Autocad 2007 3d Chap-14

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Autocad 2007 3d Chap-14 as PDF for free.

More details

  • Words: 2,438
  • Pages: 14
แบบฝกหัดที่ 3 งานขึ้นรูปชิ้นสวนเครื่องกล II ชิน้ สวนเครือ่ งกลชิน้ ที่ 2 ทีเ่ ราจะทําการขึน้ รูปนัน้ เปน C-Clamp จับชิน้ งานแบบงายๆ ดังรูปที่ 14.1 (ซาย) โดยมีขนั้ ตอนดังตอไปนี้ รูปที่ 14.1

1. ใชคําสั่ง File4Open เปดไฟล 14-383-01-2.dwg จากโฟลเดอร \Exercise บน แผน DVD-ROM แนบทายหนังสือคูม อื ฯ จะปรากฏดังรูปที่ 14.1 (ขวา) Note

เราจะเห็นวามีการเขียนหนาตัดของวัตถุเปนเสนตรงเสนโคง 2 มิติ โดยมีการเขียนหนาตัด 2 มิติของ ชิน้ งานใหขนานกับวิวพอรท Front

2. ทดลองเลือ่ นเคอรเซอรไปคลิกบนเสน 2 มิติตา งๆ เราจะเห็นวาวัตถุ 2 มิติตา งๆ นัน้ เปนเสนตรง Line และเสนโคง Arc ทีแ่ ยกอิสระตอกัน แลวกดปุม D เพื่อยกเลิก การเลือกวัตถุ 3. จากรูปที่ 14.1 (ขวา) สราง Region โดยกอนอืน่ ใหแนใจวาคําสัง่ Tools4Options ในแถบคําสั่ ง 3D Modeling มี ก ารเลื อก Delete profile and path curves ใน แถบรายการ Deletion control while creating 3D objects แลวคลิกบนปุม Apply และ OK ใหแนใจวาเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน แลวคลิก

chap-14.PMD

383

12/10/2549, 21:59

384

วิวพอรท Front (มุมบนซาย) เพื่ อกําหนดใหเปนวิวพอรทใชงาน แลวใชคําสั่ง Draw4Boundary เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Boundary Creation ใหเลือก Region ในแถบรายการ Object type แลวคลิกบนปุม Pick Points แลวคลิกจุดที่ 1 และ 2 แลวคลิกขวา วิวพอรท Front จะปรากฏดังรูปที่ 14.2 (ซาย) วิวพอรท Perspective จะปรากฏดังรูปที่ 14.2 (ขวา)

2D Drafting

รูปที่ 14.2

4. จากรูปที่ 14.2 เพิม่ ความหนาใน 3 มิตใิ หกบั Region โดยใชคําสัง่ Draw4 Modeling เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects to extrude: เลือ่ นเคอรเซอรไปบน 4Extrude Region ตรงจุดที่ 1 เมือ่ Region ปรากฏเปนเสนประ ใหคลิกซาย แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Specify height of extrusion... พิมพคาความลึก 10 แลวกดปุม Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ 5. จากรูปที่ 14.2 คลิกขวา เพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ Draw4Modeling4Extrude เมือ่ ปรากฏ ขอความ Select objects to extrude: เลือ่ นเคอรเซอรไปบน Region ตรงจุดที่ 2 เมือ่ Region ปรากฏเปนเสนประ ใหคลิกซาย แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Specify height of extrusion... พิมพคา ความลึก 38 แลวกดปุม Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ 6. คลิกวิวพอรท Perspective (มุมลางขวา) ปดโหมดแสดงเสนกริด โดยกดปุม ฟงชัน่ คีย & แลวปดโหมดเปอรสเปคทีฟ โดยคลิกบนปุม Parallel Projection บนแดชบอรด รูปที่ 14.3

chap-14.PMD

384

12/10/2549, 21:59

แบบฝกหัดที่ 3 งานขึ้นรูปชิ้นสวนเครื่องกล II

385

แลวคลิกบนปุม เพือ่ ขยายภาพในทุกๆ วิวพอรทและคลิกบนปุม บนทูลบาร 3D Modeling เพือ่ บันทึกวิวพอรทตามลําดับ จะปรากฏดังรูปที่ 14.3 (ซาย) 7. ขยายภาพในวิวพอรทไอโซเมตริกใหปรากฏเต็มพื้นทีว่ าดภาพ โดยคลิกวิวพอรท Isometric (มุมลางขวา) แลวคลิกบนปุม ไอคอน บนทูลบาร 3D Modeling แลว ใชคําสั่ง View4Zoom4Realtime และ View4Pan4Real Time ปรับภาพ ใหปรากฏดังรูปที่ 14.3 (ขวา) 8. จากรูปที่ 14.3 (ขวา) เคลือ่ นยายโซลิด โดยใชคําสัง่ Modify4Move เมือ่ ปรากฏ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 3 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify base point ... เปด # เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 4 เมื่อปรากฏมารคเกอร คลิกซาย เมื่ อปรากฏ Specify second point... เลื่ อนเคอร เซอร ไปยั งจุ ดที่ 5 เมื่ อปรากฏ มารคเกอร คลิกซาย จะปรากฏดังรูปที่ 14.4 (ซาย) รูปที่ 14.4

9. จากรูปที่ 14.4 (ซาย) ลบมุมโคงฟลเลทรัศมี 14 หนวย โดยใชคาํ สัง่ Modify4Fillet # อยูใ นสถานะปด} {ใหแนใจวา Mode= Trim } Select first object or [Undo/Polyline/Radius/Trim/Multiple]: {คลิกเสนขอบจุดที่ 6 } Enter fillet radius: 14 {พิมพคา รัศมี 14 หนวย} Select an edge or [Chain/Radius]: {คลิกเสนขอบจุดที่ 7 } Select an edge or [Chain/Radius]: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q จะปรากฏดังรูปที่ 14.4 (ขวา)} Command: _fillet

{จากรูปที่ 14.4 (ซาย) ใหแนใจวา

Current settings: Mode = TRIM, Radius = 0.0000

10. จากรูปที่ 14.4 (ขวา) ปด ^ ปรับระนาบ XY ใหขนานกับผิวหนา โดยใชคาํ สัง่ Tools4 New UCS4 Face เมื่อปรากฏขอความ Select face of solid object: คลิกบนผิวหนาประมาณจุดที่ 8 เมือ่ ปรากฏขอความ Enter an option [Next/Xflip/Yflip] : ใหพมิ พตวั เลือก X Q เมือ่ ปรากฏ Enter an option [Next/Xflip/Yflip] : ใหพมิ พตวั เลือก Y Q แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 14.5 (ซาย) 11. จากรูปที่ 14.5 (ซาย) เคลือ่ นยายจุดกําเนิด โดยใชคําสัง่ Tools4New UCS4Origin หรือคลิกบนปุมไอคอน บนทูลบาร 3D Modeling เมื่อปรากฏขอความ

chap-14.PMD

385

12/10/2549, 21:59

386

Specify new origin point <0,0,0>: เปด # แลวเลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย จะปรากฏดังรูปที่ 14.5 (ขวา)

2D Drafting

รูปที่ 14.5

12. เปลีย่ นมุมมองกลับไปยังดาน Front โดยใชคําสัง่ View43D Views4Plan View4 Current UCS จะ ปรากฏดังรูปที่ 14.6 (ซาย) Note

เหตุผลที่เราไมใชคําสั่ง View43D Views4Front ก็เพราะวา เราตองการกําหนดจุดกําเนิดของ UCS Icon ใหปรากฏอยูต รงกลางชิน้ งานดังรูปที่ 14.5 (ขวา) หากเราใชคําสัง่ View43D Views4Front จะทําใหจุดกําเนิดที่เราไดกําหนดไวตรงกลางนั้นยายตําแหนงไปอยูที่จุดใดๆ ตามที่โปรแกรม ไดบนั ทึกไว นัน่ หมายความวาจุดกําเนิดของ UCS ที่เราไดปรับแตงในขอ 11 จะถูกยกเลิกโดยอัตโนมัติ ซึ่งเราไมตองการใหเปนเชนนั้น ดังนั้น เราจึงใชคําสั่ง Tools4New UCS4Face ปรับ ระนาบ XY ใหขนานกับดาน Front แลวจึงใชคําสั่ง View43D Views4Plan View4Current UCS เปลี่ยน มุมมองไปแสดงรูปดาน Front แทน รูปที่ 14.6

13. จากรูปที่ 14.6 (ซาย) เปลี่ยนเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน แลวเขียนเสนตรงโพลีไลน โดยใชคําสัง่ Draw4Polyline เมื่อปรากฏขอความ Specify start point: เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย เมื่อปรากฏขอความ Specify next point or ... เปด ) เลื่อนเคอรเซอร ไปยังจุดที่ 3 เมื่อปรากฏเวคเตอร ใหคลิกซาย แลวคลิกขวา จะ ปรากฏดังรูปที่ 14.6 (ขวา)

chap-14.PMD

386

12/10/2549, 21:59

แบบฝกหัดที่ 3 งานขึ้นรูปชิ้นสวนเครื่องกล II Note

387

เราจะตองใชเสนโพลีไลนเทานั้น หากเราใชคําสัง่ LINE โอกาสที่จะทําใหเสนตรงเกิดการหนีแนวใน ระนาบอื่นๆ นั้นคอนขางสูง ซึ่งถาดูจากรูปดาน Front เราจะมองไมเห็น แตถามองจากรูปดานอื่นๆ เราจึงจะมองเห็นจุดบกพรองได แตเสนโพลีไลนนนั้ เมือ่ เราใชออฟเจกทสแนปกับจุดแรกแลว จุดตอๆ ไปจะถูกบังคับใหอยูบ นระนาบเดียวกันกับจุดแรก ดังนัน้ โอกาสทีเ่ สนจะหนีแนวในระนาบอืน่ จึงไมมี

14. จากรูปที่ 14.6 (ขวา) ตัดเสน โดยใชคําสัง่ Modify4Trim เมือ่ ปรากฏขอความ Select cutting edges ... Select objects or <select all>: ใหคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim or ... คลิกบนเสนตางๆ ใหปรากฏดังรูปที่ 14.7 (ซาย) รูปที่ 14.7

15. กําหนดสีใชงาน โดยคลิกบนปุม ไอคอน บนทูลบาร 3D Modeling คางไว แลว คลิกบนปุม ไอคอนสีสม รหัส 40 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects ใหคลิกขวา 16. จากรูปที่ 14.7 (ซาย) เปลี่ยนเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน แลวใชคําสั่ง Draw4Boundary เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Boundary Creation ให เลือก Region ในแถบรายการ Object type แลวคลิกบนปุม Pick Points แลว คลิกจุดที่ 4 และ 5 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 14.7 (ขวา) 17. จากรูปที่ 14.7 (ขวา) แปลง Region ใหเปน 3 มิติดว ยการหมุน โดยใชคําสัง่ Draw4 Modeling4Revolve เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects to revolve: คลิกบน Region ตรงจุดที่ 6 และ 7 Specify axis start point or... เปด # คลิกจุดที่ 8 Specify axis endpoint: คลิกจุดที่ 9 Specify angle of revolution or... คลิกขวา จะ ปรากฏดังรูปที่ 14.8 (ซาย) 18. จากรูปที่ 14.8 (ซาย) เปลีย่ นมุมมองเปนไอโซเมตริก โดยใชคําสัง่ View43D Views 4SE Isometric จะปรากฏดังรูปที่ 14.8 (ขวา) 19. จากรู ปที่ 14.8 (ขวา) สร างรู ปทรงกระบอก โดยใช คําสั่ ง Draw4 Modeling4 Cylinder Command: _cylinder

{จากรูปที่ 14.8 (ขวา) เปด

# ปด ^} {คลิกจุดศูนยกลางของวงกลมตรงจุดที่ 1}

Specify center point of base or [3P/2P/Ttr/Elliptical]:

chap-14.PMD

387

12/10/2549, 21:59

388

6 {พิมพคา 6 Q เพือ่ กําหนดคารัศมี} A {พิมพตวั เลือก A Q} Specify axis endpoint: {คลิกจุดศูนยกลางของวงกลมตรงจุดที่ 2 ทรงกระบอกจะถูกสรางขึน ้} Specify base radius or [Diameter]:

Specify height or [2Point/Axis endpoint] <-305.0000>:

2D Drafting

รูปที่ 14.8

20. จากรูปที่ 14.8 (ขวา) เขียนรูปทรงกลม โดยใชคาํ สัง่ Draw4Modeling4Sphere เมือ่ ปรากฏขอความ Specify center point or [3P/2P/Ttr]: เปด # คลิกจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify radius or [Diameter] <15.0000>: พิมพรศั มี 15 Q คลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ คลิกจุดที่ 2 พิมพรศั มี 15 Q จะปรากฏดังรูปที่ 14.9 (ซาย) รูปที่ 14.9

21. จากรูปที่ 14.9 (ซาย) คัดลอกทรงกระบอกของมือหมุน เพือ่ ใชในการเจาะรู โดยใชคาํ สัง่ Modify4Copy {จากรูปที่ 14.9 (ซาย) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด} {คลิกบนทรงกระบอกจุดที่ 3 } Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ} Specify base point or [Displacement] : {คลิกศูนยกลางของวงกลมตรงจุดที่ 4} Command: _copy Select objects:

chap-14.PMD

388

12/10/2549, 21:59

แบบฝกหัดที่ 3 งานขึ้นรูปชิ้นสวนเครื่องกล II

389

Specify second point or <use first point as displacement>: of {คลิกจุดที่ 4 เพือ ่ แยกคาคอรออรดเิ นท XY ไปเก็บไวใชงาน} (need Z):

.XY {พิมพ .XY Q

{คลิกจุดที่ 5 เพือ่ นําคา Z ของจุดที่ 5 ไปรวมกับคาคอรออรดเิ นท XY ทีไ่ ดเก็บไวใชงาน}

Specify second point or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิก ขวาหรื อกดปุ ม Q จะปรากฏดั งรู ปที่ 14.9 (ขวา)}

Note

ในการใช Point filter นัน้ เราจะตองมองทีแ่ กน X, Y, Z ทีป่ รากฏบน UCS Icon เพื่อทีจ่ ะไดทราบวาเรา จะแยกคอรออรดเิ นทจากแกนหรือระนาบใดไปรวมกับแกนหรือระนาบใด

22. จากรูปที่ 14.9 (ขวา) หักลบรูเจาะ โดยใชคําสัง่ Modify4Solid Editing4Subtract เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract from .. Select objects: คลิกบนโซลิดจุดที่ 6 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกบนโซลิดจุดที่ 7 แลวคลิกขวา 23. จากรูปที่ 14.9 (ขวา) รวมโซลิดมือหมุนใหกลายเปนชิ้ นเดียวกัน โดยใชคําสั่ ง Modify4Solid Editing4Union เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects คลิกโซลิด จุดที่ 8, 9 และ 10 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 14.10 (ซาย) รูปที่ 14.10

24. จากรูปที่ 14.10 (ซาย) เคลื่อนยายมือหมุนไปยังตําแหนงที่ถูกตอง โดยใชคําสั่ง Modify4Move {จากรูปที่ 14.10 (ซาย) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด} {คลิกบนทรงกระบอกจุดที่ 11 } Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ} Specify base point or [Displacement] : {คลิกศูนยกลางของวงกลมตรงจุดที่ 12} Specify second point or <use first point as displacement>: .XY {พิมพ .XY Q of {คลิกจุดที่ 12 เพือ ่ แยกคาคอรออรดเิ นท XY ไปเก็บไวใชงาน} (need Z): {คลิกจุดที่ 13 เพือ่ นําคา Z ของจุดที่ 13 ไปรวมกับคาคอรออรดเิ นท XY ทีไ่ ดเก็บไวใชงาน จะปรากฏดั งรู ป ที่ 14.10 (ขวา)} Command: _move Select objects:

25. ลบเสน 2 มิตติ า งๆ ทัง้ หมดทีม่ ไิ ดใชงานอีกตอไป โดยใชคําสัง่ Tools4Quick Select เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Quick Select คลิกแถบรายการ Object type แลวเลือก Line ใหปรากฏในแถบรายการ เลือก Select All ในแถบรายการ Operator แลวคลิก

chap-14.PMD

389

12/10/2549, 21:59

390

บนปุม OK จะปรากฏจุดกริป๊ สสีน้ําเงินบนเสนตรงไลน 2 มิติทง้ั หมด ใหกดปุม = บนคียบอรด เพือ่ ลบเสนตรง 2 มิติทง้ั หมด

2D Drafting

26. ลบวัตถุ 2 มิตติ อ ไป โดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ Tools4Quick Select ตามวิธใี นขอ 25 แตเปลี่ยนไปเลือก Polyline, Arc, Hatch ตามลําดับ โดยใชคําสัง่ นีอ้ ีก 3 ครัง้

27. จากรูปที่ 14.10 (ขวา) เคลือ่ นยายจุดกําเนิด โดยใชคาํ สัง่ Tools4New UCS4Origin หรือคลิกบนปุม ไอคอน บนทูลบาร 3D Modeling เมือ่ ปรากฏขอความ Specify new origin point <0,0,0>: เปด # ปด ^ แลวเลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 14 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย แลวเปดโหมดแสดงผลแบบเอกซเรย โดยคลิกบนปุม X-ray mode บนแดชบอรด จะปรากฏดังรูปที่ 14.11 (ซาย) รูปที่ 14.11

28. จากรูปที่ 14.11 (ซาย) ตั ดเฉื อนโซลิ ด โดยใช คําสั่ ง Modify43D Operations 4Slice {จากรูปที่ 14.11 (ซาย) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด} {คลิกบนโซลิดตรงจุดที่ 1 เพือ่ เลือกวัตถุทตี่ อ งการตัด} Select objects to slice: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ} Command: _slice

Select objects to slice:

Specify start point of slicing plane or [planar

ZX {ใหพมิ พตวั เลือก ZX แลวกดปุม Q ใหสงั เกตุระนาบตัดจากยูซเี อสไอคอน} Specify a point on the ZX-plane <0,0,0>: {เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย } Specify a point on desired side or [keep Both sides] : {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ ชิน้ งานจะถูกแบงออกเปน 2 สวน }

Object/Surface/Zaxis/View/XY/YZ/ZX/3points] <3points>:

29. จากรูปที่ 14.11 (ซาย) ตั ดเฉื อ นโซลิ ดตอไป โดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ Modify43D Operations4Slice ตามวิ ธีในข อ 28 คลิ กโซลิ ดจุ ดที่ 3 แล วคลิ กขวา เลื อกระนาบ ZX แล วคลิ กจุ ดที่ 4 แล วคลิ กขวา โซลิ ดจะถู กแบ งออกเป น 2 ส วน Note

chap-14.PMD

หลังจากทีแ่ บงโซลิดออกเปน 2 สวนในขอ 28 และขอ 29 แลว เราจะไมเห็นการเปลีย่ นแปลงใดๆ นอก จากเราจะเปดโหมด Selection Preview โดยคลิกใหปรากฏเครื่องหมาย บนเช็คบอกซ When no command is active ในแถบคําสั่ง Selection ของคําสั่ง Tools4Options อยูในสถานะเปดหรืออาจจะ เลือ่ นเคอรเซอรไปคลิกบนวัตถุใหปรากฏจุดกริป๊ สก็สามารถตรวจสอบโซลิดไดเชนเดียวกัน

390

12/10/2549, 21:59

แบบฝกหัดที่ 3 งานขึ้นรูปชิ้นสวนเครื่องกล II

391

30. ปดโหมดแสดงผลเอกซเรย โดยคลิกบนปุม 14.11 (ขวา)

X-ray mode จะปรากฏดังรูปที่

31. จากรูปที่ 14.11 (ขวา) รวมโซลิดใหกลายเปนชิ้นเดียวกัน โดยใชคําสัง่ Modify4 Solid Editing4Union เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects คลิกโซลิดจุดที่ 5, 6 และ 7 แลวคลิกขวา 32. จากรูปที่ 14.11 (ขวา) เปลีย่ นเลเยอรใหกบั โซลิด ในขณะทีบ่ รรทัด Command: ไม ปรากฏคําสัง่ ใดๆ คลิกบนโซลิดตรงจุดที่ 8 และ 9 จนกระทัง่ ปรากฏจุดกริป๊ สบน โซลิดทั้งสอง แลวเลือกเลเยอร จากแถบรายการควบคุม เลเยอร แลวกดปุม D เพือ่ ยกเลิกการเลือก 33. กําหนดใหเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน แลวแชแข็ง(Freeze) เลเยอร “Solid” โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร “Solid” แลวคลิกบนเลเยอร เพื่ อกําหนดใหเปนเลเยอร ใชงาน แล วใชคําสั่ ง View4 Zoom4Realtime ใหปรากฏดังรูปที่ 14.12 (ซาย) รูปที่ 14.12

34. จากรูปที่ 14.12 (ซาย) เปด ^ แลวคลิกบนปุม บนแดชบอรดหรือ กดปุม E และปุม A คางไว แลวเลือ่ นเคอรเซอรไปยังผิวหนาตรงจุดที่ 10 เมือ่ ผิวหนาปรากฏเปนเสนประ ใหคลิกซาย แลวเลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 11 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร ใหคลิกซาย จะปรากฏดังรูปที่ 14.12 (กลาง) 35. จากรูปที่ 14.12 (กลาง) รวมโซลิดใหกลายเปนชิน้ เดียวกัน โดยใชคําสัง่ Modify4 Solid Editing4Union เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects คลิกโซลิดจุดที่ 12 และ 13 เพือ่ เลือกโซลิดแบบ Crossing แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 14.12 (ขวา) 36. เปลี่ยนสีโซลิดใหปรากฏสวางขึ้น โดยในขณะที่บรรทัด Command: ไมปรากฏ คําสัง่ ใดๆ คลิกบนโซลิดตรงจุดที่ 14 เมือ่ ปรากฏจุดกริป๊ สบนโซลิด ใหคลิกขวา แลว เลือกคําสัง่ Properties แลวเลือกสีเหลือง Yellow จากแถบรายการ Color แลวกดปุม D เพื่อยกเลิกการเลือกวัตถุ

chap-14.PMD

391

12/10/2549, 21:59

392

37. เปลีย่ นมุมมองกลับไปยังระนาบ XY ของ UCS ใชงาน โดยใชคําสัง่ View43D Views4Plan View4Current UCS จะปรากฏดังรูปที่ 14.13 (ซาย)

2D Drafting

รูปที่ 14.13

Note

เพือ่ ใหทํางานสะดวกมากขึน้ เราควรปรับมุมมองใหแสดงโซลิดในแนวนอน เพราะโซลิดอยูใ นแนวตัง้ เราจะมีความรูสึกวาทํางานคอนขางลําบาก แตเราจะไมหมุน(Rotate)โซลิดจริงๆ เพราะเราจะตอง เสียเวลาหมุน(Rotate)โซลิดกลับไปยังทิศทางเดิม เราจะใชการหมุน UCS ใหเปนประโยชนดังนี้

38. จากรูปที่ 14.13 (ซาย) สังเกตุวาในขณะนี้ แกน X ของ UCS Icon ชี้ไปทางขวา แกน Y ชีข้ นึ้ ไปในแนวดิง่ เราจะตองหมุนแกน Z ของ UCS เทากับ -90 องศา โดย เมื่อปรากฏขอความ Specify rotation angle ใชคําสั่ง Tools4New UCS4Z about Z axis <90>: พิมพคามุม -90 Q จะปรากฏดังรูปที่ 14.13 (กลาง) 39. เปลีย่ นมุมมองกลับไปยังระนาบ XY ของ UCS ใชงาน โดยใชคําสัง่ View43D Views4Plan View4Current UCS เปดโหมดแสดงผลแบบเอกซเรย โดยคลิกบนปุม X-ray mode บนแดชบอรดจะปรากฏดังรูปที่ 14.13 (ขวา) 40. คลิกขวาบนปุม บนบรรทัดแสดงสถานะ เลือกมุม 45 องศาในแถบรายการ Increment angle คลิกบนปุ มเรดิโอ Track using all polar angle settings แลว คลิกแถบคําสัง่ Object Snap คลิกใหปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Quadrant แลวคลิกบนปุม OK เพือ่ ออกจากไดอะล็อค 41. จากรูปที่ 14.13 (ขวา) เขียนเสนโพลีไลน โดยใชคําสัง่ Draw4Polyline {จากรูปที่ 14.13 (ขวา) เปด # ปด ^ เปด ) เปด _} Specify start point: 5 {เลือ ่ นเคอรเซอรไปบนจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 2 แลวพิมพ 5 Q จะปรากฏเสนตรงจุดที่ 2}

Command: _pline

Current line-width is 0.0000 Specify next point or [Arc/Halfwidth/Length/Undo/Width]:

เคอรเซอรกลับไปตัดกันตรงจุดที่ 4 แลวคลิกซาย}

{เลือ่ นเคอรเซอรไปบนจุดที่ 3 เลือ่ น

Specify next point or [Arc/Close/Halfwidth/Length/Undo/Width]: 5

5 แลวพิมพ 5 Q จะปรากฏเสนตรงจุดที่ 5}

Specify next point or [Arc/Close/Halfwidth/Length/Undo/Width]:

เลือ่ น เคอรเซอรกลับไปตัดกันตรงจุดที่ 7 แลวคลิกซาย}

{เลือ่ นเคอรเซอรไปบนจุดที่ 6

Specify next point or [Arc/Close/Halfwidth/Length/Undo/Width]: C

ปด จะปรากฏดังรูปที่ 14.14 (ซาย)}

chap-14.PMD

392

{เลือ่ นเคอรเซอรไปตรงจุดที่

{พิมพ C เพือ่ เขียนรูปแบบ

12/10/2549, 21:59

แบบฝกหัดที่ 3 งานขึ้นรูปชิ้นสวนเครื่องกล II

393

รูปที่ 14.14

42. คลิกขวาบนปุม บนบรรทัดแสดงสถานะ เลือกมุม 90 องศาในแถบรายการ Increment angle คลิกบนปุมเรดิโอ Track orthogonally only แลวคลิกแถบคําสั่ง Object Snap คลิกเพือ่ ปลดเครื่องหมาย ออกจากเช็คบอกซ Quadrant แลวคลิก บนปุม OK เพือ่ ออกจากไดอะล็อค 43. จากรูปที่ 14.14 (ซาย) แปลงเสนโพลีไลนใหเปน 3 มิตดิ วยการหมุน โดยใชคําสัง่ Draw4Modeling4Revolve เมื่อปรากฏขอความ Select objects to revolve: คลิกบนเสนโพลีไลนตรงจุดที่ 8 Specify axis start point or... เปด # คลิกจุดที่ 9 Specify axis endpoint: คลิกจุดที่ 10 Specify angle of revolution or... คลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 14.14 (ขวา) 44. จากรูปที่ 14.14 (ขวา) หักลบโซลิด โดยใชคาํ สัง่ Modify4Solid Editing4Subtract เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract from .. Select objects: คลิก บนโซลิดจุดที่ 11 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกบนโซลิดจุดที่ 12 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 14.15 (ซาย) รูปที่ 14.15

45. จากรูปที่ 14.15 (ซาย) ขยายภาพ โดยใชคําสั่ง View4Zoom4Window คลิกจุดที่ 13 และ 14 จะปรากฏดังรูปที่ 14.15 (ขวา) Note

chap-14.PMD

แลว

ใน AutoCAD 2007 ถึงแมวาจะมีคําสัง่ Helix และคําสัง่ Sweep แตความสามารถในการสรางเกลียวจริง นัน้ ทําไดไมดเี ทาทีค่ วร เนือ่ งจากโปรแกรมยังไมสมบูรณยงั ตองรอการแกไข แตถงึ แมวา โปรแกรมจะ สมบูรณแลวก็ตาม เราก็ไมควรที่ จะสรางเกลียวจริงใน AutoCAD เนื่ องจากโปรแกรมจะทํางาน ดวยประสิทธิภาพต่ําหากมีจํานวนรอบ(Turn)เกลียวมากๆ แตถา หากจําเปนตองสรางเกลียวแบบ Helix จริง ควรหลีกเลีย่ งการจะใชโปรแกรม AutoCAD ควรเปลีย่ นไปใช Autodesk Inventor หรือ Solidworks แลวจึงนําโมเดลมาใชงานกับ AutoCAD ได โปรแกรมดังกลาวจะสามารถสรางเกลียวไดรวดเร็วกวา ดังนัน้ ในแบบฝกหัดนี้ เราจะสรางเกลียวแบบ Revolve ซึง่ ไมใชเกลียวแบบ Helix แตดเู ผินๆ แลวจะไม สามารถแยกแยะได โดยมีขั้นตอนดังตอไปนี้

393

12/10/2549, 21:59

394

46. ใชคําสั่ง File4Open เปดไฟล 14-394-16-1.dwg จากโฟลเดอร \Exercise บน แผน DVD-ROM แนบทายหนังสือคูม อื ฯ จะปรากฏดังรูปที่ 14.16 (ซาย)

2D Drafting

รูปที่ 14.16

47. จากรูปที่ 14.16 (ซาย) คัดลอกหนาตัดเกลียว โดยใชคําสั่ง Edit4Copy with Base Point เมือ่ ปรากฏขอความ Specify base point: เปด # คลิกจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: คลิกจุดที่ 2 แลวคลิกขวา แลวใชคําสัง่ File4Close คลิกบนปุม No เพือ่ กลับไปยังไฟลทเี่ รากําลังทํางานคางอยู 48. จากรูปที่ 14.15 (ขวา) สอดแทรกหนาตัดเกลียว โดยใชคาํ สัง่ Edit4Paste เมือ่ ปรากฏ ขอความ Specify insertion point: กดปุม S คางไว แลวคลิกขวา เลือกออฟเจกทสแนป (Quadrant) แลวคลิกจุดที่ 15 จะปรากฏดังรูปที่ 14.16 (ขวา) 49. จากรูปที่ 14.16 (ขวา) คัดลอกเกลียวแบบอะเรย โดยใชคาํ สัง่ Modify4Array เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Array เลือกปุม เรดิโอ Rectangular Array กําหนด Row = 1, Column = 40, Row offset = 1, Column offset = 2.4294 แลวคลิกบนปุม Select objects คลิกบน หนาตัดเกลียวจุดที่ 3 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Array คลิกบนปุม Preview เมือ่ ปรากฏถูกตอง คลิกบนปุม Accept จะปรากฏดังรูปที่ 14.17 รูปที่ 14.17

50. จากรูปที่ 14.17 ลบเกลียว 2 ชิน้ แรกทิง้ ไป โดยใชคาํ สัง่ Modify4Erase ปรากฏ ขอความ Select objects คลิกเกลียวจุดที่ 4 และ 5 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 14.18 รูปที่ 14.18

chap-14.PMD

394

12/10/2549, 21:59

แบบฝกหัดที่ 3 งานขึ้นรูปชิ้นสวนเครื่องกล II

395

51. จากรูปที่ 14.18 แปลง Region ใหเปน 3 มิติดวยการหมุน โดยใชคําสั่ง Draw4 Modeling4Revolve เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects to revolve: คลิกบน Region ตรงจุดที่ 6 และ 7 Specify axis start point or... เปด # คลิกจุดที่ 8 Specify axis endpoint: คลิกจุดที่ 9 Specify angle of revolution or... คลิกขวา จะ ปรากฏดังรูปที่ 14.19 รูปที่ 14.19

52. จากรูปที่ 14.19 หักลบโซลิด โดยใชคาํ สัง่ Modify4Solid Editing4Subtract เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract from .. Select objects: คลิก บนโซลิดจุดที่ 10 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกจุดที่ 11 และ 12 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Window แลวคลิกขวา จะ ปรากฏดังรูปที่ 14.20 รูปที่ 14.20

53. เปลีย่ นมุมมองเปนไอโซเมตริก โดยใชคําสัง่ View43D Views4SE Isometric แลวปรับระนาบ UCS กลับไปที่ WCS โดยใชคําสัง่ Tools4New UCS4World ปดโหมดแสดงผลแบบเอกซเรย โดยคลิกบนปุม X-ray mode บนแดชบอรด จะปรากฏดังรูปที่ 14.21 (ซาย) รูปที่ 14.21

chap-14.PMD

395

12/10/2549, 21:59

396

54. จากรูปที่ 14.21 (ซาย) คัดลอกเกลียว เพือ่ ใชเจาะรู โดยใชคาํ สัง่ Modify4Copy

2D Drafting

{จากรูปที่ 14.21 (ซาย) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด} {คลิกบนเกลียวจุดที่ 13 } Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ} Specify base point or [Displacement] : {คลิกศูนยกลางตรงจุดที่ 13} Specify second point or <use first point as displacement>: @ {พิมพ @ Q เพือ ่ คัดลอก วัตถุเพือ่ วางไวในตําแหนงเดิม ซึง่ จะทําใหมเี กลียววางซอนกัน 2 ชิน้ } Specify second point or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิ กขวาหรื อกดปุ ม Q เราจะไม เห็ นการเปลี่ ย นแปลงใดๆ} Command: _copy Select objects:

55. จากรูปที่ 14.21 (ซาย) หักลบเกลียว โดยใชคาํ สัง่ Modify4Solid Editing4Subtract เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract from .. Select objects: คลิก บนโซลิดจุดที่ 14 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกจุดที่13 แลวคลิกขวา จะปรากฏเกลียวในภายในทรงกระบอก แตเรา จะไมเห็นการเปลีย่ นแปลงใดๆ จนกวาจะมีการเคลือ่ นยายเกลียวออกไปจากตําแหนงเดิม 56. ทดลองเคลือ่ นยายเกลียวออกไปวางขางๆ ชิน้ งาน โดยใชคําสัง่ Modify4Move จะปรากฏดังรูปที่ 14.21 (ขวา)

เปนอันวาเราไดทําแบบฝกหัดงานขึน้ รูปชิน้ สวนเครือ่ งกล II เสร็จเรียบรอยแลว ในแบบฝกหัดตอไป เราจะเขียนชิ้นสวนเครื่องกล III ***********************************

chap-14.PMD

396

12/10/2549, 21:59

Related Documents

3d Autocad 2007
June 2020 7
Autocad 2007 3d Chap-15
November 2019 10
Autocad 2007 3d Chap-03
November 2019 12
Autocad 2007 3d Chap-16
November 2019 7
Autocad 2007 3d Chap-12
November 2019 4
Autocad 2007 3d Chap-04
November 2019 5