผลิตในส่วนลดต้ นทุนการ ส่งและรักษาคุณภาพของวัสดุระหว่าการขนส่ง 4.4 การวางแผนการผลิตและการดาเนินงาน โดยทาการวางแผนกาลังการผลิต และจัดสรร ทรัพยากรการผลิตและการจัดตารางการผลิต เพื่อระบุวนั เริ่มผลิตและส่งมอบสินค้ า 4.5 การจัดการวัสดุและสินค้ าคงเหลือ โดยเลือกใช้ ระบบการจัดการวัสดุและสินค้ าคงเหลือที่ ดี มีประสิทธิภาพ ตลอดจนมีการจัดการงานระหว่างทา (Work in Process) ซึ่งก็คือ สินค้ าที่ยงั ผลิตไม่ สาเร็จและจะต้ องทาการผลิตต่อนันเอง ้ โดยเลือกใช้ เทคโนโลยีช่วยในการจัดการ เช่น เทคโนโลยีในการผลิต แบบทันเวลาพอดี หรื อของระบบการวางแผนความต้ องการวัสดุ เป็ นต้ น 4.6 การควบคุมคุณภาพสินค้ า โดยทาการควบคุมรักษาระดับมาตรฐานคุณภาพสินค้ า หรื อ บริ การที่อยู่ในเกณฑ์ที่กาหนดไว้ และเหมาะสมกับความต้ องการของตลาดเป้าหมายของสินค้ าและบริ การ ชนิดนัน้ 4.7 การลดต้ นทุนการผลิต โดยทาการค้ นหาวิธีการ หรื อแนวคิดใดๆ ซึ่งสามารถนามาใช้ เพื่อ บรรลุเป้าหมายของการลดต้ นทุนการผลิตสินค้ าหรื อบริ การที่ส่งผลต่อธุร กิจด้ านการสร้ างรายได้ ที่เพิ่มขึ ้นให้ องค์การ และสร้ างความได้ เปรี ยบเหนือคูแ่ ข่งขันทางธุรกิจ วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 16 บทที่ 2 การจัดการการผลิตและดาเนินการ
4.8 การขจัดความสูญเปล่ า เป็ นแนวคิดหนึ่งของระบบการผลิตสมัยใหม่ ที่นามาใช้ อย่างได้ ผล ปั จ จุบัน โดยจะต้ อ งออกแบบและดาเนิน การตามมาตรการที่ ลดความสูญเปล่าในโรงงานหรื อ ในการ ดาเนินงานของธุรกิจ เช่น การลดระดับสินค้ าคงคลังหรื อวัสดุคงคลัง การลดเวลาการรอคอยงานและการลด เวลาด้ านความล่าช้ าของงาน เป็ นต้ น 4.9 ความปลอดภัยในโรงงาน โดยการสร้ างระบบรักษาความปลอดภัยในโรงงานซึ่งสามารถช่วย ลดอุบตั ิเหตุที่อาจเกิดขึ ้นในโรงงาน เช่น ISO 14000 และ ISO 18000 เป็ นต้ น ทังนี ้ ้ต้ องคานึงถึงความ ปลอดภัยในสินค้ าที่ผลิตขึ ้นเพื่อการบริโภค เช่น อาหาร เป็ นต้ น 4.10 การเพิ่มผลิตภาพทางการผลิต โดยการแสวงหาวิธีการเพิ่มผลผลิตในโรงงาน รวมทังการ ้ เพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์อีกด้ วย ซึง่ อาจใช้ วิธีการขจัดความสูญเปล่าเข้ าช่วย 4.11 การบารุงรักษา โดยมีการรักษาระบบการแปรรูปผลิตให้ คงไว้ ซงึ่ ประสิทธิภาพการดาเนินงาน และความเชื่ อ ถื ออย่างต่อเนื่ องโดยป้องกันความเสี ยหายที่ อ าจเกิ ด ขึน้ ระหว่าการดาเนิ นการผลิตหรื อ ให้ บริการแก่ลกู ค้ าได้ ซึง่ ก่อให้ เกิดต้ นทุนการเสียโอกาสได้ 4.12 การประสานกั บ หน่ ว ยงานอื่ น คื อ หน้ า ที่ ข องฝ่ ายผลิ ต ที่ จ ะต้ อ งประสานงานกับ ฝ่ าย การตลาด ฝ่ ายบัญชี ฝ่ ายการเงิน ตลอดจนผู้ขายวัตถุดิบ เพื่อบรรลุเป้าหมายร่ วมกันของหน่วยงานต่างๆ ขององค์การ ปั จจุบนั ได้ มีการเสนอแนวคิดด้ านการจัดการโซ่อปุ ทาน ซึง่ เป็ นการจัดการด้ านสายการลาเลียง การตรวจรับ และการจัดซื ้อวัสดุให้ เข้ ากับความต้ องการผลิต เพื่อธุรกิจสามารถผลิตสินค้ า หรื อบริ การได้ อย่างสอดคล้ องกับความต้ องการของลูกค้ า และสามารถลดต้ นทุนการผลิตได้ จานวนหนึง่ 5.การจัดการโซ่ อุปทานและโลจิสติกส์ การจัดการโซ่ อุปทาน (Supply Chain Management ) หมายถึง การกาหนดกระบวนการบูรณา การด้ านการวางแผน การจัดหา การผลิต การจักส่ง และการคืนสินค้ า โดยเริ่ มต้ นตังแต่ ้ ผ้ ูขายทุกระดับ จนถึงผู้ซือ้ ทุกระดับ ตลอดจนวางแนวทางด้ านกลยุทธ์ การปฎิการขององค์การ ซึ่งก่อให้ เกิดการไหลของ สินค้ า งาน ตลอดจนสารสนเทศที่ เ กี่ ยวข้ อง เพื่ อจะลดต้ นทุนให้ ต่าที่ สุด สร้ างความพอใจสูง สุดให้ กับ ผู้บริโภค และก่อให้ เกิดความได้ เปรี ยบเชิงการแข่งขันที่ยงั่ ยืน การจัดการโลจิสติกส์ (Logistics Management) ถือเป็ นส่วนหนึ่งของการจัดโซ่อปุ ทาน คือ การ วางแผน การปฎิบตั ิการและการควบคุมอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมุ่งเน้ นถึงประสิทธิภาพผลการไหลของ สินค้ า การจัดเก็บสินค้ า การบริ การสารสนเทศที่เกี่ยวข้ องตังแต่ ้ จุดกาเนินจนถึงจุดบริ โภค เพื่อตอบสนอง ความต้ องการของลูกค้ า จากนิยามข้ างต้ นสามารถสรุปความแตกต่างของการจัดการโลจิสติกส์ และโซ่อปุ ทาน คือในส่วน ของขอบเขตการดาเนินการ การจัดการโลจิสติกส์ จ ะควบคุม เฉพาะภายในองค์การ แต่การจัดการโซ่ อุปทานจะเป็ นการบรูณาการงานที่เกี่ยวด้ านโลจิสติกส์ทงภายในทั ั้ งภายนอกองค์ ้ การเข้ าด้ วยกัน วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 17 บทที่ 2 การจัดการการผลิตและดาเนินการ
6.ระบบการผลิตยุคใหม่ สาหรับแนวทางการออกแบบระบบการผลิตยุคใหม่ที่มีการประยุกต์ใช้ แนวคิดทางการผลิตอย่าง ได้ ผล และยังเป็ นที่ยอมรับทัว่ ไปในการผลิตและการดาเนินงานในปั จจุบนั มี 2 ระบบ คือระบบการผลิตแบบ ทันเวลาพอดี (Just in time Production) และระบบการผลิตแบบลีน (Lean Production) ดังนี ้ 6.1 ระบบการผลิตแบบทันเวลาพอดี คือ แนวคิดทางการผลิตที่เกิดขึ ้นในประเทศญี่ปนและถื ุ่ อ เป็ นส่วนหนึ่งของระบบการผลิตแบบโตโยต้ า ซึ่งถือหลักการสาคัญ คือ ผลิตในจานวนที่ต้องการ ในเวลาที่ ต้ องการและมีการควบคุมสินค้ าคงเหลือให้ เหลือน้ อยที่สดุ ซึ่งหากจะใช้ ให้ ได้ ผลดี ก็จะต้ องใช้ ร่วมกับระบบ การผลิตแบบหยุดอัตโนมัติ และระบบกันบัง (Kanban) โดยโครงสร้ างของระบบการผลิตแบบทันเวลาพอดี มีดงั นี ้ 6.1.1 กรรมวิธีการผลิต 3 ประการ คือ 1. การปรับเรียบการผลิต หมายถึง ทาการผลิตเป็ นล็อตเล็กๆ เพื่อสามารถตรวจสอบ ข้ อบกพร่องและคุณภาพของผลผลิตได้ ง่ายขึ ้นสามารถตังเครื ้ ่ องจักรได้ อย่างรวดเร็ วในการเปลี่ยน รุ่นและแบบของผลิตภัณฑ์แต่ละครัง้ 2.การออกแบบวิธีและเครื่องมือการผลิต ให้ พนักงานคนหนึง่ ได้ หลายหน้ าที่ 3.สร้ างมาตรของงาน และควบคุมให้ เสร็จตามเวลา มาตร ณ รอบการผลิตหนึง่ 6.2.2 ระบบข้ อมูลการผลิต มีการนาแผ่นป้ายบังมาใช้ ในสาหรับการสื่อสารการผลิต ระหว่างหน้ าที่ภายในโรงงาน ดังนันทุ ้ กๆกระบวนการผลิตจึงได้ อตั ราความเร็วของงานเท่ากัน และใช้ ระบบดึง (Pull System) คือ หน่วยงานหลังดึงชิ ้นงานหน้ าเพื่อนามาประกอบต่อ ส่วนหน่วยงานหน้ าจะผลิตชิ ้นส่วนทดแทนในจามาก เท่ากับชิ ้นส่วนที่ถกู ดึงไป ทังนี ้ ้จะต้ องมีการผลิตชิ ้นส่วนเพียงชิ ้นเดียวในแต่ละรอบการผลิต เพื่อลดจานวน ชิ ้นส่วนที่เกินความต้ องกร อีกทังมี ้ การเฉลี่ยระดับการผลิต คือ ผลิตสินค้ าหลากหลายรู ปแบบในแต่ละวัน ตามความต้ องการที่มาแน่นอนของตลาด ในบ้ างครัง้ ที่พบส่วนเกินที่ไม่ก่อประโยชน์ก็จะต้ องกาจัดออกให้ หมดสิ ้น เพื่อลดต้ นทุนการผลิต ในส่วนผลที่ได้ รับในการประยุกต์ใช้ ระบบผลิตแบบทันเวลาพอดี คือการเพิ่มคุณภาพสินค้ าและ ลดของเสียระหว่างผลิตให้ น้อยลด จูงใจพนักงานปรับปรุ งงานผลิตอย่างเต็มความสามารถ ไม่มีสินค้ า สารอง ลดต้ นทุนแรงงานของการผลิตเกินความจาเป็ น จึงเป็ นการลดต้ นทุนรวมของการผลิต มีเพิ่มผลผลิต และตอบสนองความต้ องการของตลาด อีกด้ วย 6.2 ระบบผลิตแบบลีน เป็ นระบบการผลิตที่ได้ รับการยอมรับไปทั่วโลกว่าทาให้ เกิดมาตรฐานการ ผลิตที่มีประสิทธิ ภาพสูง และมุ่งขจัดความสูญเปล่าอันสืบเนื่องมาจากทัง้ ด้ านคุณภาพ ราคา การจัดส่ง สินค้ าและบริการแก่ลกู ค้ า ซึง่ พัฒนามาจากระบบการผลิตแบบโตโยต้ า ซึง่ นิพนธ์ บัวแก้ ว ไดระบุหลักการของลีน 5 ข้ อดังนี ้ วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 18 บทที่ 2 การจัดการการผลิตและดาเนินการ
6.2.1 การระบุคุณค่ าของสินค้ าและบริการ (Specify Value) โดยมีการชีให้ เห็นถึง คุณ ค่าของสิ น ค้ าและบริ การที่ ต รงกับความต้ องการของลูกค้ า โดยอาจใช้ วิธี การเปรี ยบเที ย บ ผลิตภัณฑ์ของธุรกิจกับผลิตภัณฑ์ของคูแ่ ข่ง ภายโต้ มนุ มองของลูกค้ า 6.2.2 การแสดงสายธารคุณค่ า(identify Value Stream) โดยมีการจัดผังแห่งคุณค่า ซึ่ง จะระบุถึงกิจกรรมที่ต้องทาทังหมด ้ ตังแต่ ้ รับวัสดุเข้ าโรงงาน จนกระทั่งมีการส่งมอบสินค้ าถึงมือ ลูกค้ า การจัดทาผังนี ้จะทาให้ เห็นถึงกระบวนการทังระบบและใช้ ้ เป็ นเครื่ องมือสื่อสานกับบุคคลอื ้น ด้ วยและยังทาให้ มองเห็นความสูญเปล่าของกระบวนการทัง้ 3 ประเภท คือกระบวนการที่มีคณ ุ ค่า และต้ องทาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ซึ ้งไม่มีความสูญเปล่าเกิดขึ ้นในกระบวนการนี ้ กระบวนกรที่ไม่มี การคุณค่าแต่ต้องทาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ก่อให้ เกิดความสูญเปล่าประเภทที่หนึ่ง กระบวนการที่ไม่ มีคณ ุ ค่าและสามารถยกเลิกได้ ทนั ที ก่อให้ เกิดความสูญเปล่าประเภทที่สองนันเอง ้ 6.2.3 การทาให้ เกิดการไหลของคุณค่ าอย่ างต่ อเนื่อง (Continuous Value Stream) คือ การมุ้งเน้ นที่ทาให้ เกิดสายการผลิตสามารถปฎิบตั ิการงานได้ อย่างสม่าเสมอตลอดเวลา โดย ปราศจากอุปสรรคขัดขวาง โดยใช้ หลักการไหลของงาน อย่างต่อเนื่อง 6.2.4 การให้ ลูกค้ าเป็ นผู้ดึงคุณค่ าจากกระบวนการ (Value Pull Flow) คือจะทาการ ผลิตก็ต่อเมื่อลูกค้ าต้ องการสินค้ านัน้ และผลิตในปริ มาณเท่าที่ลูกค้ าต้ องการ จึงมีการสอดคล้ อง กับระบบการผลิตตามคาสั่ง และสามารถประยุกต์ใช้ ระบบทางานย้ อยหลัง คือนาความต้ องการ ของลูกค้ ามากาหนดการทางานอย่างแท้ จริ ง ซึ่งอาจเป็ นได้ ทงลู ั ้ กค้ าภายในและภายนอก ซึ่งก็คือ หน่วยงานที่ต้องการความสนับสนุนจากหน่วยผลิตนันเอง ้ 6.2.5 การสร้ างคุณ และกาจั ดความสูญเปล่ าอย่ างต่ อเนื่ อง (Perfection System) เป็ นความพยายามของหน่วยผลิต ที่ม่งุ มัน่ ด้ านการผลิตคุณค่า และบริ การอย่างต่อเนื่อง ตลอดจน มีการค้ นพบความสูญเปล่าที่เกิดขึ ้นระหว่างการผลิตและกาจัดความสูญเปล่านันให้ ้ หมดสิ ้น ในส่วนผลที่ได้ รับจากการประยุกต์ใช้ ระบบแบบลีน คือระดับการผลิตสินค้ าคงคลัง ทังที ้ ่เป็ นวัสดุ งานระหว่างทา (Work in Process)และสินค้ าสาเร็ จรูปลดน้ อยลง ผลิตภาพการผลิตเพิ่มสูงขึ ้น เวลาในการ ผลิตลดลง ตลอดจนราคาจัดซื ้อวัสดุ ก็อาจจะลดลงด้ วย หากผู้ขายวัสดุใช้ ระบบการผลิตแบบลีนเช่นกัน ด้ วยเหตุนี ้จึงทาให้ ต้นทุนการผลิตโดยรวมเห็นได้ ชดั
วิษณุ สุวรรณเวียง
บทที่ 3 สารสนเทศทางการผลิต Manufacturing Information
รายงานเรือ ่ ง ระบบสารสนเทศทางการผลิต วิชา ระบบสารสนเทศทางธุรกิจเบือ ้ งตน ้
รายงานเรือ ่ ง:ระบบสารสนเทศทางการผลิต 19 บทที่ 3 : สารสนเทศทางการผลิต
บทที่ 3 สารสนเทศทางการผลิต (Manufacturing Information) สารสนเทศที่ได้ รับจากการประมวลผลระบบสารสนเทศ ทางการผลิตซึ่งต้ องอาศัยสารสนเทศ เช่น แผนการผลิต สารสนเทศวัตถุดบิ และสินค้ าคงเหลือ ต้ นทุนการผลิต การขนส่งวัตถุดิบและผู้ขายวัตถุดิบ โดยมี การใช้ สารสนเทศนี ้เพื่อสนับสนุนกิจกรรมทางการผลิต ทังในเชิ ้ งปฏิบตั กิ ารผลิตและบริหารการผลิต การจาแนกประเภท 1. สารสนเทศเชิงปฏิบตั กิ าร คือ สารสนเทศที่ได้ รับจากการดาเนินการผลิตในส่วนต่างๆ 2. สารสนเทศเชิงบริหาร คือ สารสนเทศที่ได้ จากการบริหารงานทังในระดั ้ บกลวิธีและกลยุทธ์ด้านการ วางแผนและจัดการผลิต 3. สารสนเทศภายนอกองค์การ คือ สารสนเทศที่ได้ รับจากการเก็บรวบรวมข้ อมูลภายนอก เช่น จาก ผู้ขาย หรื อผู้ขนส่งวัสดุ สารสนเทศเชิงปฏิบัตกิ ารทางการผลิต 1. สารสนเทศด้ านการดาเนินการผลิต ครอบคลุมถึงการปฏิบตั ิการผลิตประจาวัน ต้ นทุนการผลิต และอื่นๆ 2. สารสนเทศด้ านการควบคุมคุณภาพ ข้ อระบุถึงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ รวมถึงสถิติการใช้ วตั ถุดิบ และของเสียจากการผลิต 3. สารสนเทศด้ านการแก้ ปัญหา มุง่ เน้ นการค้ นพบสิ่งผิดปกติในช่วงการผลิต การค้ นพบอาจต้ องใช้ อุปกรณ์ Sensor เข้ าช่วย สารสนเทศเชิงบริหาร 1.สารสนเทศด้ านการออกแบบการผลิต ครอบคลุมการออกแบบผลิตภัณฑ์ กระบวนการผลิต ระบบ การผลิตและผังโรงงาน 2. สารสนเทศด้ านการวางแผนการผลิต ครอบคลุมการจัดตารางการผลิต การจัดสรรทรัพยากรผลิ ต และบริหารโครงการผลิต 3. สารสนเทศด้ านการจัดการโลจิสติกส์ ครอบคลุมการจัดหาและการขนส่งวัสดุเข้ าโรงงาน กาจัดเก็บ และควบคุมสินค้ าคงเหลือ การเคลื่อนย้ ายสินค้ า การรักษาคุณภาพของสินค้ า 4. สารสนเทศด้ านการควบคุมการผลิต ครอบคลุมการควบคุมกระบวนการผลิต ต้ นทุนการผลิต และ การบารุงรักษาเครื่ องจักรและอุปกรณ์
วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง:ระบบสารสนเทศทางการผลิต 20 บทที่ 3 : สารสนเทศทางการผลิต
สารสนเทศภายนอกองค์ การ 1. สารสนเทศด้ านผู้ขายวัสดุ ครอบคลุมถึงสารสนเทศที่ได้ รับจากผู้ขายวัสดุภายในเครื อข่ายด้ านโซ่ อุปทานขององค์การ 2. สารสนเทศด้ านผู้ขนส่งวัสดุ ครอบคลุมสารสนเทศที่ได้ รับจากผู้ให้ บริการขนส่งวัสดุ เช่น ตารางการ ขนส่ง ระยะเวลาที่ใช้ ขนส่ง และต้ นทุนการขนส่ง การบวนการทางธุรกิจของระบบสารสนเทศทาจาแนกเป็ น 5 ระบบย่อย คือ 1. ระบบออกแบบการผลิต (Production Designing) 2. ระบบวางแผนการผลิต (Production Planning) 3. ระบบจัดการโลจิสติกส์ (Logistics Managing) 4. ระบบดาเนินการผลิต (Production Operating) 5. ระบบควบคุมการผลิต (Production Controlling) 1.ระบบออกแบบการผลิต เป็ นหน้ าที่ส าคัญ ก่อนที่จะมีการวางแผนและดาเนินการผลิตโดยมุ่งเน้ นหน้ าที่ด้านการออกแบบ ผลิ ตภัณ ฑ์ และการออกแบบระบบการผลิต ซึ่ง ประกอบด้ วยกระบวนการผลิตที่ ดี เพื่ อให้ ไ ด้ ผลผลิตที่ มี คุณภาพระบบออกแบบการผลิตจาแนกได้ เป็ น 2 กระบวนการ คือ การออกแบบผลิตภัณฑ์ ครอบคลุมทัง้ ในส่ วนการปรั บปรุ งผลิตภัณฑ์ ท่ มี ีอยู่เดิมให้ ดีขนึ ้ และ สร้ างนวัตกรรมด้ านผลิตภัณฑ์ ขึน้ ใหม่ เป็ นการ กาหนดรายละเอี ย ดของผลิ ต ภัณ ฑ์ โดยอาศัยข้ อ มูลจากการวิจัย ตลาดการจัดการวงจรชี วิ ต ผลิต ภัณ ฑ์ (PLM)ที่ดีจะมุง่ เน้ นกลยุทธ์ด้านการแบ่งปั นกันใช้ ข้อมูลผลิตภัณฑ์ระหว่างผู้ผลิตและผู้ขายวัสดุ เพื่อตอบสนอง การพัฒนาผลิตภัณฑ์และสนับสนุนปฏิบตั กิ ารในโซ่อปุ ทาน 1.2 การออกแบบระบบการผลิต ครอบคลุมส่วนประกอบที่สมั พันธ์ กนั ของระบบการผลิต รวมทัง้ การติดตาม ตรวจสอบและควบคุมการผลิต โดยเลือกกระบวนการผลิตที่เหมาะกับความต้ องการของลูกค้ าแต่ ละราย ซึง่ อาจมีการเปลี่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลา จึงเป็ นการสนองตอบกลยุทธ์ด้านความพึงพอใจของลูกค้ าใน ระยะยาว ตัวอย่ างการออกแบบระบบการผลิต บ. โตโยต้ า ใช้ ระบบการผลิตแบบทันเวลาพอดีร่วมกับระบบการผลิตแบบหยุดอัตโนมัติ จึงสามารถ ลดวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์จาก 15 วัน เหลือเพียง 1 วัน และลดต้ นทุน 30-50 % อีกทังส่ ้ งผลถึงคุณภาพของ ผลิตภัณฑ์ที่สูงขึ ้นบ. เดลล์ คอมพิวเตอร์ สร้ างแบบจาลองสายการผลิต ในลักษณะรอรับคาสัง่ ซื ้อจากลูกค้ า ใช้ ระบบ JIT สาหรับการจัดหาชิ ้นส่วน เพื่อนามาประกอบและส่งไปยังจุดมุง่ หมายอย่างรวดเร็ว
วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง:ระบบสารสนเทศทางการผลิต 21 บทที่ 3 : สารสนเทศทางการผลิต
กระบวนการทางธุรกิจ มีการนาเข้ าข้ อมูลจากแฟ้มแบบจาลองผลิตภัณฑ์ แบบจาลองกระบวนการผลิตและคาสัง่ ผลิต เพื่อ นามาประมวลผลโดยโปรแกรมออกแบบการผลิต และจัดเก็บแฟ้มข้ อมูลในแฟ้มออกแบบผลิตภัณฑ์และแฟ้ม ออกแบบระบบการผลิต หลังจากนัน้ จึงออกรายงานวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ แบบจาลองผลิตภัณฑ์ใหม่และ รายงานระบบการผลิตตามคาสัง่ ให้ ใช้ สาหรับวางแผนการผลิตต่อไป
โดยปกติธุรกิจจะมีการวางแผนการผลิต 3 ระยะ คือ 1. ระยะยาว โดยตัดสินใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงกาลังผลิต 2. ระยะกลาง กาหนดกาลังการผลิตคงที่ แต่เปลี่ยนปั จจัยอื่นเช่น วัสดุ หรื อแรงงาน เป็ นต้ น 3. ระยะสัน้ ใช้ กาลังผลิตที่มีอยูใ่ ห้ เกิดประสิทธิภาพสูงสุดโดยมีการวางแผนการผลิตและใช้ เทคโนโลยี ช่วยสนับสนุน การวางแผนการผลิตรวม แผนการผลิตรวม ประกอบด้ วยอัตราการผลิต ปริ มาณแรงงาน และการ จัดเก็บสินค้ าคงคลัง โดยพิจารณาความต้ องการของลูกค้ า (Demand) เป็ นหลัก โดยคานึงถึงข้ อจากัดการ ผลิตด้ วยในธุรกิจบริ การจะเรี ยกแผนการผลิตรวมว่า แผนพนักงานโดยมีการกาหนดกลยุทธ์ ทงในเชิ ั้ งรุกและ เชิงตังรั้ บ และใช้ แนวทางหลายแนวทาง เช่น ปรับจานวนแรงงานและว่าจ้ างผู้รับเหมาช่วง
วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง:ระบบสารสนเทศทางการผลิต 22 บทที่ 3 : สารสนเทศทางการผลิต
การจัดตารางการผลิต เป็ นแผนระยะสันที ้ ่สอดคล้ องกับแผนการผลิตรวม โดยมุ่งเน้ นการใช้ กาลัง ผลิตอย่างคุ้มค่าภายใต้ ข้อจากัดการผลิต เช่น กาลังผลิตและทรัพยากรการผลิต จึงทาให้ ทราบปริ มาณการ ผลิตในแต่ละสัปดาห์ ในส่วนธุรกิจบริ การ มักจัดทาตารางแรงงานการจัดตารางการผลิตนิยมใช้ Gantt Chart 2 แบบ คือ ผัง ความคืบ หน้ า และผัง เครื่ องจัก ร เพื่ อติดตามความความคืบ หน้ าของงาน และจัดล าดับการใช้ ง านของ เครื่ องจักร การวางแผนความต้ องการวัสดุ สาหรับงานด้ านการจัดการวัสดุคงคลัง ที่มีความเกี่ยวข้ องกับวัสดุ อื่น เช่น การผลิตเก้ าอี ้ 3รูปแบบ ใช้ วสั ดุ ขาเก้ าอี ้ สกรู และลูกกลอน ในปริ มาณที่ตา่ งกันอีกทังความต้ ้ องการ เก้ าอี ้ทัง้ 3 รูปแบบ ก็ตา่ งกันด้ วย โดยแผนความต้ องการวัสดุ จะสัมพันธ์กนั กับ ตารางการขนส่งวัตถุดิบตาราง การสัง่ ซื ้อวัสดุเพิ่ม ที่มีการประยุกต์ใช้ ตวั แบบปริมาณการสัง่ ซื ้อที่ประหยัดที่สดุ ร่วมกับตัวแบบจุดสัง่ ซื ้อเพิ่ม การวางแผนทรั พยากรการผลิต เนื่องจากมีการดาเนินการผลิตที่ซบั ซ้ อนขึ ้น โดยเฉพาะการผลิต สินค้ าหลายรูปแบบตามความต้ องการของลูกค้ า ดังนัน้ นอกจากจะต้ องวางแผนความต้ องการวัสดุแล้ ว ธุรกิจ จะต้ องวางแผนทรัพยากรการผลิตด้ วยเช่น วัสดุ แรงงาน และค่าใช้ จา่ ยโรงงาน 2.กระบวนการทางธุรกิจ มีการนาเข้ าข้ อมูลจากแฟ้มสถานภาพการผลิต แฟ้มกระบวนการผลิต และแฟ้มทรัพยากรการผลิต โดยนามาประมวลผลร่วมกับตัวแบบผังแกนต์ และตัวแบบสินค้ าคงเหลือ โดยใช้ โปรแกรมวางแผนการผลิต อีกทังจั ้ ดเก็บข้ อมูลในแฟ้มแผนการผลิต ตารางการผลิตและตารางการใช้ ทรัพยากร พร้ อมทังน ้ าออก แผนการ ผลิตรวมตารางการผลิต ตารางการสัง่ ซื ้อวัสดุเพิ่มและตารางการใช้ ทรัพยากรการผลิต 3.ระบบจัดการโลจิสติกส์ เกี่ยวข้ องกับกิจกรรมด้ านการรับคาสัง่ ซื ้อ การจัดซื ้อวัสดุ การขนส่งด้ านรับสินค้ าเข้ า การขนส่งด้ าน กระจายสินค้ าออก โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อควบคุมกระบวนการเคลื่อนย้ ายสินค้ าและบริ การของธุรกิจ เริ่ มจาก การจัดหาวัตถุดบิ การผลิต และส่งมอบสินค้ าผลที่ได้ จากการจัดการโลจิสติกส์ที่ดี คือ ความได้ เปรี ยบเชิงการ แข่งขันในส่วนของเวลาและสถานที่ รวมทังประสิ ้ ทธิภาพการขนส่งสินค้ า โดยแบ่งระบบย่อยเป็ น 2 ส่วน คือ 3.1 โลจิสติกส์ ขาเข้ า กิจกรรมจะเกี่ยวข้ องกับกระบวนการทางธุรกิจระหว่างองค์การ คือ องค์การผู้ ซื ้อวัสดุและองค์การผู้ขายวัสดุซงึ่ กิจกรรมนี ้อยูภ่ ายใต้ โซ่คณ ุ ค่า คือ 1) การจัดหาวัสดุ โดยใช้ ระบบจัดซื ้อแบบปกติหรื อ E-procurement 2) การตรวจรับวัสดุ โดยการตรวจสอบคุณภาพ และรับมอบวัสดุตลอดจนการเก็บรักษาวัสดุไว้ ใน คลังวัสดุ 3) การควบคุมวัสดุ โดยติดตามดูแลและบารุงรักษาวัสดุให้ มีคณ ุ ภาพ
วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง:ระบบสารสนเทศทางการผลิต 23 บทที่ 3 : สารสนเทศทางการผลิต
3.2 การจัดการสินค้ าคงเหลือ เป็ นการกาหนดปริ มาณที่เหมาะสมของวัสดุ ชิน้ ส่วนและสินค้ า คงเหลือที่จดั เก็บในคลังสินค้ า หากปริ มาณมากเกินไป ธุรกิจจะต้ องรับภาระต้ นทุนสินค้ าและต้ นทุนจัดเก็บที่ สูงหากปริ มาณน้ อยเกินไป ธุรกิจจะต้ องรับภาระต้ นทุนค่าเสียโอกาสหรื อสินค้ าขาดมือ เนื่ องจากปริ มาณ สินค้ าไม่เพียงพอกับความต้ องการการตัดสินใจขันพื ้ ้นฐาน 2 ประการ คือ 1. จะสัง่ ซื ้อวัสดุเมื่อใด ใช้ ตวั แบบจุดสัง่ ซื ้อเพิ่ม (Reorder Point) 2. จะสัง่ ซื ้อวัสดุจานวนเท่าใดใช้ ตวั แบบปริมาณสัง่ ซื ้อที่ประหยัดที่สดุ (EconomicOrderQuantity: EOQ) การใช้ ระบบสารสนเทศร่วมกับตัวแบบทังสอง ้ จะใช้ หลักการว่าเมื่อใดที่ระดับของวัสดุลดลงมาถึงจุด สัง่ ซื ้อเพิ่ม ระบบจะทารายการสัง่ ซื ้ออัตโนมัติ โดยจัดส่งใบสัง่ ซื ้ออิเล็กทรอนิกส์ไปยัง ผู้ขายวัสดุหรื อโอนย้ าย ข้ อมูลสัง่ ผลิตไปยังหน่วยผลิตวัสดุภายในองค์การระบบ Vendor Managed Inventory (VMI) จะเป็ นระบบ สนับสนุนให้ ผ้ ขู ายติดตามดูแลสินค้ าและวัสดุ ผ่านโปรแกรม Mobile Agents บนอินเทอร์ เน็ต และให้ ผ้ ขู าย เติมเต็มวัสดุทนั ทีที่ปริมาณสินค้ าลดลงถึงจุดสัง่ ซื ้อเพิ่ม ปั จจุบนั มีการใช้ เทคโนโลยีการกาหนดความถี่วิทยุ (RFID) กับการควบคุมและติดตามรอยสินค้ า โดย ใช้ ป้ายระบุความถี่วิทยุ ที่อยู่ในลักษณะชิปเล็กๆ ที่บรรจุสารสนเทศเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์หรื อบรรจุภัณฑ์ การ ค้ นหาข้ อมูลโดยการ Scan ป้าย เพื่อใช้ ติดตามสารสนเทศด้ านการเคลื่อนย้ ายสินค้ า จึงช่วยลดต้ นทุนการ ดาเนินงานช่วยปรับปรุงงานด้ านการบริการสินค้ า และช่วยให้ บรรลุความได้ เปรี ยบในการแข่งขัน กระบวนการทางธุรกิจของระบบการผลิตตามคาสั่ง มีการรอรับข้ อมูลคาสัง่ ซื ้อจากลูกค้ า และรับเข้ าข้ อมูลวัสดุ และสินค้ าคงเหลือ เปรี ยบเทียบกับความ ต้ องการของลูกค้ า หากต้ องการสัง่ ซื ้อวัสดุเพิ่ม จะส่งใบสัง่ ซื ้ออิเล็กทรอนิกส์ไปยังผู้ขายวัสดุและรอรับวัสดุจาก ผู้ขาย วัสดุที่ตรวจรับเรี ยบร้ อยแล้ วจะส่งไปโรงงานผลิตสินค้ าพร้ อมทังโอนเงิ ้ นอิเล็กทรอนิกส์ จ่ายชาระค่าซื ้อ วัสดุ และออกรายงานตรวจรับวัสดุ รายงานสินค้ าคงเหลือ และรายงานการจ่ายค่าซื ้อวัสดุให้ ผ้ จู ัดการผลิต รับทราบ
วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง:ระบบสารสนเทศทางการผลิต 24 บทที่ 3 : สารสนเทศทางการผลิต
4. ระบบดาเนินงานการผลิต เกี่ ย วข้ อ งกับ กิ จ กรรมด้ า นการผลิ ต และด าเนิ น งาน โดยมุ่ง เน้ น การผลิ ต ตามแผนการผลิ ต และ กระบวนการผลิตที่วางไว้ ซึ่งจะแตกต่างกันไปในแต่ละประเภทอุตสาหกรรมตัวอย่างกิจกรรม คือ การสัง่ การ ผลิต การมอบหมายงานผลิตการสมดุลสายการผลิต การกาหนดมาตรฐานการผลิต และการปรับปรุงการผลิต การสมดุล สายการผลิ ต มี ความจ าเป็ นต่อกระบวนการผลิ ตแบบต่อเนื่ องจากกระบวนการหนึ่ง ไปยัง อี ก กระบวนการหนึ่ง ทาได้ โดยการจัดกระบวนการผลิต และมอบหมายงานให้ หน่วยผลิตที่มีกาลังผลิตใกล้ เคียง กันมีการพัฒนาเทคโนโลยีทางการผลิต เช่น คอมพิวเตอร์ ช่วยผลิตการผลิตแบบผสมผสานด้ วยคอมพิวเตอร์ และการผลิตแบบยืดหยุน่ รวมทังการน ้ าหุน่ ยนต์ มาช่วยในการผลิต กระบวนการทางธุรกิจ มีการนาเข้ าข้ อมูลจากแฟ้มออกแบบผลิตภัณฑ์ แฟ้มแผนการผลิต แฟ้มตารางการผลิต และแฟ้ม ทรัพยากรการผลิตมีการประมวลผลโดยใช้ โปรแกรมการผลิต และจัดเก็บข้ อมูลในแฟ้มสถานภาพการผลิต แฟ้มงานระหว่างทาและแฟ้มสินค้ าสาเร็จรูป พร้ อมทังออกรายงานด้ ้ านการดาเนินการผลิต
5. ระบบควบคุมการผลิต จะมุ่ง เน้ น การควบคุม ให้ เ ป็ นไปตามแผนที่ ว างไว้ โดยใช้ ส ารสนเทศเป็ นเครื่ อ งมื อ ควบคุม เช่ น สถานภาพการผลิต และคาสั่งซือ้ ของลูกค้ า เพื่อตรวจสอบความก้ าวหน้ าของการผลิตให้ เป็ นไปตามแผน นอกจากการใช้ สารสนเทศแล้ ว อาจใช้ หลักการบริ หารโครงการเป็ นเครื่ องมือควบคุมการผลิตก็ได้ โดยมีการ ควบคุมใน 4 ส่วนที่สาคัญ
วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง:ระบบสารสนเทศทางการผลิต 25 บทที่ 3 : สารสนเทศทางการผลิต
5.1 การควบคุ ม ปฏิ บั ติก ารการผลิต ใช้ ติด ตามผลปฏิ บัติก ารในโรงงานโดยพัฒ นาระบบ Manufacturing Execution Systems (MES) ขึ ้น เพื่อติดตามรอยการผลิตและควบคุมองค์ประกอบ เช่น วัตถุดิบ อุปกรณ์แรงงาน มีการจัดตารางการใช้ พื ้นที่ผลิต การควบคุมหุ่นยนต์ ระบบผลิต และเครื่ องจักร มี การออกรายงานการปรับสถานะ และผลการดาเนินงานขององค์ประกอบการผลิต เพื่อสร้ างความยืดหยุ่น และคุณภาพสูงสุดของระบบการผลิต 5.2 การควบคุมคุณภาพ เป็ นการใช้ ระบบสารสนเทศเพื่อควบคุมคุณภาพวัตถุดิบ ชิ ้นส่วน สินค้ ากึ่ง สาเร็ จรูป (งานระหว่างทา) สินค้ าสาเร็ จรูปโดยใช้ ระบบเมตริ ก เปรี ยบเทียบผลลัพธ์ตามมาตรฐานที่ตงไว้ ั ้ กับ ผลที่เกิดขึ ้นจริ ง อาจพัฒนาระบบสารสนเทศบนเว็บเพื่อรวบรวมและแปลความหมายด้ านคุณภาพทันที หรื อ อาจจัดเก็บไว้ ในฐานข้ อมูลเพื่อนามาวิเคราะห์ในอนาคต มีระบบการแสดงเปอร์ เซ็นต์ของเสียระหว่างผลิตและ เปอร์ เซ็นต์งานที่ต้องดาเนินการใหม่ รวมทังการเปรี ้ ยบเทียบผลการปฏิบตั งิ านระหว่างแผนกในขันพื ้ ้นฐาน 5.3 การควบคุมต้ นทุน ต้ นทุนการผลิตหลักคือ ค่าวัสดุ ค่าแรง และค่าใช้ จ่ายโรงงาน รวมถึงต้ นทุน ส่วนอื่น คือ ต้ นทุนการจัดหาวัตถุดิบการควบคุมคุณภาพ ของเสียระหว่างการผลิต และการบารุ งรักษาการ ควบคุมต้ นทุนจึงเป็ นสิ่งจาเป็ นเพื่อไม่ให้ ต้นทุนบานปลายเกินไป 5.4 การบารุ งรั กษา โดยการซ่อมบารุงเครื่ องจักร และอุปกรณ์การผลิตให้ อยู่ในสภาพพร้ อมทางาน ได้ และยังเป็ นการรักษาความปลอดภัยในการทางาน โดยมีการซ่อมบารุง 2 ลักษณะ คือ การซ่อมเพื่อป้องกัน ไม่ให้ ชารุด และการซ่อมเมื่อพบร่องรอยการชารุดแล้ ว กระบวนการทางธุรกิจ มี ก ารน าเข้ า ข้ อ มูล จากแฟ้ มมาตรฐานคุณ ภาพ แฟ้ มการผลิ ต แฟ้ มอุป กรณ์ ก ารผลิ ต และแฟ้ ม เครื่ องจักร มาประมวลผลโดยโปรแกรมควบคุมการผลิต และจัดเก็บข้ อมูลในแฟ้มคุณภาพผลิตภัณฑ์ แฟ้ม ซ่อมบารุงและแฟ้มต้ นทุนการผลิต พร้ อมทังออกรายงานด้ ้ านการควบคุมการผลิต
วิษณุ สุวรรณเวียง
บทที่ 4 เทคโนโลยีทางการผลิต Manufacturing Technology
รายงานเรือ ่ ง ระบบสารสนเทศทางการผลิต วิชา ระบบสารสนเทศทางธุรกิจเบือ ้ งตน ้
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 32 บทที่ 4 : เทคโนโลยีการผลิต
บทที่ 4 เทคโนโลยีทางการผลิต (Manufacturing Technology) การสับเปลี่ยนข้ อมูลอิเล็คทรอนิคส์ (Electronic Data Interchange) การสั บเปลี่ ยนข้ อมู ล อิเล็กทรอนิ กส์ หมายถึง การสับเปลี่ยนเอกสารการซือ้ ขายทางธุรกิจ ระหว่างองค์กรมาตราฐาน 2 องค์กรขึ ้นไป ผ่านระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีหลายประเภท เช่น การโอนเงิน อิเล็กทรอนิกส์ หรื อกรณีที่กรมศุลกากรไทย นาเอาระบบ EDI มาใช้ ในการจัดเก็บภาษี การตรวจปล่อย สินค้ า การส่งเสริ มการส่งออก และการป้องกันปราบปรามการลักลอบหลีกเลี่ยงภาษี ศลุ กากร เป็ นต้ น การ สับเปลี่ยนข้ อมูลอิเล็กทรอนิกส์นี ้จัดเป็ นส่วนหนึ่งของพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ ส่วนลักษณะการดาเนินงาน ของ EDI มีส่วนสาคัญคือ 1.มี EDI Gateway 2. มี VANS 3. มีเอกสารธุรกิจที่รับ – ส่ง โดยผ่านระบบ EDI ส่วนข้ อดีของ EDI มีมากมาย คือ ช่วยลดข้ อผิดพลาด ช่วยลดงบประมาณ ช่ วยเพิ่มประสิทธิภาพในการ ปฏิบตั แิ ละช่วยเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน การสับ เปลี่ยนข้ อมูลอิเล็กทรอนิกส์ สามารถประหยัดงบประมาณ และเวลาได้ มาก เพราะ เอกสารสาหรับการซื อ้ ขายสามารถส่ง ผ่านระบบสารสนเทศ จากที่ หนึ่ง ไปยัง อีกที่ หนึ่ง ได้ อย่างสะดวก รวดเร็ ว ตลอดจนสามารถส่งผ่านถึงการสื่อสารทางไกลผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ได้ ด้วย แม้ เกี่ยวกับ งานพิมพ์ ผู้ใช้ สามารถป้อนข้ อมูลเข้ าที่เครื่ องคอมพิวเตอร์ ต้นทาง โดยที่ไม่ต้องเสียเวลาในการส่งเอกสาร ระบบของ EDI นี ้ เป็ นกลยุทธ์ที่อานวยประโยชน์ได้ อย่างสูง ช่วยให้ เกิดความเชื่อถือได้ อย่างแน่นอน โดย การเข้ ารหัส ( Lock in ) ของลูกค้ าให้ ถกู ต้ อง และสามารถทาได้ ง่าย ๆ สาหรับลูกค้ า หรื อผู้จาหน่าย ในการ ที่จะส่งสินค้ าจากผู้จาหน่ายสินค้ า ลักษณะการดาเนินงานของระบบ EDI การดาเนินงานของระบบ EDI มีขนตอนซึ ั้ ง่ ทาหน้ าที่ในการประสานงานกันหลายอย่ ้ างที่สาคัญ คือ 1. มี EDI Gateway (Trade Siam) ซึ่งมีหน้ าที่เปรี ยบเสมื อนกรมไปรษณี ย์กลางอิเล็กทรอนิกส์ ตัง้ ประจาการเพื่อเป็ นศูนย์กลางในการต่อเชื่อมระบบของการรับ – ส่ง และแลกเปลี่ยนเอกสารธุรกิจกับ หน่วยงานหรื อองค์กรต่าง ๆ ที่มีสว่ นเกี่ยวข้ องในวัฏจักรการดาเนินงานธุรกิจทังภาครั ้ ฐบาลและภาคเอกชน จากต้ นทาง (ผู้สง่ ) ไปยังปลายทาง ผู้รับ) 2. โดยมี VANS ซึ่งมีหน้ าที่เปรี ยบเสมือนเป็ นศูนย์ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ตามเขตต่าง ๆ ที่คอยให้ บริ การ และดูแลระบบ EDI ตามขอบเขตและหน้ าที่ของแต่ละ VANS ด้ วยการดูแล และรับผิดชอบเอกสารทาง
วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 33 บทที่ 4 : เทคโนโลยีการผลิต
อิเ ล็กทรอนิกส์ ทาให้ การรั บส่ง และแลกเปลี่ยนกันจนถึงปลายทางอย่างถูกต้ อง รวมทัง้ การได้ รับความ ปลอดภัยทางด้ านข้ อมูลที่สามารถแสดงผลด้ วยการลงบันทึก รายงานในแต่ละวัน และทางานตลอด 24 ชัว่ โมง 3. เอกสารธุรกิจที่รับ – ส่ง โดยผ่านทางระบบ EDI นัน้ จะต้ องผนึกด้ วยซองอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็ นซองที่ได้ รับ มาตราฐานของการใช้ รับ – ส่ง และแลเปลี่ยนเอกสารธุรกิจผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งมีใช้ กันอย่าง แพร่หลาย ทัว่ โลก หรื อที่สากลให้ การยอมรับในนามของ UN/ EDIFACT องค์ กรและหน่ วยงานที่เกี่ยวข้ องกับ EDI ในส่วนขององค์กรและหน่วยงานที่ มีส่วนเกี่ ยวข้ องกับ EDI คือ 1. End User ผู้ที่มีหน้ าที่ในการรับ – ส่งเอกสารผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ (ผู้ประกอบการ) 2. Value Added Networks (VANS) ผู้ที่มีหน้ าที่ให้ บริ การทางด้ านการรับ – ส่งเอกสารทาง อิเล็กทรอนิกส์ (เปรี ยบเสมือนกับศูนย์ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ประจาเขตต่าง ๆ ที่ยินดีให้ การบริการ) 3. EDI Gateway เป็ นศูนย์กลางในการคัดแยกเอกสาร ทาหน้ าที่ในการคัดแยก และนาส่ง เอกสารผ่านไปยังจุดหมายปลายทาง รวมทังเป็ ้ นศูนย์กลางในการต่อเชื่อมระบบไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ที่ เกี่ยวกับธุรกิจนาเข้ า และส่งออก ประเภทการเชื่อมโยงของ EDI (Typi – cal EDI Linkages) ประเภท การเชื่อมโยงของการสับเปลี่ยนข้ อมูลอิเล็กทรอนิกส์นนั ้ เป็ นการเชื่อมโยงกันระหว่างผู้ จาหน่ายสินค้ า และลูกค้ า การติดต่อของผู้จาหน่ายสินค้ านัน้ จะต้ องมีส่วนของระบบการจัดจาหน่าย และ ในส่วนของลูกค้ านันจะต้ ้ องมีสว่ นที่เป็ นชื่อของลูกค้ า ระดับการสร้ างระบบของ EDI ( Degree of EDI Implementation ) การแลกเปลี่ยนกับหุ้นส่วนนัน้ สามารถจะดูแลบารุ งรักษาได้ หลายระดับ ซึ่งมีหลักการของการ กาหนดการใช้ งาน 3 ระดับ คือ 1. ระดับที่มีผ้ ใู ช้ คนเดียว (Level – one – users) โดยปกติจะมีเพียงหนึ่ง หรื อสองชุดการ ประมวลผลเท่านันที ้ ่ถกู ส่งมา ของหุ้นส่วน ยกตัวอย่างเช่น การส่งใบกากับสินค้ า และการส่งหลักทรัพย์ไป ยังลูกค้ า 2. ระดับที่มีผ้ ใู ช้ 2 คน (Level – two – users) จะมีชดุ ของการประมวลผลจากัดตัวเลขของหุ้นส่วน ที่ถูกส่งมามากมาย บางทีอาจเป็ นโรงงานอุตสาหกรรม มีหน่วยขององค์กรหลายองค์กรที่เข้ าร่ วมการส่ง ลักษณะนี ้อย่างไรก็ตามการ ประยุกต์ใช้ เท่าที่จาเป็ นก็ไม่ได้ สง่ ผลกระทบอะไรมากมายนัก 3. ระดับที่มีผ้ ใู ช้ 3 คน (Level – three – users) มิใช่เพียงแต่มีชดุ ของการประมวลผลจากัดตัวเลข ของหุ้นส่วนเท่านัน้ แต่การประยุกต์ใช้ ของคอมพิวเตอร์ จะถูกปรับปรุงให้ เข้ ากับความเหมาะสมของ EDI วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 34 บทที่ 4 : เทคโนโลยีการผลิต
วัตถุ ประสงค์ของระดับที่มีผ้ ใู ช้ คนเดียวแระระดับที่มีผ้ ใู ช้ 2 คน คือ การแปลงข้ อมูลเอกสารให้ เป็ นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ผลการใช้ ในระดับนีจ้ ะถูก อธิ บายความในลักษณะแนวคิดแบบเปิ ดกับเปิ ด ( Door – to door approach ) เมื่อมีผลกระทบนัน้ มิได้ มีเพียงแต่การสื่อสารข้ อมูลและการประยุกต์ใช้ ที่ถกู ปรับปรุงให้ ได้ สดั ส่วนของ EDI เพื่อให้ ตรงกับทัง้ 3 ระดับ
ประโยชน์ ของ EDI 1. ช่วยลดข้ อผิดพลาด (Reduced errors) โดยปกติแล้ วการนาข้ อมูลเข้ าระบบ มักจะมีข้อผิดพลาด เกิดขึ ้นเป็ นจานวนมาก เพราะฉะนัน้ หากมีการลดข้ อผิดพลาดตรงนี ้ได้ ก็จะเป็ นประโยชน์อย่างมาก จาก การศึกษาข้ อมูลของกลุ่ม EDI Group Ltd. พบว่า เมื่อไม่มีการใช้ EDI มีข้อผิดพลาดที่เกิดขึ ้นถึง 10.1 เปอร์ เซ็นต์ แต่เมื่อมีการนาเอา EDI มาใช้ ทาให้ ข้อผิดพลาดลดลง เหลือ 4.4 เปอร์ เซ็นต์ 2. ช่วยลดงบประมาณ (Reduced Costs) เรื่ องของงบประมาณนี ้ สามารถลดลงได้ จริ ง โดยเป็ น การช่วยตัดงบประมาณนี ้ สามารถลดลงได้ จริ ง หมายถึงช่วยลดงบประมาณในเรื่ องของเอกสาร และคูม่ ือ การปฏิบตั ิงานที่ซ ้าซ้ อนขององค์กรในเรื่ องของการช่วยลดงานด้ าน เอกสารนี ้ สามารถลดได้ ถึง $1.30 ถึง $5.50 ต่อเอกสารหนึ่งชุดหรื อในระดับที่สูงไปกว่านี ้คือ การสัง่ ซือ้ สินค้ า การตระเตรี ยมการสัง่ ซือ้ โดยใช้ ระบบ EDI นันช่ ้ วยให้ สามารถลดงบประมาณได้ ตงั ้ $75 ถึง $350 เหล่านี ้ คือ ความเป็ นจริงของระบบ EDI 3. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบตั ิงาน (Increased Operational Efficiency)บริ ษัทต่าง ๆนัน้ ได้ รับประโยชน์อย่างมากในการเข้ าร่วมกับองค์กรระหว่างประเทศ เพราะฉะนัน้ มีความเป็ นไปได้ สูงมากที่ บริ ษัทเหล่านี ้จะนาเอาระบบ EDI ไปใช้ เพื่อขยายฐานบริ ษัทของตนเองให้ กว้ างไกลออกไปยิ่งขึ ้น และ ในช่วงจังหวะนี ้ถือว่าเป็ นโอกาสที่ดีมาก ที่จะพัฒนาธุรกิจของตนให้ มีประสิทธิ ภาพมากยิ่ง เพราะระบบ EDI จะเข้ าไปแทนที่ระบบเอกสาร 4. ช่วยเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน (Increased ability to Compete) ด้ วยการผสมผสานกัน ระหว่างข้ อดีของการช่วยลดงบประมาณ และลักษณะของผลิตภัณฑ์ที่ดีที่มีอยู่ชนิดเดียวในเวลานี ้ มันมี ความเป็ นไปได้ ที่องค์กรระหว่างประเทศจะเน้ นการนาเอาระบบ EDI มาใช้ ในการติดต่อระหว่างบริ ษัทใน เครื อ สมาชิ ก ทัง้ นี ้ เพื่ อ ให้ บ ริ ษั ท ซึ่ ง เป็ นผู้แ ข่ ง ขัน สามารถที่ จ ะมี ก ระบวนการเทคโนโลยี ที่ ส อดรั บ กับ ผลิตภัณฑ์ และนอกจากนันยั ้ งเป็ นการเสนอการบริการที่ดีให้ กบั ลูกค้ าด้ วย
วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 35 บทที่ 4 : เทคโนโลยีการผลิต
เทคโนโลยีพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Commerce Technology ) การ สื่อสารข้ อมูลเป็ นส่วนหนึ่งของคอมพิวเตอร์ เนื่องจากปั จจุบนั มีการใช้ อินเทอร์ เน็ตกันมาก และการรั บ ข้ อ มูล ส่ว นใหญ่ ก็ ม าจากอิ น เทอร์ เ น็ ต อิ น เทอร์ เ น็ ต เป็ นโอกาสการเปิ ดรั บ ข่ า วสารเข้ า มา โดยเฉพาะข่าวสารธุรกิจรวมไปถึงพาณิชยอิเล็กทรอนิกส์ด้วย การเลือกเทคโนโลยี มีอยู่ 3 ประการคือ 1. การเชื่อมต่อได้ โดยตรง (Direct Connectivity) บริ ษัทสามารถที่จะสร้ างการเชื่อมโยงการสื่อสาร เพื่อแลกเปลี่ยนข้ อมูลกับหุ้น ส่วน มีการนาวงจรมาใช้ เช่นการอาศัยข่ายการส่งของ AT&T , GTE , MCT และ Sprint วงจรนันก็ ้ จะนามาจาการหมุนโทรศัพท์ หรื อสายส่วนตัว และสามารถใช้ ได้ หลายทาง เช่น วงจร ใยแก้ วนาแสง และการส่งสัญญาณคลื่นไมโครเวฟเหล่านี ้ คือ แนวทางการแลกเปลี่ยนการสร้ างเครื อข่าย ทางธุรกิจและมันเป็ นการจัดการแลก เปลี่ยนกับหุ้นส่วน ซึง่ เป็ นการควบคุมได้ โดยตรง 2. การเพิ่มมูลค่าด้ วยระบบเครื อข่าย ( Value Added Networks ) การเพิ่มมูลค่าเพิ่มด้ วยระบบ เครื อข่าย ( Value Added Networks: VAN ) เป็ นการจัดการเรื่ องการให้ การบริ การโดยพ่อค้ า ซึ่งไม่ เพียงแต่เป็ นการให้ การบริ การทัว่ ไปอย่างเดียวเท่านัน้ แต่เป็ นการให้ การบริ การโดยมีการนาเอาระบบ EDI มาใช้ ตัว อย่า ง เช่น การเพิ่ ม มูล ค่า ด้ ว ยระบบเครื อ ข่า ยนี ้ พ่อ ค้ า จะจัด การเรื่ อ งธุ ร กิ จ ของตนเองด้ ว ย ซอฟต์แวร์ ทาหน้ าที่แปลกระบวนการ มีการดูแลเรื่ องตัวเลข และจัดการเรื่ องแฟ้มข้ อมูล และเป็ นผู้ช่วยใน การให้ การฝึ กอบรมการแลกเปลี่ยนให้ กบั หุ้นส่วนด้ วย 3. อินเทอร์ เน็ต ( Internet ) ระบบอินเทอร์ เน็ตสร้ างโอกาสในการสื่อสารด้ วยเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ไร้ พรมแดน และ ไม่เพียงแต่การแลกเปลี่ยนเชื่อมโยงกับหุ้นส่วนเท่านัน้ แต่ยังสามารถโยงแลกเปลี่ยน สินค้ าอุปโภคบริ โภคเกือบทุกชนิด และ ที่เป็ นที่นิยมอย่างมาก คือ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งคาดหวังอย่ าง ยิ่งว่า จะสามารถใช้ โฆษณาประชาสัมพันธ์ได้ อย่างดี นอกจากนี ้ มีการขนส่งผลิตภัณฑ์บางอย่างผ่านระบบ อินเทอร์ เน็ต อุปกรณ์ สาหรับใช้ บริการ EDI 1. Hardware คือ เครื่ องคอมพิวเตอร์ เครื่ องพิมพ์ โมเด็ม และระบบคูส่ ายโทรศัพท์ 2. EDI Software ซึง่ มีซอฟต์แวร์ ประยุกต์สาหรับใช้ ป้อนข้ อมูลประเภทต่าง ๆ ของบริ ษัท หรื อสานักงานของ ผู้ใช้ บริการ โดยมีบริษัท Software House เป็ นผู้ให้ บริการ 3. Translation Software เป็ นซอฟต์แวร์ สาหรั บการแปลงหรื อแปลงข้ อมูลที่ ได้ มาจาก Application Software แล้ วแปลงให้ เป็ นข้ อมูลของ EDI โดยมีบริษัท Solution เป็ นผู้ให้ บริการ 4. Communication Software ซอฟต์แวร์ สาหรับการสื่อสาร เป็ นซอฟต์แวร์ ที่ทาหน้ าที่ในการรับ – ส่ง ข้ อมูล EDI ระหว่างผู้ใช้ งานการสื่อสารแห่งประเทศไทย เป็ นผู้ให้ บริการ Transport Software
วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 36 บทที่ 4 : เทคโนโลยีการผลิต
ในปั จจุบนั อุตสาหกรรมการผลิตได้ ประสบกับ การเปลี่ยนแปลงอันยิ่ง ใหญ่และการแข่งขันที่สูง เนื่อง จากสภาวะแวดล้ อมของธุรกิจที่เปลี่ยนไปตลอดเวลา ตัวอย่างเช่น โลกาภิวฒ ั น์ของกิจกรรมการผลิต เพื่อกระบวนการการผลิตที่เป็ นมิตรต่อสิ่งแวด ล้ อม การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์ตลาดจากราคาน ้ามันที่ สูงขึ ้นทาให้ ผ้ บู ริ โภคต้ องการ รถยนต์ที่มีขนาดเล็กลง นวัตกรรมของเทคโนโลยีการผลิตที่เปลี่ยนแปลงไปสู่ ระดับนาโนเมตร (Nano manufacturing) ดัง นัน้ ระบบการผลิตในอนาคตต้ อ งมี ลักษณะคล่องแคล่ว อัจฉริ ยะ มีการตอบสนองที่รวดเร็ ว ให้ ผลิตภัณฑ์ที่มีคณ ุ ภาพสูง รองรับการผลิตปริ มาณน้ อย ตอบสนอง ความต้ องการเฉพาะราย เกิดการมีส่วนร่วมกับผู้ซื ้อ และตระหนักในสิ่งแวดล้ อม ระบบการผลิตที่สามารถ สนองตอบต่อคุณลักษณะต่างๆที่กล่าวมาแล้ วก็คือ ระบบการผลิตอัจฉริ ยะ (Intelligent Manufacturing Systems: IMS) ซึ่ง มี ก ารศึก ษากัน อย่า งกว้ า งขวาง ระบบการผลิ ต อัจ ฉริ ย ะสามารถที่ จ ะควบคุม และ ตรวจสอบตัวเองได้ เพื่อที่จะสร้ างผลิตภัณฑ์ให้ เป็ นไปตามข้ อกาหนดของการออกแบบซึ่งผลิตภัณฑ์จะ ถูก ผลิตได้ ในสภาวะแวดล้ อมจาลอง ระบบการผลิตอัจฉริ ยะถูกคาดหวังว่าจะเป็ นคาตอบหนึ่งที่จะเอาชนะต่อ อุปสรรคของ อุตสาหกรรมในช่วงศตวรรษที่ 21 เพื่อที่จะจาลองระบบการผลิตที่มีความซับ ซ้ อน วิธีการทางคณิตศาสตร์ ที่หลากหลายโดยเฉพาะ อย่างยิ่งเป็ นที่ร้ ู จกั กันในนามของ เครื่ องมือทางคณิตศาสตร์ สมัยใหม่ (Non-Conventional Mathematical Tools) หรื อ วิธีการคานวณที่อจั ฉริ ยะ (Intelligent Computing Methods) ถูกใช้ กันอย่างกว้ างขวางเช่น โครงข่ายประสาทเทียม (Artificial Neural Network) กรรมวิธีเชิงพันธุกรรม (Genetic Algorithm) ตรรก คลุมเครื อ (Fuzzy Logic) ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) และอื่นๆ ในทางปฏิบตั ิ วิธีการเหล่านี ้ได้ ถกู นามาใช้ ร่วมกันเพื่อใช้ ในกระบวนการวางแผน ออกแบบ ควบคุม และบูรณาการระบบ การประยุกต์ใช้ ที่ กว้ างขวางของวิธีการคานวณที่อจั ฉริยะเหล่านี ้ในการผลิตจะ สนับสนุนการพัฒนาของการจาลองระบบการ ผลิตอย่างมาก และให้ คาตอบใหม่สาหรับการผลิตที่ซบั ซ้ อน
วิษณุ สุวรรณเวียง
บทที่ 5 สรุป และกรณีศึกษา Summarize and Case Study
รายงานเรือ ่ ง ระบบสารสนเทศทางการผลิต วิชา ระบบสารสนเทศทางธุรกิจเบือ ้ งตน ้
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 37 ึ ษา บทที่ 5 : สรุป และกรณีศก
บทที่ 5 สรุ ปและกรณีศึกษา (Summarize and Case Study) ระบบสารสนเทศทางการผลิต ระบบสารสนเทศทางการผลิตถูกพัฒนาขึ ้นเพื่อการสนับสนุนหน้ าที่งานด้ านต่างๆ ทางการผลิต เช่น การออกแบบระบบงาน การดาเนินการผลิต การติดต่อประสารงานกับหน่วยงานอื่น และจะต้ องมี การ ประมวลผลธุรกรรมทางการผลิตเป็ นพืน้ ฐานข้ อมูลของระบบ โดยมุ่งเป้าหมายด้ านการผลิตสินค้ าหรื อ บริ การที่มีคณ ุ ภาพ และสร้ างความพึงพอใจให้ ลกู ค้ าในระยะยาว ทังนี ้ ้จะต้ องขึ ้นอยู่กับสารสนเทศทางการ ผลิตที่ธุรกิจได้ รับทังในเชิ ้ งปฏิบตั ิการและในเชิงบริ หาร ตลอดจนสารสนเทศที่ ได้ จากภายนอกองค์กร คูค่ ้ า เช่น ผู้ขายวัสดุ และผู้ขนส่งวัสดุ ตลอดจนองค์กรคูแ่ ข่งขันของธุรกิจ ในส่วนกระบวนการทางธุรกิจของระบบสารสนเทศทางการผลิต จะประกอบด้ วย 5 ระบบหลัก คือ ระบบออกแบบการผลิต ระบบวางแผนการผลิต ระบบจัดการโลจิสติกส์ ระบบดาเนินการผลิต และระบบ ควบคุมการผลิต ซึ่งการประมวลผลของระบบต่างๆ เหล่านี ้ จาเป็ นต้ องใช้ เทคโนโลยีทางการผลิต อาทิเช่น โปรแกรมสาเร็จรูปทางการผลิต การใช้ ห่นุ ยนต์ การใช้ รหัสแท่ง การใช้ งานอินเทอร์ เน็ต การออกแบบโดยใช้ คอมพิวเตอร์ ชว่ ย การผลิตโดยใช้ คอมพิวเตอร์ ชว่ ย ระบบการผลิตแบบยืดหยุ่น การผลิตแบบผสมผสานด้ วย ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบบูรณาการทางการผลิต และระบบสับเปลี่ยนข้ อมูลอิเลคทรอนิคส์ เป็ นต้ น เพื่อ ช่วยสนับสนุนงานด้ านการนาเสนอสารสนเทศทางการผลิตที่ถกู ต้ อง รวดเร็ว และทันต่อเหตุการณ์
วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 38 ึ ษา บทที่ 5 : สรุป และกรณีศก
กรณีศึกษาระบบสารสนเทศทางการผลิต
ประวัตขิ อง SAP SAP : Systems, Applications Products in Data Processing คือ โปรแกรมที่ช่วยจัดการสาย งานทุกสายงานของธุรกิจให้ สามารถเข้ าถึงข้ อมูลได้ อย่างรวดเร็ ว และได้ ข้อมูลที่ถูกต้ องแม่นยา สามารถ นาไปใช้ ประกอบการดาเนินกิจกรรมของธุรกิจได้ และผู้บริ หารสามารถเรี ยกดูข้อมูลและตรวจสอบข้ อมูล สถานะของบริ ษัทได้ ใน SAP เองมี Modules หลายๆ Modules ที่มีหน้ าที่ทางานแตกต่างกัน แต่สอด ประสานกัน ในแต่ละ Modules จะส่งข้ อมูลที่เกี่ยวเนื่องกัน ถึงกัน โดยไม่ต้องป้อนข้ อมูลซ ้าซ้ อนในแต่ละ Modules และ มีการพัฒนาขึ ้นมาในลักษณะของ Based on Best Practice in Industry กล่าว โดยสรุป SAP (System Application Products) เป็ นโปรแกรมสาเร็ จรู ปทางธุรกิจประเภท ERP (Enterprise Resource Planning) ของประเทศเยอรมันที่ใช้ ควบคุมดูแลทุกสายงานของบริ ษัท SAP ก่อตังที ้ ่ประเทศเยอรมนี เมื่อปี 1972 (พ.ศ. 2515) สานักงานใหญ่อยู่ที่ Walldorf, Germany โดย การรวมตัวกันของอดีตพนักงานบริ ษัท IBM และเจริ ญเติบโตจนกลายเป็ นบริ ษัท software ที่ใหญ่เป็ น อันดับ5ของโลก มีบริ ษัทที่มีการใช้ SAP มากกว่า 6,000 บริ ษัท ใช้ มากกว่า 50 ประเทศ ใช้ มากกว่า 9,000 site มีส่วนแบ่งในตลาด client/server software กว่า 31% มีผ้ ใู ช้ เพิ่ม 50% ต่อปี มียอดขาย SAP R/3 เพิ่มขึ ้น 70% ต่อปี เป้าหมายธุรกิจในเริ่ มแรก เน้ นลูกค้ าที่เป็ นธุรกิจขนาดใหญ่ (Enterprise-scale) แต่ใน ปั จจุบนั ได้ ขยายธุรกิจไปที่ลกู ค้ าขนาดเล็กและขนาดกลาง SAP มีการสร้ างระบบงานทางด้ าน Financial Accounting ที่เป็ นลักษณะ Real-time และ Integrate Software ใน ปี ต่อๆมา SAP ได้ มีการพัฒนาระบบงานเพิ่มทางด้ าน Material Management, Purchasing, Inventory Management และ Inventory Management และ Invoice Verification ในปี 1997 ได้ เ ปลี่ ยนมาใช้ ชื่ อ บริ ษั ทเป็ น System, Anwendungen, Produkte in der Datenverarbeitung (System Applications, Products in data Processing) และได้ ย้ายสานักงานใหญ่ ไปที่เมือง Walldorf จากนัน้ SAPก็ได้ พฒ ั นาระบบงานเพิ่มขึ ้น เช่น Assets Accounting เป็ นต้ น ในปี 1978 SAP ได้ เสนอระบบงานที่เป็ น Enterprise wide Solution ที่ชื่อว่า SAP/R2 ซึ่งทางานอยู่ บนระบบ Mainframe พร้ อมกับเพิ่มระบบงานทางด้ าน Cost Accounting ในปี 1992 SAP ได้ เสนอ ระบบงานที่ทางานภายใต้ Environment ที่เป็ น 3 Tier Client/Server บนระบบ UNIX ที่ชื่อว่า SAP R/3 ในปี พ.ศ. 2532 SAPได้ ตงส ั ้ านักงานใหญ่ประจาภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกที่ประเทศสิงคโปร์ เพื่อ เป็ นการรองรับการขยายตัวทางธุรกิจในเอเชียใต้ และประเทศย่านแปซิฟิก ต่อมาได้ ขยายสาขาในภูมิภาคนี ้ ใน ออสเตรเลีย อินเดีย อินโดนิเชีย มาเลเซีย นิวซีแลนด์ ฟิ ลิปปิ นส์ และประเทศไทย วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 39 ึ ษา บทที่ 5 : สรุป และกรณีศก
กรกฎาคม พ.ศ. 2546 องค์ ก ารโทรศัพ ท์ แ ห่ง ประเทศไทยได้ เ ลื อ กใช้ mySAP Supplier Relationship Management (SRM) เพื่อมาช่วยในการจัดซื ้อจัดจ้ าง และก่อให้ เกิด Supplier network ขึ ้นมา โดยหวังว่าในที่สดุ จะทาให้ มีการจัดซื ้อจัดจ้ างที่รวดเร็ วขึ ้น และลดต้ นทุนในการดาเนินธุรกิจได้ ซึ่งมี ผลต่อ 10 บริษัทที่เป็ นคูค่ ้ าขององค์การโทรศัพท์ SAP คือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ตวั หนึ่ง ที่ทาหน้ าที่จดั การเกี่ยวกับทรัพยากรขององค์เพื่อให้ เกิด ประโยชน์สงู สุด ซึ่ง SAP จัดเป็ น ERP ประเภทหนึ่งนันเอง ้ การทางานในปั จจุบนั จะเป็ น R/3 (ทางานแบบ Client/Server) โดยตัวโปรแกรมหลักนันอยู ้ ท่ ีเครื่ อง Server และให้ Client เข้ ามาใช้ งาน ในส่วน Application ทังหมดของระบบ ้ SAPนัน้ ถูกพัฒนาขึ ้นด้ วยภาษา ABAP หรื อ Advance Business Application Programming (ABAP/4 ซึ่งเป็ นภาษาโปรแกรมในยุคที่ 4 หรื อ 4GL เป็ นคาที่เรี ยก ใน SAP Release 3.0 ส่วนใน SAP Release 4.0 เป็ นต้ นไป จะเรี ยกว่า ABAP เนื่องจากมีการพัฒนาภาษา โปรแกรม ABAP เป็ นแบบObject-Oriented มากขึ ้น) ในส่วนของ Run Time หรื อ Kernel ของ ระบบ SAP นันถู ้ กพัฒนามาจากภาษา C/C++ ในส่วนของการ Implement ระบบ SAP นัน้ จะมีการทา Customization หรื อ Configuration (จริงๆแล้ วก็คือการกาหนดค่า Parameter ต่างๆ) ผ่านทาง Implementation Guide (IMG) เพื่อให้ ระบบงาน SAP ทางานได้ กบั องค์กรนันๆซึ ้ ง่ ก็คือ SAP เป็ น ERP Software Package ที่มีการทางานในส่วนของ Customization ในระบบ SAP ให้ เข้ ากับหน่วยงานนันๆได้ ้ การพัฒนาของ SAP เริ่มต้ นมาจาก - ABAP R/2 ทางานบนระบบ mainframe - R/3 Basis R/3 ทางานในลักษณะ Client /Server - SAP NetWeaver, mySAP Business Suite, SAP xApps ทางานบนระบบ Web Service - Features & Functions of mySAP SCM: Supply Chain Planning and Collaboration - Demand planning and forecasting เพื่อวางแผนทานายปริมาณการใช้ โดยการอาศัย Product lifecycle Safety stock planning เพื่อให้ สินค้ าเหลือค้ างน้ อยที่สดุ - Supply network planning โดยการ Integrate purchasing , manufacturing ,distribution ,transportation plans เพื่อให้ ได้ ภาพรวมที่จะสามารถ simulate, implement และรวมเอา ความสามารถในการ planning และสามารถที่จดั การแบบ multilevel supply Distribution planning เพื่อหาทางที่ดีที่สดุ เพื่อให้ สามารถ จัดการ supply เพื่อให้ เพียงพอแก่ ความต้ องกา - Supply network collaboration เพื่อความร่วมมือระหว่าง supplier เป็ นไปอย่างดี เพื่อให้ partner นันสามารถที ้ ่จะทาการลดปริ มาณ buffer และเพื่อให้ การใช้ ทรัพยากรนันมี ้ ประสิทธิภาพ
วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 40 ึ ษา บทที่ 5 : สรุป และกรณีศก
สถาปั ตยกรรมของ SAP สาหรับ โครงสร้ างทางสถาปั ตยกรรมของระบบ SAP R/3 นัน้ จะประกอบไปด้ วยลาดับชันของบริ ้ การ ต่างๆ หรื อที่เราเรี ยกกันว่า Service โดยเราจะพิจารณาส่วนของบริการต่างๆนี ้ ในรูปแบบทางด้ านซอฟต์แวร์ (Software-oriented Approach) ไม่ใช่ในรูปแบบทางด้ านฮาร์ ดแวร์ ( Hardware-oriented Approach) ซึ่ง SAP R/3 นี ้ จะประกอบไปด้ วยส่วนบริการต่างๆ 3 ส่วนด้ วยกันคือ 1. Presentation Service คือบริ การในส่วนของรูปแบบหน้ าจอ Graphical User Interface หรื อ GUI โดยที่เครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ให้ บริ การงานในส่วนนี ้ เราจะเรี ยกว่าเป็ น Presentation Server สาหรับใน ส่วนของ Presentation Server นี ้จะสามารถทางานได้ ในระบบต่างๆ คือ Windows, Macintosh, OS/2 และ OSF/Motif| 2. Application Service คือบริ การในส่วนของการทางานทางด้ าน Application Logic โดยที่เครื่ อง คอมพิ วเตอร์ ที่ใ ห้ บริ ก ารงานในส่วนนี ้ เราจะเรี ยกว่าเป็ น Application Server ส าหรั บ ในส่ว นของ Application Server นี ้จะสามารถทางานได้ ในระบบต่างๆ คือ UNIX และ Windows NT 3. Database Service คือบริ การในส่วนของการดูแลข้ อมูลในระบบทัง้ หมด ไม่ว่าจะเป็ นการ จัดเก็บข้ อมูล การสารองข้ อมูล และการฟื น้ คืนสภาพของข้ อมูล (Data Recovery) โดยที่เครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ให้ บริ การงานในส่วนนี ้ เราจะเรี ยกว่าเป็ น Database Server สาหรับในส่วนของ Database Server นี ้จะ สามารถที่จะเลือกใช้ ระบบจัดการฐานข้ อมูลต่างๆ คือ Oracle, Informix, DB/2, ADABAS D และ Microsoft SQL Server
รูปที่ 1 ภาพแสดงการเชื่อมต่ อฐานข้ อมูลของ SAP
วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 41 ึ ษา บทที่ 5 : สรุป และกรณีศก
ในส่วนของ Protocol ที่ใช้ ในการติดต่อสื่อสารกันระหว่าง Server ต่างๆนัน้ SAP R/3 จะใช้ TCP/IP เป็ น Protocol หลักในการติดต่อสื่อสารกัน โดยที่ในการติดต่อสื่อสารกันระหว่าง Presentation Server กับ Application Server นัน้ SAP R/3 จะใช้ SAP Presentation Protocol ในลักษณะของ Optimized Protocol ในการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน โดยข้ อมูลที่มีการแลกเปลี่ยนระหว่างกันนี ้จะมีปริ มาณที่ไม่มาก คืออยู่ระหว่าง 1 ถึง 2 กิโลไบต์เท่านัน้ ดังนันในส่ ้ วนของการติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่ อง Presentation Server กับเครื่ อง Application Server นัน้ สามารถที่จะทาการติดต่อสื่อสารโดยผ่านทาง Wide Area Network (WAN) ได้ อย่างสบายๆ โดยอาจจะใช้ สื่อที่เป็ นสายโทรศัพท์ธรรมดาก็ได้ และในส่วนของการ ติดต่อสื่อสารกันระหว่างเครื่ อง Application Server กับเครื่ อง Database Server นัน้ SAP R/3 จะใช้ Remote SQL Protocol ในการแลกเปลี่ยนข้ อมูลระหว่างกัน ซึง่ ข้ อมูลที่มีการแลกเปลี่ยนกันนันจะมี ้ ปริ มาณ ข้ อมูลที่สงู มากเป็ นเมกะไบต์ ดังนันในการติ ้ ดต่อสื่อสารกันระหว่างเครื่ อง Application Server กับเครื่ อง Database Server นี ้ จะต้ องทาการติดต่อสื่อสารกันผ่านทาง Local Area Network (LAN) เท่านัน้
ภาพที่ 2 รูปภาพแสดงการเชื่อมต่ อ Protocol ของ SAP โดยใช้ TCP/IP
วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 42 ึ ษา บทที่ 5 : สรุป และกรณีศก
บุคลากรที่เกี่ยวข้ องในการทา SAP 1. SAP Application Analysts คือ ผู้ใช้ งาน (End user) SAP ที่มีความรู้ทางด้ านการซัพพอร์ ต SAP Modules เช่น MM, PM, PP, FI/CO, SD, PS, HR, IS 2. SAP System Analysts คือ บุคคลที่พฒ ั นา module ต่างๆมาใช้ งาน ได้ แก่ ABAP ผู้เขียนและ พัฒนาโปรแกรมเพื่อนามาใช้ งาน ,BATCH ผู้ควบคุมดูแล Job ในกระบวนการต่างๆ บน ,SAP BASIS ผู้ดแู ลระบบ SAP ให้ ทางานอย่างถูกต้ องและมีประสิทธิภาพ 3. SAP Authorization & Profile Analyst คือ ผู้ที่ทาหน้ าที่เหมือนกับตารวจ ที่คอยดูแลหรื อจัดลาดับ ความสาคัญของ user ที่จะเข้ าใช้ งาน SAP และคอยควบคุมกลไกการทางานใน SAP 4. Data Admin Analyst คือผู้ที่มีความรู้ใน MM, SD module และเรื่ องธุรกิจการขายทังหมด ้ ตังแต่ ้ การจัดการกับ Materials จนถึงการรับ Order และส่งสินค้ าถึงมือลูกค้ า โซลูช่ ันของ SAP การที่สามารถที่จะทาการเป็ นตัวกลางที่จะทาให้ บริษัทต่างๆสามารถที่จะทางานได้ อย่างอัตโนมัติ โดยมี หลักการดังนี ้ - Enterprise Resource Planning เป็ นการทาเพื่อให้ ตวั บริ ษัทเองนัน้ สามารถที่จะทาการลด ค่าใช้ จา่ ย และสามารถทางานเพื่อให้ เกิด Effective and Integration business process - Inter-Enterprise Co-operation เป็ นการทาเพื่อให้ เกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ ้นโดยการรวมมือ ระหว่างบริษัท โดยการทา supply chain Collaborative Business ทัง้ 3 อย่างที่กล่าวมานันสามารถที ้ ่จะทาได้ โดย Internet Revolution (EDI Electronic Data Interchange) โดยการแลกเปลี่ยน BW (Business Warehouse) Service Parts planning ประกอบด้ วย - Parts demand planning เพื่อให้ การทานายนันมี ้ ความรัดกุมมากยิ่งขึ ้น และให้ สินค้ าบาง ตัวที่ทานายยากสามารถทานายได้ แม่นขึ ้น - Parts inventory planning เพื่อให้ minimal inventory , distribute inventory - Parts supply planning เพื่อให้ มีการวางแผนทางด้ านวัตถุดบิ ได้ ถกู ต้ องยิ่งขึ ้น - Parts distribution planning เพื่อให้ reduce stock-out situations and operation cost - Parts monitoring ท างานกับ ข้ อมูล เพื่ อ ให้ ค วามร่ ว มมื อ เป็ นไปอย่ า งสะดวก
วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 43 ึ ษา บทที่ 5 : สรุป และกรณีศก
Application Module หลักๆในระบบ SAP - FI Financial accounting โมดูลทางด้ านบัญชีการเงิน - CO Controlling หรื อโมดูลทางด้ านบัญชีจดั การหรื อบัญชีบริหาร - AM Fixed Assets Management หรื อโมดูลทางด้ านการจัดกาสินทรัพย์ถาวร - SD Sale & Distributions หรื อโมดูลทางด้ านขายและการกระจายสินค้ า - MM Material Management หรื อโมดูลทางด้ านการจัดการวัตถุดิบ - PP Production planning โมดูลทางด้ านการวางแผนการผลิต - QM Quality Management โมดูลทางด้ านการจัดการด้ านคุณภาพ - PM Plant Maintenance โมดูลทางด้ านการซ่อมบารุงโรงงาน - HR Human Resource โมดูลทางด้ านการจัดการทรัพยากรบุคคล - TR Treasury โมดูลทางด้ านการบริ หารการเงิน - WF Workflow โมดูลทางด้ าน Flow ของกระบวนการทางาน IS Industry Solutions คื อส่วนระบบงานธุรกิ จเฉพาะ โดยที ไ่ ม่ใช่โมดูลมาตรฐาน - Project Systems - PS - System Management - BASIS - Advanced Business Application Programming – ABAP - Business Information Warehousing – BIW - Customer Relationship Management - CRM - Advanced Planner Optimizer – APO - Product Lifecycle Management – PLM ลูกค้ าที่สาคัญของ SAP ในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกคือ SingTel, Tata Group of Companies, Siam Cement, Telkom Asia, PT Astra, San Miguel, Uniliver, FAW-Volkswagen, Sony Computer Entertainment, 7-Eleven Stores, General Motors, and Novartis ราคา ราคาจาหน่าย Application หรื อ Solution ต่างๆ ของ SAP นัน้ จะมีการจาหน่ายเป็ นลักษณะ Module หรื อตามลักษณะของหน่วยงานนันๆเลย ้ เช่น ภาคอุตสาหกรรม ก็ใช้ SAP-Production Planning แล้ วก็เลือก Module ตามความจาเป็ นในการใช้ งาน ซึง่ แต่ละ Module จะมีราคาประมาณ 10 ล้ านบาท ยัง ไม่รวมค่า Consult และวางระบบ โดยทัว่ ไปบริษัทที่ทาการติดตัง้ SAP ให้ สามารถใช้ การได้ เต็มที่อย่างน้ อย ต้ องติดตังอย่ ้ างต่า 3-4 Module ขึ ้นไปถึงจะใช้ งานได้ วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 44 ึ ษา บทที่ 5 : สรุป และกรณีศก
รู ปภาพแสดงลักษณะต่ างๆ ของโปรแกรม (SAP Screen Shot)
รูปที่ 3 หน้ าจอแสดงรายการคาสั่งซือ้
รูปที่ 4 หน้ าจอแสดงรายการเข้ า Module ต่ างๆ
วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 45 ึ ษา บทที่ 5 : สรุป และกรณีศก
รูปที่ 5 หน้ าจอแสดงการค้ นหาข้ อมูลต่ างๆ
รูปที่ 6 หน้ าจอแสดงการทางานของ Line การผลิต
วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 46 ึ ษา บทที่ 5 : สรุป และกรณีศก
ภาพแสดงระบบของ SAP Inventory Control and Management Module
วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 47 ึ ษา บทที่ 5 : สรุป และกรณีศก
ภาพแสดงระบบของ SAP Logistic Management Module
วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 48 ึ ษา บทที่ 5 : สรุป และกรณีศก
ภาพแสดงระบบของ SAP Material Requirement Planning : MRP Module
วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 49 ึ ษา บทที่ 5 : สรุป และกรณีศก
ภาพแสดงระบบของ SAP Materials and Resource Management : MRP II Module
วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 50 ึ ษา บทที่ 5 : สรุป และกรณีศก
ภาพแสดงระบบของ SAP Product Life Cycle Management : PLCM Module
วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 51 ึ ษา บทที่ 5 : สรุป และกรณีศก
ตัวอย่ างบริษัทในประเทศไทยที่นา SAP มาประยุกต์ ใช้ ในองค์ กรแล้ วประสบความสาเร็จ
ชื่อบริษัท บริษัท กระเบื ้องหลังคาตราเพชร จากัด (มหาชน) ชื่อย่ อ DRT เลขทะเบียนบริษัท 0107547001041 ประเภทธุรกิจ ประกอบอุตสาหกรรมกระเบื ้องหลังคา แผ่นผนัง ไม้ ฝา และอุปกรณ์ที่เกี่ ยวข้ องกับผลิตภัณฑ์ ต่างๆ รวมทังการให้ ้ บริ การเกี่ยวกับการติดตังกระเบื ้ ้องหลังคา ภายใต้ เครื่ องหมายการค้ า ตราเพชร ตรา หลังคา ตราอดามัส และตราเจียระไน ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญจานวน 1,049,650,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 1.00 บาทต่อหุ้น หุ้นสามัญที่ออกและชาระแล้ วจานวน 1,000,000,000 หุ้น การบริหารจัดการของบริษัท สานักงานตรวจสอบภายในและงานกากับดูแล ทาหน้ าที่ ประเมิ นการควบคุมภายในตามแนว ปฏิ บตั ิที่คณะกรรมการตรวจสอบกาหนด โดยมี นโยบายตรวจสอบในเชิง ป้องกันและเป็ นประโยชน์ กับ หน่วยงาน พิจารณาความน่าเชื่อถือในความถูกต้ องของรายงานทางการเงิน รวมทังการเปิ ้ ดเผยข้ อมูลอย่าง เพี ยงพอให้ เ กิ ดความโปร่ ง ใส ตรวจสอบตามแนวทางการกากับดูแ ลกิ จ การที่ ดี และเพิ่ม ประสิทธิ ภ าพ ประสิทธิผลในการดาเนินงาน โดยยึดแนวการตรวจสอบตามมาตรฐานสากล จากการประเมิ นระบบการควบคุม ภายในของบริ ษัทฯ ในด้ านต่างๆ 5 ส่วน คือ องค์กรและ สภาพแวดล้ อม การบริหารความเสี่ยง การควบคุมการปฏิบตั ิงานของฝ่ ายบริ หาร ระบบสารสนเทศและการ สื่อสารข้ อมูล และระบบติดตาม คณะกรรมการมีความเห็นว่า บริ ษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในสาหรับ เรื่ องการท าธุ รกรรมกับผู้ถือหุ้น รายใหญ่ กรรมการ ผู้บริ หาร หรื อผู้ที่เ กี่ ยวข้ องกับบุคคลดัง กล่าวอย่า ง เพียงพอแล้ ว สาหรับการควบคุมภายในในหัวข้ ออื่นๆ ของระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการเห็นว่า บริษัทฯ มีการควบคุมภายในที่เพียงพอแล้ วเช่นกัน ระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ สรุปได้ ดังนี ้ 1. องค์ กรและสภาพแวดล้ อม บริษัทฯ ได้ จดั โครงสร้ างองค์กรอย่างเหมาะสม และได้ จดั ให้ มีการ กระจายอานาจในการบริหารลงไปตามลาดับชันและหน้ ้ าที่ เพื่อเอื ้ออานวยต่อการปฏิบตั ิงานอย่างคล่องตัว บริ ษัทฯ ได้ ตระหนักถึงความจาเป็ นใน ด้ านการปรับปรุ งระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อพัฒนาระบบงาน และการจัดการให้ มีประสิทธิภาพ จึงได้ ดาเนินการนาระบบ ERP ของโปรแกรมSAP รุ่น ECC6เข้ ามาใช้ แทน ระบบเดิมที่ใช้ อยู่ ทังนี ้ ้ บริ ษัทฯ จะเริ่ มใช้ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ ตังแต่ ้ เดือนมกราคม 2551 ในปี วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 52 ึ ษา บทที่ 5 : สรุป และกรณีศก
2550 บริ ษัทฯ ได้ มีการปรับปรุ งนโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดี เพื่อใช้ เป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิหน้ าที่ ของกรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานทุกคน ให้ มีความชัดเจนสมบูรณ์ และสอดคล้ องกับสถานการณ์ที่เป็ น ปั จจุบนั 2.การบริ หารความเสี่ยง บริ ษัทฯ ได้ จัดให้ มีการวิเคราะห์ประเมินความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ ้นจาก ปั จจัยภายในและภายนอกองค์กรที่มีผลกระทบต่อการดาเนินธุ รกิจ อาทิเช่น ปั จจัยความเสี่ยงเรื่ องการ ควบคุมการใช้ ใยหินจากภาครัฐ ปั จจัยความเสี่ยงด้ านราคาและการขาดแคลนวัตถุดิบหลัก ปั จจัยความ เสี่ยงจากการเพิ่มขึน้ ของต้ นทุนค่าขนส่ง ปั จจัยความเสี่ยงจากการหยุดชะงักของเครื่ องจักร ปั จจัยความ เสี่ยงจากการแข่งขันด้ านราคาสินค้ า รวมทังความเสี ้ ่ยงการบริ หารและการจัดการของผู้ถือหุ้นรายใหญ่และ ความเสี่ ยงด้ านการบริ หารการเงิ น เป็ นต้ น เพื่ อกาหนดมาตรการและแนวทางในการป้องกันและแก้ ไ ข ตลอดจนติดตามเหตุการณ์ต่างๆ ที่มีโอกาสทาให้ เกิดปั จจัยความเสี่ยง และทบทวนถึงประสิทธิ ภาพของ มาตรการในการบริ ห ารความเสี่ ย งที่ ไ ด้ ก าหนดไว้ ทัง้ นี ้ เพื่ อ ให้ ก ารบริ ห ารความเสี่ ย งของบริ ษั ท ฯ มี ประสิทธิภาพ อันเป็ นการลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ ้นกับบริ ษัทฯ โดยการจัดตังคณะกรรมการบริ ้ หารความ เสี่ยงขึ ้นโดยเฉพาะ ซึ่งปั จจุบนั ได้ แต่งตังคณะผู ้ ้ ทางานจากผู้บริ หารระดับผู้จดั การทุกคนรวม 7 คน เป็ น กรรมการและแต่งตังรองกรรมการผู ้ ้ จดั การสายการขายและการตลาดเป็ นประธานกรรมการ รวมทังคณะ ้ 8 คน โดยให้ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมีหน้ าที่และความรับผิดชอบดังนี ้ 1. ทาการศึกษาและวิเคราะห์ภาวะความเสี่ยงต่างๆของแต่ละหน่วยงานที่จะมีผลกระทบต่อการ ดาเนินงานของบริษัทฯ 2. พิจ ารณาหาแนวทางในการติดตาม ป้ องกัน แก้ ไ ข ลดความเสี่ ยงที่ อาจจะเกิ ดขึน้ หรื อ มี โอกาสที่จะเกิดขึ ้นได้ 3. จัดประชุมคณะกรรมการบริ หารความเสี่ยงตามความเหมาะสมกับสถานการณ์ เพื่อติดตาม ผลการแก้ ไขหรื อป้องกัน และประเมินภาวะของความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ ้นอีก 4. รายงานผลการดาเนินงานของคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยงให้ คณะกรรมการจัดการ ทราบ 3. การควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ ายบริ หาร บริ ษัทฯ ได้ กาหนดขอบเขตอานาจหน้ าที่และวงเงิน อนุมัติของฝ่ ายบริ หารในต่างละระดับไว้ อย่างชัดเจน ตลอดจนแบ่งแยกอานาจหน้ าที่ ความรับผิดชอบ ขันตอนการท ้ าธุ รกรรมด้ านการเงิน การจัดซือ้ จัดจ้ าง และด้ านต่างๆ โดยจัดทาไว้ เป็ นระเบียบปฏิบตั ิของ บริ ษัทฯ และแจ้ งให้ พนักงานผู้เกี่ ยวข้ องได้ รับทราบ ทัง้ นี ้ การทาธุรกรรมกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการ ผู้บริหารหรื อผู้เกี่ยวข้ องกับบุคคลดังกล่าว บริ ษัทฯ ได้ ปฏิบตั ิตามประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทยและกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง รวมทังมี ้ มาตรการที่รัดกุมเพื่อติดตามให้ การทาธุรกรรมนันผ่ ้ านตามขันตอน ้
วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง : ระบบสารสนเทศทางการผลิต 53 ึ ษา บทที่ 5 : สรุป และกรณีศก
การอนุมตั ทิ ี่กาหนดไว้ โดยถือเสมือนเป็ นรายการที่กระทากับบุคคลภายนอกโดยคานึงถึงผลประโยชน์สงู สุด ของบริษัทฯ เป็ นสาคัญ 4. ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้ อมูล บริ ษัทฯ ได้ ตระหนักถึงความจาเป็ นในด้ านการปรับปรุ ง ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อพัฒนาระบบงานและการจัดการให้ มีประสิทธิภาพและเชื่อมโยงทังองค์ ้ กร จึงได้ ว่าจ้ าง บริ ษัทที่ปรึกษาให้ เข้ ามาศึกษาและวิเคราะห์ระบบงานต่าง ๆ ของบริ ษัทฯ และประเมินระบบ สารสนเทศที่ใช้ ในปั จจุบนั รวมทังการเสนอแนวทางและคั ้ ดเลือกระบบสารสนเทศ เพื่อการบริ หารจัดการ ทรัพยากรองค์กรที่เหมาะสม ซึ่งได้ ให้ ข้อสรุ ปแนวทางเลือกที่เหมาะสม โดยการปรับปรุ งระบบ เทคโนโลยี สารสนเทศทังหมดสู ้ ่ Enterprise Resources Planning (ERP)เลือกใช้ ระบบซอฟแวร์ (Software) ของ SAP รุ่น ECC6 เข้ ามาใช้ แทนระบบเดิมที่สามารถรองรับความต้ องการของบริ ษัทฯ ได้ ในปั จจุบนั และอนาคต โดย มีฟังชัน่ การทางานใหม่ๆ ทาให้ สามารถพัฒนาการทางานได้ อย่างต่อเนื่องโดยบริ ษัทฯ ได้ เริ่ มใช้ งานระบบ ใหม่ในวันที่ 2 มกราคม2551 5. ระบบติดตาม บริษัทฯ มีการติดตามผลการดาเนินงานเพื่อเปรี ยบเทียบกับแผนงานและงบประมาณ ที่กาหนดไว้ โดยกาหนดให้ รายงานต่อคณะกรรมการบริ ษัทฯ พิจารณาอย่างน้ อยทุก 3 เดือน ในปี 2550 มี การประชุมรวม 12 ครัง้ สาหรับแผนงานและงบประมาณหากมีผลกระทบที่มีสาระสาคัญต่อผลการ ด าเนิ น งานโดยรวม ของบริ ษั ท ฯก าหนดให้ มี ก ารปรั บ ปรุ งแผนงานดัง กล่ า วได้ เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกับ สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป นอกจากนี ้ บริ ษัทฯ ยังมีสานักงานตรวจสอบภายในและงานกากับดูแล ทา หน้ าที่ตรวจสอบและประเมินความถูกต้ องของการดาเนินงานในหน่วยงานต่างๆ เปรี ยบเทียบกับแผนงาน งบประมาณ และระเบียบต่างๆ ที่กาหนดไว้ ผลการตรวจสอบให้ ติดตามการปรับปรุ งแก้ ไขและรายงานต่อ คณะกรรมการตรวจสอบภายใน เวลาที่กาหนด คณะกรรมการตรวจสอบจะรายงานผลการปฏิบตั ิงานให้ คณะกรรมการบริษัทฯ รับทราบทุกไตรมาส โดยคณะกรรมการตรวจสอบมีหน้ าที่สอบทานและให้ ความเห็น ต่อระบบการควบคุมภายใน และรายงานทางการเงิน เพื่อส่งเสริมให้ บริษัทฯ มีระบบควบคุมภายในที่ดี
วิษณุ สุวรรณเวียง
รายงานเรือ ่ ง:ระบบสารสนเทศทางการผลิต Manufacturing Information System
บรรณานุกรม เกียรติศกั ดิ์ จันทร์ แดง.(2549). การบริหารการผลิตและดาเนินการ. กรุงเทพมหานคร: วิตตี ้กรุ๊ป. ฐาปนา บุญหล้ า. (2548). การจัดการซัพพลายเชนสาหรับธุรกิจค้ าปลีก. กรุงเทพมหานคร: ดวงกมลสมัย. นิพนธ์ บัวแก้ ว. (2548). รู้ จักระบบการผลิตแบบลีน(พิมพ์ครัง้ ที่3). กรุงเทพมหานคร:ดวงกมลสมัย. พิชิต สุขเจริญพงษ์. (2537). การจัดการวิศวกรรมการผลิต. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ด ยูเคชัน่ . ริทซ์แมน, แอล. พี. และกราจิวสกี, แอล. เจ. (2548). หลักการจัดการผลิต. (แปลจาก Foundations of operation management โดย ฐิ ตมิ า ไชยะกุล). กรุงเทพมหานคร: พียร์ สนั เอ็ดดูเคชัน่ อินโดไชน่า. รุจิจนั ทร์ พิริยะสงวนพงษ์.(2549). ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ.กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ด ยูเคชัน่ แลมเบิร์ต,ดี.เอ็ม., สต๊ อก, เจ, อาร์ , และเอลแรม, แอล เอ็ม. (2549) การจัดการโซ่ อุปทานและโลจิสติกส์ . (แปลจาก Supply Chain and Logistic management. โดยกมลชนก สุทธิวาทนฤพุฒิ, ศลิษา ภมร สถิต และจักรกฤษณ์ ดวงพัสตรา). กรุงเทพมหานคร: ท๊ อป. สุมน มาลาสิทธิ์. (2548). การจัดการผลิตและดาเนินงาน (พิมพ์ครัง้ ที่ 2). กรุงเทพมหานคร: ศูนย์หนังสือ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิชาระบบสารสนเทศทางธุรกิจเบือ ้ งต ้น Basic Business Information System
102203
D
© Copyright 2552 ห้ามลอกเลียนแบบไม่ว่าส่วนหนึ่งส่วนใดของรายงานเล่มนี้ รายงานเล่มนี้จัดทาขึน้ เพื่อเป็นส่วนหนึง่ ของสื่อการเรียนการสอนประกอบเนือ้ หา วิชา ระบบสารสนเทศทางธุกิจ รหัส 102203 คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น