Autocad 2007 3d Chap-12

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Autocad 2007 3d Chap-12 as PDF for free.

More details

  • Words: 23,561
  • Pages: 126
ตอนที่ 2 แบบฝกหัดงานเขียนแบบ 3 มิติ จุดประสงคของตอนที่ 2 n

เพื่อใหผูเริ่มตนใชโปรแกรมเขาใจและสามารถนําคําสั่งตางๆ ที่ไดศึกษามาแลวจากตอนที่ 1 สามารถนํามาประยุกตใชงานตามสถานการณตา งๆ ไดอยางถูกตอง

n

เพื่อใหผูเริม่ ตนสามารถฝกทักษะและทําตามขั้นตอนในการเขียนแบบแปลน 3 มิติในงานจริง

n

เพือ่ ใหผอู านรูจ กั เทคนิคการใชคําสัง่ ตางๆ และสามารถนําตัวอยางในแบบฝกหัดไปประยุกตใช ในงานเขียนแบบแปลน 3 มิติไดอยางมีประสิทธิภาพ

ตอนที่ 2 มีทงั้ หมด 5 บท เปนแบบฝกหัดสําหรับฝกการขึน้ รูปวัตถุ 3 มิตสิ าํ หรับงานเครื่องกลและสถาปตยกรรม ซึง่ มีตงั้ แตชนิ้ งานพืน้ ฐานไปจนถึงชิน้ งานทีม่ คี วามซับซอนปานกลาง อยางไรก็ตาม ไมวา ผูอ า นจะนํา AutoCAD 2007 ไปใชในงานประเภทใดก็ตามและไมวา งานนั้นจะเปนงานเครื่องกลหรืองานสถาปตยกรรมหรือไม ผูอานก็ควรจะ ตองฝกฝนการขึน้ รูปวัตถุ 3 มิตใิ นแบบฝกหัดทัง้ หมด เพราะถาหากเราสามารถขึน้ รูปชิน้ งานทัง้ สองประเภทนีไ้ ดแลว เราก็สามารถทีจ่ ะใช AutoCAD ขึ้นรูปวัตถุ 3 มิติในงานประเภทอืน่ ๆ ไดโดยงาย นอกจากนี้ในแบบฝกหัดทัง้ หมด ผูเ ขียนไดสอดแทรกเทคนิคการใชคาํ สัง่ ตางๆ ในการขึน้ รูปวัตถุ 3 มิติ ซึง่ ไมสามารถนําเสนอไวในตอนที่ 1 ดังนัน้ ผูอ า น จึงควรทีจ่ ะทําแบบฝกหัดทัง้ หมดไมวา ตัวอยางใน แบบฝกหัดจะเกีย่ วของกับประเภทของงาน 3 มิตขิ องตนเองหรือไม หากผูอ า นสามารถทําแบบฝกหัด ในตอนที่ 2 ทัง้ หมดดวยตนเอง ผูอ า นจะสามารถนําเทคนิคตางๆ ไปประยุกตใชใน งานทุกประเภทได สําหรับตอนที่ 2 ของหนังสือคูม อื เลมนี้ ผูอ า นจะตองมีการใชไฟลแบบฝกหัด .dwg จากแผน DVD-ROM แนบหนังสือ คูม ือเลมนีค้ วบคูกบั การอานหนังสือคูม อื ไปดวยอยูเสมอๆ ในขณะทีเ่ ราอยูใน AutoCAD 2007 เราสามารถใชคําสัง่ File4Open เปดไฟลแบบฝกหัด .dwg จากโฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM แนบหนังสือคูม อื ฯ ซึง่ มีการ ตัง้ ชือ่ ไฟลแบบฝกหัด .dwg โดยใชรหัสดังตอไปนี้

12-246-01-1.dwg

chap-12-1.PMD

245

12

หมายถึ ง

บทที่ 12

246

หมายถึ ง

หนาที่ 246

01

หมายถึ ง

รูปที่ 1

1

หมายถึ ง

รูปยอยที่ 1

12/10/2549, 21:49

เมือ่ ทราบรหัสของไฟลแบบฝกหัดทีถ่ กู บันทึกในโฟลเดอร \Exercise ในแผน DVD-ROM แนบทายหนังสือคูม อื เลมนีแ้ ลว หากเราอานหนังสือไปถึงหนาใดทีม่ กี ารอธิบายวิธกี ารใชคําสัง่ ตางๆ และตองการทําตามแบบฝกหัดนัน้ เราก็สามารถ เปดไฟลแบบฝกหัดที่อยูใ นหนานัน้ ออกมาใชงานได โดยดูจากหมายเลขบท หมายเลขหนาและลําดับรูปที่มีอยูใน หนังสือหนานัน้ และดูจากรหัสของชือ่ ไฟลแบบฝกหัด อีกประการหนึง่ รูปบางรูปทีป่ รากฏในหนังสือคูม อื เลมนีอ้ าจจะ ไมมไี ฟลแบบฝกหัดประกอบ ทั้งนี้ขนึ้ อยูกับความจําเปนในการใชแบบฝกหัดนัน้ ดวย อนึง่ ไมวา เราจะตองการนํา AutoCAD 2007 ไปใชในสาขาวิชาใดๆ เราก็ควรทีจ่ ะทดลองทําตามแบบฝกหัดในงานเขียนแบบประเภทตางๆ ทัง้ หมด ในหนังสือเลมนีเ้ พือ่ นําแนวทางและเทคนิคตางๆ ทีส่ อดแทรกอยูใ นแตละแบบฝกหัดไปประยุกตใชในงานของตนเอง ไดอยางถูกตอง

รูปถายจากสถานที่จริง

chap-12-1.PMD

246

12/10/2549, 21:49

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม การใช AutoCAD เปนเครื่องมือในการสรางภาพ 3 มิติในงานสถาปตยกรรม ไมวาจะเปนภาพนิ่ง เปอรสเปคทีฟ(Perspective)แบบเหมือนจริงหรือภาพเคลื่อนไหวแบบเดินเขาไปในบานหรืออาคาร (Walk-through animation)ยังคงไดรบั ความนิยมอยางตอเนือ่ ง ตราบใดทีซ่ อฟทแวรเฉพาะทางสําหรับ งานสรางภาพ 3 มิตใิ นงานสถาปตยกรรม อาทิ เชน Autodesk Architectural Desktop, Autodesk Revit และอืน่ ๆ ยังคงใชงานยากเกินกวาทีเ่ ราจะสามารถศึกษาการใชโปรแกรมไดในระยะเวลาอันสัน้ เพือ่ ที่ จะนํา ไปใช งานจริ งได อย า งเต็ ม รู ปแบบ ดั งนั้ น ผู ใช โปรแกรมจึ งยั งคงใช AutoCAD ในงาน สถาปตยกรรมตอไป เนือ่ งจากความคุน เคยของผูใ ชโปรแกรมทีม่ อี ยูก บั คําสัง่ ตางๆ ใน 2 มิติ ประกอบ กับคําสั่ง 3 มิตทิ ม่ี อี ยูใ น AutoCAD สามารถเรียนรูไ ดงา ยและมีจาํ นวนคําสัง่ ไมมากนัก จึงทําใหผใู ช โปรแกรมสามารถศึกษาวิธีการใชโปรแกรมไดอยางรวดเร็วในระยะเวลาอันสั้น เพื่อที่จะสามารถ ทํางานจริงไดอยางมีประสิทธิภาพ

chap-12-1.PMD

Note

ถึงแมวาซอฟทแวรที่ไดยกตัวอยางมาขางตนนั้นจะใชงานงายกวา AutoCAD ในเบื้องตน แตถาหาก เราไดศึกษาอยางละเอียดในเชิงลึกแลว เราจะตองใชเวลาเปนอยางมาก เนือ่ งจากซอฟทแวรดังกลาวมี คําสั่งใหเลือกใชงานจํานวนมาก แตละคําสั่งสามารถสรางวัตถุสําเร็จรูปไดอยางรวดเร็ว แตก็มวี ิธีการ ใชงานทีแ่ ตกตางกันตามวัตถุที่จะสราง จึงทําใหผูใชโปรแกรมสวนมากเลือกที่จะใช AutoCAD

Note

จุดประสงคในการสรางโมเดล 3 มิตใิ นงานสถาปตยกรรมแบงออกเปน 2 สวนคือสวนที่ 1 คือการสราง ภาพนิง่ เปอรสเปคทีฟของบานหรืออาคารแบบเหมือนจริง สวนที่ 2 คือการสรางภาพแอนนิเมชัน่ จําลอง การเคลื่อนไหวของมุมกลองไปรอบๆ หรือเดินกลองเขาไปภายในบานหรืออาคารอยางตอเนื่อง ใน AutoCAD 2007 เราสามารถสรางภาพนิง่ เปอรสเปคทีฟแบบเหมือนจริงของบานหรืออาคารหรือสราง ภาพเคลื่ อนไหวแอนนิเมชั่ นแบบ Walk-Through ใหสําเร็จไดในสภาพแวดลอมของ AutoCAD เพียงอยางเดียว โดยไมตอ งพึง่ พาซอฟทแวรคอมพิวเตอรอนื่ ๆ อาทิ เชน 3DSMAXดังเชนในรีลีสกอนๆ

Note

เหตุผลที่เรานิยมใช AutoCAD เปนเครื่องมือในการสรางภาพ 3 มิตใิ นงานสถาปตยกรรมเปนเพราะวา AutoCAD มีความละเอียดและความแมนยําสูงและยังมีเครื่องมือที่อํานวยความสะดวกในการสราง โมเดล 3 มิติซึ่งชวยใหการสรางโมเดล 3 มิติเปนไปดวยความรวดเร็วและมีความละเอียดเที่ยงตรง อยางสูง

247

12/10/2549, 21:49

248

Note

ในหนังสือ AutoCAD R14 : 3D Modeling ผูเขียนไดแสดงขั้นตอนการสรางโมเดล 3 มิติของบาน ทาวนเฮาสหลังหนึ่งอยางละเอียดและในหนังสือ AutoCAD 2000 : 3D Modeling ผูเขียนไดเคยแสดง ขัน้ ตอนการสรางโมเดล 3 มิตขิ องบานเดี่ยวแบบหนึง่ อยางละเอียดไปแลว ดังนัน้ ในหนังสือคูม อื เลมนี้ เราจะมาลองสรางโมเดล 3 มิติของบานเดี่ยวอีกแบบหนึ่งดังรูปที่ 12.1 กอนที่เราจะเริ่มสรางโมเดล ของบานเดี่ยวหลังนี้เราควรทีจ่ ะทําความเขาใจกับหลักการสรางโมเดลในงานสถาปตยกรรมเสียกอน โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

2D Drafting

ในการสรางโมเดลบาน ทาวนเฮาส อาคารพาณิชยหรืออาคารสูงแบบ 3 มิติ เราจะตองพิจารณาแบบ แปลนอย างละเอี ยดและรอบคอบ เพราะถ าหากเราไม ได ว างแผนหรื ออ านแบบแปลนให เป นที่ เขาใจเปนอยางดีแลว หากเกิดการผิดพลาด ถึงแมวาเราจะสามารถแกไขได แตจะตองเสียเวลาเปน อยางมาก เพราะแกไขวัตถุ 3 มิตชิ นิ้ หนึง่ อาจจะมีผลกระทบกับวัตถุ 3 มิตอิ ีกหลายๆ ชิน้ ได ซึง่ เราก็จะ ตองตามไปแกไขปรับแตงดวยตนเอง AutoCAD มิไดแกไขใหเราโดยอัตโนมัติ รูปที่ 12.1

ในการสรางโมเดลสถาปตยกรรม สิ่งแรกที่เราควรจะตองทราบคือจํานวนวัตถุ 3 มิติที่จะเปนสวน ประกอบของโมเดลนั้นมีจํานวนมากนอยเพียงใดและวัตถุ 3 มิติแตละชิ้นมีความซับซอนมากนอย ขนาดไหน เพราะจํานวนและความซับซอนของวัตถุ 3 มิตจิ ะเปนตัวจํากัดความเร็วในการทํางานของ CPU และหนวยความจํา RAM และยังเปนตัวกําหนดขนาดไฟลทบี่ นั ทึกลงในฮารดดิสคอกี ดวย ดังนัน้ ในการขึ้นรูปโมเดลดวยโซลิด เราจะตองพยายามจํากัดความหนาแนนของโครงลวดบนวัตถุ 3 มิติให นอยที่ สุดเทาที่จะเปนไปไดถึงแม วาเราจะมี CPU ที่ เร็วที่ สุดและหนวยความจําที่ มากที่ สุดก็ตาม หากมีโซลิด 3 มิติทม่ี รี ูปทรงและขนาดเทากันจํานวนมากๆ เราควรจะแปลงโซลิดเหลานัน้ ใหเปน บล็อคหรือเอกซเรฟ แลวสอดแทรกบล็อคโซลิดหรือเอกซเรฟไปยังตําแหนงตางๆ จะชวยลดขนาด ไฟลใหเล็ กลงได โดยมีขนาดไฟล แตกตางจากไฟล .dwg ตนฉบับเพียงเล็กน อยเทานั้น ถึงแมวา

chap-12-1.PMD

248

12/10/2549, 21:49

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

249

จะมีวตั ถุทซี่ า้ํ กันจํานวนมากก็ตาม ตัวอยาง เชน หากเราตองการสรางภาพเคลือ่ นไหวของโครงการบาน จัดสรรโครงการหนึ่งซึ่งมีแบบบานซ้ํากันจํานวนหลายรอยหลัง เราจะใชวธิ ีการสรางบานเพียงหลัง เดียวเทานัน้ และบันทึกลงในไฟล .dwg แลวสรางไฟลแบบแปลนใหม โดยทําการสอดแทรกไฟล .dwg ดังกลาวเปนเอกซเรฟ โดยใชคําสัง่ Insert4DWG Reference ไปวางในตําแหนงตางๆ ในโครงการ ถึ งแม วาเราจะสามารถใช เอกซ เรฟช วยในการลดขนาดไฟลได แต จํานวนบานหลายร อยหลังใน โครงการก็ไมสามารถทีจ่ ะใชเอกซเรฟเพียงอยางเดียวจัดการได เราจะตองสรางบานหลังหนึง่ ขึน้ มา 2 เวอรชนั่ เวอรชนั่ ทีอ่ ยูใ กลมมุ กลองจะตองมีสว นประกอบตางๆ ทัง้ หมดครบถวน แลวบันทึกเวอรชนั่ แรกลงไฟล .dwg สวนอีกเวอรชนั่ หนึง่ อยูใ นระยะไกลมุมกลอง เราก็ใชบา นหลังเดียวกันนัน้ ทีท่ ําเสร็จ เรียบรอยแลว นํามาลดระดับความละเอียด (Level of details)โดยอาจจะลบสวนประกอบที่ไมจาํ เปน ของบานทิง้ ทัง้ หมด ซึง่ อาจจะเหลือเพียงผนังบานกับหลังคาบานก็เพียงพอแลว แลวจึงสอดแทรกไฟล .dwg ทัง้ สองแบบเอกซเรฟไปยังตําแหนงตางๆ นอกจากนี้ เราควรจะแบงโครงการออกเปนโซน เพราะ เราไมสามารถนําบานทั้งโครงการมาเก็บไวในไฟลแบบแปลนเดียวได โดยอาจจะตองแบงออกเปน โซนละ 10-20 หลัง บานเวอรชนั่ ทีม่ รี ายละเอียดครบถวนอาจจะมีเพียงสองถึงสามหลังเทานัน้ สวนบาน ที่เหลือจะเปนเวอรชั่นที่มีความละเอียดไมครบถวน เราจึงจะสามารถจัดการสรางภาพนิ่งหรือภาพ เคลื่อนไหวได Note

หากภายในแบบแปลนมีวตั ถุจํานวนมาก เราตองมี CPU และการดแสดงผลทีม่ ีความเร็วสูง นอกจากนี้ หนวยความจํา RAM ก็จะตองมีมากพอที่จะเก็บวัตถุจํานวนมากอีกดวย

Note

วัตถุที่มีความซับซอนในที่นี้หมายถึงวัตถุ 3 มิติที่มีสวนโคงสวนเวาจํานวนมาก มีผิวหนา(Face)ที่มี ความหนาแนนสูง

อีกสิง่ หนึง่ ทีเ่ ราจะตองทราบแนชดั ก็คอื จุดประสงคในการสรางโมเดล เราจะสรางโมเดลเพือ่ ใชในการ สรางภาพนิ่งเปอรสเปคทีฟหรือสรางภาพเคลือ่ นไหวแอนนิเมชั่น เนื่องจากการทราบจุดประสงคที่ แนนอน จะชวยใหเราหลีกเลีย่ งหรือละเวนการขึน้ รูปโมเดลวัตถุบางชิน้ ทีจ่ ะไมปรากฏในมุมกลองได หากเราตองการสรางโมเดล 3 มิติ เพือ่ นําไปสรางภาพนิง่ เปอรสเปคทีฟภายนอกบานหรือนอกอาคาร เราก็ไมจําเปนที่จะตองเขียนรายละเอียดของสวนประกอบที่อยูภายในและสวนประกอบที่อยูดาน หลัง อาทิ เชน หนาตาง ประตู ผนังและอืน่ ๆ ทีอ่ ยูด า นหลัง เพราะวาภาพเปอรสเปคทีฟสวนใหญจะ ฉายไปยังดานหนา ดานขางหรือฉายจากระดับสูงลงมายังตัวบาน(Bird eyes view) ซึง่ วิธนี จี้ ะชวยลด ความสิน้ เปลืองเนือ้ ทีใ่ นการจัดเก็บและชวยลดเวลาในการขึน้ รูปวัตถุไดอยางมากแทนทีจ่ ะขึน้ รูปบานหรือ อาคารทัง้ หลัง นอกจากนี้ หากมีวตั ถุทซี่ บั ซอนอยูใ นตําแหนงทีไ่ กลจากมุมกลองมาก จนปรากฏมีขนาด เล็กไมชดั เจน เราก็ควรทีจ่ ะลดความละเอียดในการขึน้ รูปหรือเขียนวัตถุนนั้ ใหมรี ปู ทรงเปนสันเหลีย่ ม แทนรูปทรงที่มีพื้นผิวโคงเวาหรือหันไปใชรูปภาพสแกนเขามาแม็ป(Map)ไวแทนที่ ตัวอยาง เชน หากเราจะสรางภาพนิง่ เปอรสเปคทีฟ 3 มิตแิ บบเหมือนจริงของบานหลังหนึง่ โดยตองการมุมกลอง อยูน อกบานทัง้ 2 ตัว กลองตัวหนึง่ อยูใ นทิศทาง South West(ตะวันตกเฉียงใต) กลองอีกตัวหนึง่ อยูใ นทิศ ทาง South East (ตะวันออกเฉียงใต) กลองทัง้ สองพุง เปาหมายไปยังหนาบาน เมือ่ เราทราบตําแหนงที่

chap-12-1.PMD

249

12/10/2549, 21:49

250

แนนอนของมุมกลองแลว เราก็สามารถเลือกที่จะไมเขียนรายละเอียดของสวนตางๆ ทีไ่ มจาํ เปนภาย ในบานและหลังบานได อาทิ เชน เสา คาน บันได ผนังกัน้ หอง ผนังหลังบาน หนาตางประตูหลังบาน เปนตน ดวยวิธีนี้เราไมตองเสียเวลาไปกับสิง่ ที่จะไมปรากฏในมุมกลองและยังทําใหการเรนเดอรใช เวลานอยลงอีกดวย

2D Drafting

หากเราตองการสรางโมเดล 3 มิติ เพือ่ นําไปสรางภาพเคลือ่ นไหวแอนนิเมชัน่ เราควรจะตองทราบวา มุมกลองจะผานตําแหนงและหันไปในทิศทางใดบาง เพือ่ ทีเ่ ราจะไดหลีกเลีย่ งหรือละเวนการขึ้นรูป รายละเอียดของสวนประกอบตางๆ ทีไ่ มปรากฏในมุมกลอง เชนเดียวกันกับการสรางภาพนิง่ หากมี วัตถุทซี่ บั ซอนอยูใ นตําแหนงไกลจากมุมกลองมาก เราก็ควรทีจ่ ะลดความละเอียดในการขึน้ รูปหรือ เขียนวัตถุนนั้ ใหเปนรูปรางคราวๆ หรือใชรปู ภาพสแกนเขามาแทนทีไ่ ดเชนเดียวกัน แตถา มุมกลอง ผานวัตถุที่มคี วามซับซอนในระยะใกลๆ เราก็คงจะตองรักษาความละเอียดของการขึน้ รูปวัตถุ 3 มิติ ไวเชนนั้น นอกจากนี้ เราจะตองควบคุมจํานวนผิวหนา(Face)ของวัตถุ 3 มิติใหนอยที่สุดเทาที่จะ เปนไปได หากจํานวนผิวหนา(Face)มากจะทําใหการเรนเดอรยาวนาน อาทิ เชน ถาในฉากของเรา มีแทงกลมทีส่ รางดวยวิธี Surface Modeling เราควรกําหนดจํานวนเซกเมนตของแทงกลมใหนอ ยทีส่ ดุ ซึ่งอาจจะใชเพียง 8 เซกเมนต ในกรณีทแี่ ทงกลมอยูใกลกับมุมกลองมาก เราก็ควรทีจ่ ะเพิ่มจํานวน เซกเมนตใหกับแทงกลม เพื่อใหแทงกลมมีพื้ นผิว(Surface)ที่ราบเรียบ ในกรณีที่แทงกลมอยูไกล มุมกลองมาก เราอาจใชเซกเมนต 6 เหลีย่ มหรือ 4 เหลีย่ มในการสรางแทงกลมได แลวใชแมททีเรียล ชวยในการสรางวัตถุแบบผิวเรียบ เมื่อทําการเรนเดอร เราจะมองไมเห็นสันของรูปเหลี่ยมที่ใชแทน หนาตัดของแทงกลม ดวยวิธนี จี้ าํ นวนผิวหนา(Face)และขนาดไฟลจะลดลงอยางมาก ซึง่ สามารถใชได ทัง้ ภาพนิง่ และภาพเคลือ่ นไหวแบบเหมือนจริง อยางไรก็ตาม การลดจํานวนผิวหนาดวยวิธนี สี้ ามารถ ใชกบั การขึน้ รูปวัตถุดว ยวิธี Surface Modeling เทานัน้ ไมสามารถนําไปใช กับวิธี Solid Modiling เพราะ โซลิดใชตัวแปรระบบ FACETRES ควบคุมความหนาแนนของผิวหนา รูปที่ 12.2

chap-12-1.PMD

250

12/10/2549, 21:50

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

251

ในแบบฝกหัดนี้ เราจะสรางภาพนิง่ เปอรสเปคทีฟ 3 มิตแิ บบเหมือนจริงของบานเดีย่ วดังรูปโครงลวดที่ 12.2 โดยใชวิธกี ารขึน้ รูปแบบ Solid Modeling เนือ่ งจากวิธนี เี้ ปนวิธีขนึ้ รูปที่สะดวกและรวดเร็วกวา แตถา หากมีความจําเปนทีต่ อ งขึน้ รูปวัตถุ 3 มิตทิ ม่ี รี ปู ทรงทีโ่ คงเวา ซึง่ วิธี Solid Modeling สามารถทําได แตอาจจะตองใชคําสัง่ LOFT เขามาชวยในบางกรณี จากรูปที่ 12.2 เปนรูปโครงลวดของบานเดีย่ วของภาพเรนเดอรในรูปที่ 12.1 ซึง่ เราจะเห็นวามีเสนโครง ลวดอยูจ าํ นวนมาก ซึง่ คอนขางยากลําบากในการแยกวัตถุแตละประเภทออกจากกัน ดังนัน้ เราจึงควร ใชเลเยอรในการจัดเก็บวัตถุ 3 มิติแตละประเภท เชน ประตู หนาตาง กระจก วงกบ พื้นชัน้ บน พืน้ ชัน้ ลาง ผนังดานหนา ผนังดานหลัง หลังคา เสา เปนตน การสรางวัตถุแยกเก็บไวในแตละเลเยอรจะมี ประโยชนอยางมากตอการควบคุมการปรากฏของวัตถุ 3 มิติแตละประเภทบนจอภาพและชวยลด ความซับซอนไดอกี ดวย ขัน้ ตอนการขึน้ รูปโมเดลบานเดีย่ ว Note

กอนที่จะทําแบบฝกหัดนี้ เราจะตองแนใจวาไดมีการปรับแตงสภาพแวดลอมให Windows XP และ AutoCAD 2007 และไดมกี ารติดตัง้ ทูลาร 3D Modeling ใน AutoCAD 2007 ตามทีไ่ ดอธิบายไวในบทที่ 2 มาแลว หากเราไดทําการปรับแตงสภาพแวดลอมมาแลว เราสามารถลงมือทําแบบฝกหัดนี้ไดทันที

Note

ลองใชคําสัง่ Tools4Drafting Settings เพือ่ ตรวจสอบใหแนใจวาโหมดออฟเจกทสแนปทีก่ ําหนด ไวบนไดอะล็อค Drafting Settings มีโหมดที่กําหนดไวลวงหนา 5 โหมดคือ Endpoint, Midpoint, Center, Intersection, Extension หรือไม ถาขาดโหมดใด ใหเลือกโหมดนั้นเพิ่มใหครบถวน

Note

ใหแนใจวาบนบรรทัดแสดงสถานะ OSNAP, OTRACK, POLAR อยูในสถานะเปด

Note

ในแบบฝกหัดนี้เราไมจําเปนตองเขียนหนาตัด 2 มิติของเสาและผนังดวยตนเอง เพื่อประหยัดเวลาใน การเขียนหนาตัด 2 มิติ หากตองการศึกษาวิธีการเขียนวัตถุ 2 มิติ สามารถอานไดจากหนังสือคูมือ AutoCAD 2006 : 2D Drafting, ISBN:974-93946-2-3

Note

สมมุตวิ า เรายังไมทราบวัตถุประสงคในการสรางโมเดลบานเดีย่ วในแบบฝกหัดนีว้ าจะนําโมเดลไปใช ในงานสรางภาพนิง่ เปอรเปคทีฟหรือสรางภาพเคลือ่ นไหวแอนนิเมชัน่ ดังนัน้ เราจะสรางสวนประกอบ ทั้งหมดของบานทั้งดานหนา ภายในบาน ดานขางบานและหลังบานอยางละเอียด

เปดไฟล 12-252-03.dwg จากโฟลเดอร \Exercise บน 1. ใชคําสั่ง File4Open แผน DVD-ROM แนบทายหนังสือคูม อื ฯ จะปรากฏภาพฉาย 2 มิติดา นบนของพืน้ ชัน้ ลางและพืน้ ชัน้ บนซอนกัน 2. เรียกคืนสถานะของเลเยอร(Layer states)ทีเ่ กีย่ วของกับพืน้ ชัน้ ลางทัง้ หมดซึง่ ไดถกู บันทึกไวออกมาใชงาน โดยใชคําสั่ง Format4Layer จะปรากฏไดอะล็อค Layer Properties Manager คลิกบนปุมไอคอน Layer States Manager จะ ปรากฏไดอะล็อค Layer States Manager ใหคลิกบนชือ่ สถานะเลเยอร “พืน้ ชัน้ ลาง” ที่ ปรากฏในช องหน าต าง Layer states แล ว คลิ กปุ ม Restore เมื่ อกลั บไปยั ง

chap-12-1.PMD

251

12/10/2549, 21:50

252

ไดอะล็อค Layer Properties Manager คลิกบนปุม Apply และ OK ตามลําดับจะ ปรากฏเฉพาะเลเยอรทเี่ กีย่ วของกับพืน้ ชัน้ ลางดังรูปที่ 12.3 (ซาย)

2D Drafting

รูปที่ 12.3

Note

วัตถุทกุ ชิน้ ทีอ่ ยูใ นไฟลแบบแปลน 12-252-03.dwg เปนวัตถุ 2 มิตอิ ยูใ นระนาบ XY หรือบนระนาบพืน้ ดิน (Ground)ทีม่ รี ะดับความสูง(คา Z)มีคา เปน 0 (ศูนย) สังเกตุวา แบบแปลนมีการกําหนดพืน้ ทีใ่ ชสอยตาม ระดับความสูงที่แตกตางกันออกไป ดังนั้น เราจะตองสรางพื้นที่โซลิดที่มีความสูงแตกตางกันตาม ความสูงที่ระบุ

Note

จากรูปที่ 12.3 (ขวา-บน) เราจะสังเกตุเห็นวาในไฟลแบบแปลน 12-252-03.dwg มีการตัง้ ชือ่ เลเยอรเปน ภาษาไทย หากเราตองการนําโมเดล 3 มิตไิ ปใชในโปรแกรมคอมพิวเตอรอนื่ ๆ เราไมควรตั้งชือ่ เลเยอร และวัตถุที่มีการตั้งชือ่ อื่นๆ เปนภาษาไทย เนื่องจากในการแปลงไฟลไปใชยังโปรแกรมคอมพิวเตอร อื่นๆ มักจะพบวาภาษาไทยจะไมสามารถอานออกไดในซอฟทแวรคอมพิวเตอรอื่นๆ อยางไรก็ตาม เราตองการทีจ่ ะสรางภาพนิง่ และภาพเคลือ่ นไหวแบบเหมือนจริงใหสําเร็จใน AutoCAD โดยจะไมนํา โมเดล 3 มิติไปใชกับซอฟทแวรอื่นๆ ดังนั้น เราจึงจะสามารถใชชื่อวัตถุเปนภาษาไทยได

3. จากรูปที่ 12.3 (ซาย) เริม่ สรางพืน้ ชัน้ ลางใหมคี วามหนาใน 3 มิตติ ามระดับความสูง ตางๆ กัน โดยกอนอืน่ กําหนดเลเยอรใชงานเปนเลเยอร “พืน้ ชัน้ ลาง” โดยเลือก เลเยอร “พื้นชัน้ ลาง” จากแถบรายการควบคุมเลเยอร Note

chap-12-1.PMD

เนื่องจากขอบเขตของพื้นที่ใชสอยตางๆ ที่ปรากฏในรูปที่ 12.3 (ซาย) แตละขอบเขตมิไดเปนพื้นที่ แบบปด ดังนั้น เราจึงยังไมสามารถทีจ่ ะใชคําสัง่ Draw4Modeling4Extrude เพือ่ เพิม่ ความหนา ใน 3 มิติใหกับพื้นที่ตางๆ ทั้งหมดได ดังนั้น เราจึงจะตองสรางพื้นที่แบบปดจากพื้นที่ใชสอยตางๆ ทั้งหมดใหเปนเสน Polyline หรือเปน Region เสียกอน แตในที่นี้ ควรจะเลือกสราง Region เนื่องจาก Region นัน้ เปนวัตถุ 2 มิตทิ บึ ตันทีพ่ รอมใชในการสรางเปนวัตถุ 3 มิติ แตเสน Polyline แบบปดทีม่ สี ว น ตัดกันหรือทับกันไมสามารถแปลงใหเปนโซลิด 3 มิตไิ ด

252

12/10/2549, 21:50

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม Note

รูปที่ 12.4

chap-12-1.PMD

253

หากเรานําแบบแปลน 2 มิติมาใชงานเพื่อสรางวัตถุ 3 มิติ เราจะตองจัดการแชแข็ง(Freeze)เลเยอรที่ ไมจําเปนในการใชงาน อาทิ เชน เลเยอรสัญลักษณหนาตาง ประตู ลวดลายแฮทชผนังและเลเยอร สัญลักษณอื่นๆ เปนตน โดยควบคุมหรือแกไขปรับแตงใหเสนตางๆ วิ่งไปบรรจบหรือชนกันจริง เราจะตองแนใจวาไมมีพื้นที่แบบเปดหลงเหลืออยู แมจะเปนชองวางเล็กๆ ก็ตาม

4. จากรูปที่ 12.2 (ซาย) สราง Region จากขอบเขตของพืน้ ทีใ่ ชสอยแบบปด โดยใช คําสั่ง Draw4Boundary เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Boundary Creation ใหคลิกเพือ่ ออกจาก ปลดเครื่ องหมาย เช็ ค บอกซ Island detection แล ว เลื อก Region ให ป รากฏในแถบ รายการ Object type แลวคลิกบนปุม Pick point เมือ่ ปรากฏขอความ Pick internal point: คลิกบนพืน้ ทีว่ า ง ณ จุดใดๆ ภายในขอบเขตของพืน้ ที่ ใชสอยตรงจุดที่ 1, 2, 3 และจุดที่ 4 จะปรากฏดังรูปที่ 12.4 แลวคลิกขวา จะปรากฏข อความ BOUNDARY created 4 regions แสดงใหทราบวา Region ถูกสรางขึน้ มาทัง้ หมด 4 ชิน้ ซึ่ง Region ทั้งหมดจะอยูในเลเยอร

Note

บางกรณี เมือ่ เราคลิกขอบเขตของพืน้ ทีใ่ ชสอยบางขอบเขตจะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.3 (ขวา-กลาง) แสดงขอความเตือน Point is outside of boundary บอกใหเราทราบวาจุดทีเ่ ราคลิกนั้นอยูน อกขอบเขต แบบปด ทั้งๆ ที่เราแนใจวา เราไดคลิกภายในขอบเขตแบบปด ใหคลิกบนปุม Look at it จะปรากฏ ไดอะล็อคดังรูปที่ 12.3 (ขวา-ลาง) ใหคลิกบนปุม OK เมือ่ ปรากฏขอความ Pick internal point: ใหคลิกบน ณ จุดใดๆ ภายในขอบเขตอีกครั้ง

Note

ทดลองเลือ่ นเคอรเซอรไปบนเสนขอบเขตของพืน้ ทีใ่ ชสอยตางๆ ทัง้ 4 ชิน้ ใหแนใจวาขอบเขตแบบปด ทัง้ หมดปรากฏเปนเสนประ หากขอบเขตทั้งหมดปรากฏเปนเสนประแบบปด แสดงวา เราพรอมทีจ่ ะ แปลง Region ทั้งหมดใหกลายเปนวัตถุ 3 มิติ

Note

ในบางกรณี เมื่อเราใชคําสั่ง Draw4Boundary สราง Region แตโปรแกรมไดสราง Polyline ขึ้น มาแทนและไมสามารถใชคําสั่ง Draw4Modeling4Extrude กับเสนโพลีไลนนั้นได แสดงวา ขอบเขตแบบปดนัน้ มีปญ  หา ซึง่ อาจจะไมใชขอบเขตแบบปดจริง อาจจะมีชอ งวางเล็กๆ ทีเ่ ล็กเกินกวาที่ จะมองเห็นได เราจะตองใชคําสัง่ ZOOM เพือ่ ตรวจสอบรอยตอตางๆ วาเสนตางๆ นัน้ ชนกันจนเกิดเปน พื้นที่แบบปดหรือไม เมือ่ พบชองวางแลว เราจะตองแกไขใหถูกตอง อีกกรณีหนึ่ง อาจจะเกิดจากการ ตัดกัน(Self intersect)ของพืน้ ที่ เราอาจจะตองยายตําแหนงของเสนตางๆ หรืออาจจะขยับขยายชวงทีจ่ ะ ทําใหเกิดการตัดกันของพืน้ ที่ที่จะสราง Region เสียกอน โปรแกรมจึงจะสามารถสราง Region ได

253

12/10/2549, 21:50

254

5. บนทูลบาร 3D Modeling คลิกบนปุม ไอคอน เพือ่ เปลีย่ นจอภาพเปน 4 วิวพอรท ขนาดเทาๆ กัน แลวคลิกวิวพอรท Perspective (มุมขวาลาง) เพื่อกําหนดใหเปน วิวพอรทใชงาน คลิกบนปุม ไอคอน เพือ่ ขยายวิวพอรท Perspective ใหปรากฏ มีขนาดใหญเต็มพืน้ ทีว่ าดภาพ แลวคลิกบนปุม ไอคอน Parallel Projection บน 3D Navigate control panel บนแดชบอร ด เพื่ อเปลี่ ยนโหมดวิ ว พอร ท จาก เปอรสเปคทีฟใหเปนแบบออรโธกราฟฟกหรือแบบขนาน แลวคลิกบนปุม ไอคอน เพือ่ ขยายวัตถุทั้งหมดใหปรากฏเต็มพืน้ ที่วาดภาพ จะปรากฏดังรูปที่ 12.5

2D Drafting

รูปที่ 12.5

Note

วิวพอรทโหมดเปอรสเปคทีฟ(Perspective) จะทําใหการใชคําสัง่ ZOOM ตางๆ ไมมคี วามแมนยํา ดังนัน้ เราจึงควรเปลี่ยนเปนโหมดขนาน(Parallel)

เปนเลเยอรใชงาน 6. จากรูปที่ 12.5 ใหแนใจวาเลเยอร แลวเริม่ เพิม่ ความหนาใน 3 มิติใหกบั พืน้ ทีห่ องน้ํา 0.5 เมตร โดยใชคําสัง่ Draw4 Modeling4Extrude Command: _extrude

{จากรูปที่ 12.5 }

Current wire frame density: ISOLINES=4

{เลือ่ นเคอรเซอรไปบนขอบเขตของพืน้ ทีห่ อ งน้าํ ประมาณจุดที่ 1 เมือ่ Region ของหองน้าํ ปรากฏเปนเสนประ ใหคลิกซาย} Select objects to extrude: {คลิกขวาหรือQ} Specify height of extrusion or [Direction/Path/Taper angle]: 0.5 {กําหนดความสูงของพืน ้ ที่ หองน้าํ เทากับ 0.5 เมตร แลวกดปุม Q Region ทีถ่ กู เลือกจะถูกแปลงเปนโซลิดทีม่ คี วามหนา 0.5 เมตร} Select objects to extrude: 1 found

7. จากรูปที่ 12.5 เพิม่ ความหนาใน 3 มิติใหกบั พืน้ ทีห่ องน้ํา 0.45 เมตร ตามวิธใี นขอ 6 โดยคลิกขวา เพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ Extrude แลวเลือก Region ประมาณจุดที่ 2 แลวกําหนด ความหนา 0.45 เมตร 8. จากรูปที่ 12.5 เพิม่ ความหนาใน 3 มิติใหกบั พืน้ ทีห่ องน้ํา 0.40 เมตร ตามวิธใี นขอ 6 โดยคลิกขวา เพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ Extrude แลวเลือก Region ประมาณจุดที่ 3 แลวกําหนด ความหนา 0.40 เมตร

chap-12-1.PMD

254

12/10/2549, 21:50

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

255

9. จากรูปที่ 12.5 เพิม่ ความหนาใน 3 มิตใิ หกบั พืน้ ทีห่ อ งรับแขก 0.5 เมตร ตามวิธใี นขอ 6 โดยคลิกขวา เพื่อทําซ้ําคําสัง่ Extrude แลวเลือก Region ประมาณจุดที่ 4 แลว กําหนดความหนา 0.5 เมตร จะปรากฏดังรูปที่ 12.6 10. จากรูปที่ 12.5 (ซาย) ใหแนใจวาเลเยอร เปนเลเยอร ใชงาน รวมโซลิดพืน้ ทัง้ 4 ชิน้ ใหกลาย เปนชิน้ เดียวกัน โดยใชคําสั่ง Modify4 Solid Editing4Union เมื่อปรากฏ ขอความ Select objects คลิกจุดที่ 5 และ 6 เพื่ อเลื อกวั ต ถุ แบบ Crossing เมื่ อ ปรากฏขอความ Select objects ใหคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ โซลิดทัง้ 4 จะถูก รวมเปนชิน้ เดียวกัน

รูปที่ 12.6

เราจะเห็นวาในขอ 10 มีการเลือกวัตถุแบบ Crossing ซึง่ เราจะเห็นวามีเสนโพลีไลนหนาตัดเสาบางเสน ถูกเลือกไปดวย ถึงแมวา เสนโพลีไลนจะถูกเลือกไปดวย แตเสนโพลีไลนจะไมถกู รวมเขากับโซลิดดวย เนื่องจากเสนโพลีไลนเปนวัตถุ 2 มิติไมไดเปน Region จึงไมสามารถรวมเปนชิ้นเดียวกับโซลิดได

Note

11. บนแถบรายการควบคุมเลเยอร แชแข็ง(Freeze) เลเยอร โดยคลิ กบนไอคอน ของเลเยอร “ตั วอั กษรกํากั บพื้ น ชั้ นล าง” แช แข็ งเลเยอร ต อไป โดยคลิ กบนไอคอน ของเลเยอร “พืน้ ชั้นลาง” และแชแข็งเลเยอรตอไปโดยคลิก บนไอคอน ของเลเยอร “เสาชั้นลาง” แลว คลิ กบนชื่ อเลเยอร “เสาชั้ นล างชั้ นบน” เพื่ อ กําหนดใหเปนเลเยอรใชงาน

รูปที่ 12.7

Note

เหตุผลที่เราแยกเลเยอรเสาออกเปน “เสาชั้นบน” “เสาชั้นลาง” และ “เสาชั้นบนชั้นลาง” ก็เพราะวา บางหลังนี้ เสาชัน้ บนและชัน้ ลางมีตาํ แหนงไมตรงกันบางสวน เสาบางตนสูงแคระดับคานพืน้ ชัน้ ลาง เสาบางตนวางอยูบนคานของพื้นชั้นบน เสาบางตนสูงจากพื้นดินถึงหลังคา เปนตน ดังนัน้ เราจึงแยก เลเยอร เพื่อสะดวกในการควบคุมการปรากฏ หากเราสรางเลเยอรเสาไวเลเยอรเดียว เสาทั้งหมดจะ ปรากฏพรอมๆ กัน ทําใหเกิดความยากลําบากในการเลือก เพราะเสาแตละชุดจุดเริ่มตนและมีความสูง แตกตางกัน

เป นเลเยอร 12. จากรู ปที่ 12.7 ให แน ใ จว าเลเยอร ใชงาน แลวเพิม่ ความหนาใน 3 มิตใิ หกับเสาทัง้ หมดทีอ่ ยูใ นเลเยอรนใี้ หมคี วามสูง เทากับ 6.3 เมตร โดยใชคําสั่ง Draw4Modeling4Extrude ตามวิธีในขอ 6 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects to extrude: คลิกจุดที่ 7 และ 8 เพือ่ เลือกหนาตัดเสา

chap-12-1.PMD

255

12/10/2549, 21:50

256

ทัง้ หมดแบบ Crossing แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Specify height of extrusion ... พิมพ คาความสูง 6.3 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.8 (ซาย)

2D Drafting

รูปที่ 12.8

13. บนแถบรายการควบคุมเลเยอร ละลาย(Thaw)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของ เลเยอร “เสาชั้นลาง” แลวคลิกบนชื่อเลเยอร “เสาชั้นลาง” เพื่อกําหนดใหเปน เลเยอรใชงาน จะปรากฏหนาตัดเสาซึง่ อยูใ นเลเยอร “เสาชัน้ ลาง” ดังรูปที่ 12.8 (ขวา) Note

เหตุทเี่ ราตองเปลีย่ นเลเยอรใชงานเปนเลเยอร “เสาชัน้ ลาง” กอนทีจ่ ะ Extrude ใหมคี วามสูงก็เพราะวาเรา ไมตอ งการ ใหโซลิดยายไปอยูใ นเลเยอรอนื่ เพราะหากเลเยอรใดเปนเลเยอรใชงาน เมือ่ ทําการ Extrude โซลิดจะยายไปอยูใ นเลเยอรที่ปรากฏในแถบรายการควบคุมเลเยอร ซึ่งเราไมตอ งการใหเปนเชนนั้น

เป นเลเยอร 14. จากรูปที่ 12.8 (ขวา) ใหแน ใจวาเลเยอร ใชงาน แลวเพิม่ ความหนาใน 3 มิตใิ หกบั หนาตัดเสาทัง้ 4 ชิ้นอยูใ นเลเยอรนใี้ หมี ความสูงเทากับ 3.7 เมตร โดยใชคําสั่ง Draw4Modeling4Extrude ตามวิธใี น ขอ 6 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects to extrude: คลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ เลือกหนา ตัดเสาทัง้ หมดแบบ Crossing แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Specify height of extrusion ... พิมพคา ความสูง 3.7 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.9 (ซาย) รูปที่ 12.9

chap-12-1.PMD

256

12/10/2549, 21:50

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

257

15. บนแถบรายการควบคุมเลเยอร ละลาย(Thaw)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของ เลเยอร “รัว้ -เสา” , “รัว้ -ขอบเขต” , “พืน้ ชัน้ ลาง” , “พืน้ นอกบาน” แลวคลิกบนชือ่ เลเยอร “พื้นนอกบาน” เพือ่ กําหนดใหเปนเลเยอรใชงาน 16. เปลีย่ น Visual Style จากเดิม Realistic ใหเปน Conceptual โดยคลิกบนปุม ไอคอน Wireframe Visual Style บนทูลบาร 3D Modeling คางไว จะปรากฏ Flyout ของทูลบารดงั รูปที่ 12.9 (ขวา) ใหคลิกบนปุม ไอคอน Conceptual Style เราจะ สามารถมองเห็นวัตถุไดชัดเจนยิง่ ขึน้ ดังรูปที่ 12.10 รูปที่ 12.10

รูปที่ 12.11

Note

chap-12-1.PMD

เปน 17. จากรูปที่ 12.10 สรางพืน้ นอกบาน โดยใหแนใจวา เลเยอรใชงาน แลวใชคําสัง่ Draw4Boundary เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Boundary Creation ใหคลิกเพื่อปลดเครื่องหมาย ออกจากเช็คบอกซ Island detection แลวเลือก Region ในแถบรายการ Object type คลิกปุม Pick point เมือ่ ปรากฏขอความ Pick internal point: คลิกบนพืน้ ทีว่ า งตรงจุดที่ 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12 และจุดที่ 13 แลวคลิกขวา จะปรากฏขอความ BOUNDARY created 11 regions แสดงใหทราบวา Region ถูกสรางขึน้ มาทัง้ หมด 11 ชิน้ ในขณะที่กําหนดจุด Pick internal point ตรงจุดใดๆ แลวปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.11 รายงานวา ไมพบขอบเขตแบบปดทีส่ ามารถใชงานได เราสามารถแกไขได โดยเปลีย่ นไปคลิกตําแหนงอืน่ ทีอ่ ยูใ น ขอบเขตแบบปด ถายังไมสามารถกําหนดขอบเขตได เราจะตองออกจากคําสัง่ แลวใชคําสัง่ Zoom ขยาย พืน้ ทีท่ ไี่ มสามารถกําหนดขอบเขตไดใหมขี นาดใหญเพียงพอ แลวจึงสราง Boundary ใหมหรือจะใชอกี วิธีหนึ่ง โดยใชคําสั่ง View43D Views4Top เพื่อกลับไปยัง Top view แลวจึงสราง Boundary ใหมหรือจะใชอกี วิธหี นึง่ โดยเพิม่ คาระยะหางใหกบั ตัวแปรระบบ HPGAPTOL เพือ่ กําหนดระยะขัน้ ต่ํา ทีจ่ ะทําใหโปรแกรมมองเห็นขอบเขตแบบเปดเปนแบบปด ซึง่ ระยะหางทีก่ ําหนดในตัวแปรระบบนี้ จะ ตองมากกวาระยะของชองวางทีเ่ ปดของขอบเขตที่มปี ญหา

257

12/10/2549, 21:50

258

18. บนแถบรายการควบคุมเลเยอร ละลาย(Thaw)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของ เลเยอร “ตัวอักษรกํากับพืน้ นอกบาน” แลวคลิกบนชือ่ เลเยอร “พืน้ นอกบาน” เพือ่ กําหนดใหเลเยอร “พืน้ นอกบาน” ใหเปนเลเยอรใชงาน จะปรากฏตัวอักษรแสดง ระดับความสูงของพืน้ ทีใ่ ชสอยตางๆ ดังรูปที่ 12.12

2D Drafting

รูปที่ 12.12

เปนเลเยอรใชงาน 19. จากรูปที่ 12.12 ใหแนใจวาเลเยอร แลวเพิม่ ความหนาใน 3 มิตใิ หกบั Region ของพืน้ ทีส่ นามหญา โดยใชคําสัง่ Draw4 Modeling4Extrude ตามวิธีในขอ 6 เมื่อปรากฏขอความ Select objects to extrude: เลื่อนเคอรเซอรไปบน Region ของสนามหญา เมื่อ Region ปรากฏเปน เสนประ ใหคลิกซาย แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Specify height of extrusion... พิมพคาความสูง 0.2 แลวกดปุม Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ 20. จากรูปที่ 12.12 คลิกขวา เพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ Draw4Modeling4Extrude แลวเพิม่ ความหนาใหกบั พืน้ ทีใ่ ชสอยอืน่ ๆ ทีเ่ หลืออยูท งั้ หมด ตามวิธีในขอ 19 โดยอานคา ระดับความสูงทีป่ รากฏอยูบ นพืน้ ทีว่ าดภาพ หากพืน้ ทีใ่ ชสอยใดไมมตี วั อักษรระบุ ความสูง ใหใชคา ความสูงเทากับ 0.35 เมตร Note

เพือ่ ประหยัดเวลา หากพืน้ ที่ใชสอยใดมีระดับความสูงเทาๆ กัน เราสามารถเลือกพื้นทีใ่ ชสอยเหลานั้น พรอมๆ กันในการใชคําสั่ง Draw4Modeling4Extrude ในครั้งเดียวได

21. เปลีย่ นสีใหกับโซลิด โดยคลิกบนปุม ไอคอน บนทูลบาร 3D Modeling คางไว แลวเลือกสีหมายเลข 21 (รหัสสี 21) เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: ใหคลิก บนโซลิดแตละชิน้ ใหปรากฏดังรูปที่ 12.13 Note

chap-12-1.PMD

ในการเปลี่ยนสีใหกับโซลิดในขอ 21 เราสามารถเปลีย่ นสีไดเพียงครั้งละ 1 ชิ้นตอการเรียกคําสั่ง 1 ครัง้ เทานั้น หากตองการเปลี่ยนสีใหกับโซลิดครั้งละหลายๆ ชิ้นใหใชคําสั่ง Modify4Properties แลวคลิกบนโซลิดตางๆ ใหปรากฏจุดกริป๊ ส แลวเลือกสีที่ตอ งการในแถบรายการ Color แทนได

258

12/10/2549, 21:50

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

259

รูปที่ 12.13

22. เริ่มสรางพื้นชั้นบน โดยกอนอื่น บนแถบรายการควบคุมเลเยอร ละลาย(Thaw) เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร “ตัวอักษรกํากับพื้นชั้นบน” เลเยอร “พื้นชั้นบน” และเลเยอร “เสาชั้นบน” แลวคลิกบนชื่อเลเยอร “พื้นชั้นบน” เพื่อ กําหนดใหเลเยอร “พืน้ ชัน้ บน” ใหเปนเลเยอรใชงาน 23. บนแถบรายการควบคุมเลเยอร แชแข็ง(Freeze)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร “ตัวอักษรกํากั บพื้ นนอกบ าน” , “พื้ นชั้ นลาง” , “พื้ นนอกบาน” , “รั้ว-ขอบเขต” , “รั้ว-เสา” แลวล็อคเลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร “เสาชัน้ ลาง” , “เสาชัน้ ลางชัน้ บน” จะปรากฏดังรูปที่ 12.14 (ซาย) รูปที่ 12.14

Note

จากรูปที่ 12.14 (ซาย) สังเกตุวา ในขณะนี้ พื้นชัน้ บนยังอยูบนระดับพื้นดินซึง่ มีคา Z = 0 (ศูนย) ดังนั้น เราจึงควรที่จะเคลือ่ นยายพืน้ ชัน้ บนขึน้ ไปอยูในระดับความสูงทีถ่ ูกตอง

24. จากรูปที่ 12.14 (ซาย) เคลือ่ นยายวัตถุทั้งหมดในเลเยอร “พืน้ ชัน้ บน” และเลเยอร “ตัวอักษรกํากับพืน้ ชั้นบน” โดยใชคําสัง่ Modify4Move

chap-12-1.PMD

259

12/10/2549, 21:50

260

{จากรูปที่ 12.14 (ซาย) ใหแนใจวา ) อยูใ นสถานะเปด} {คลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Crossing} Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ} Specify base point or [Displacement] : {คลิก ณ จุดใดๆ หรือคลิกจุดที่ 1} Specify second point or <use first point as displacement>: {พิมพคา รีเลทีฟคอรออรดิเนท @0,0,3.7 แลวกดปุม Q หรือเลือ่ นเคอรเซอรขนึ้ ในแนวดิง่ เมือ่ ปรากฏเวคเตอรแสดงคา +Z ใหพมิ พ 3.7 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.14 (ขวา)} Command: _move Select objects:

2D Drafting

25. บนแถบรายการควบคุมเลเยอร แชแข็ง(Freeze)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร “เสาชัน้ บน” , “เสาชัน้ ลาง” , “เสาชัน้ ลางชัน้ บน” แลวคลิกบนชือ่ เลเยอร “พืน้ ชัน้ บน” เพื่อกําหนดใหเปนเลเยอรใชงาน 26. ใชคําสั่ ง View4 3D Views4Top หรื อเลือก จากแถบรายการบน แดชบอรด เพือ่ แสดงภาพดานบน(Top view) จะปรากฏดังรูปที่ 12.15 (ซาย) รูปที่ 12.15

Note

จากรูปที่ 12.15 (ซาย) เราจะเห็นวา ในขณะนี้ เรายังไมสามารถที่จะใชคําสั่ง Draw4Boundary เพื่อสราง Region ได เนื่องจากขอบเขตตรงจุดที่ 1 และ 2 ไมไดเปนขอบเขตแบบปด เราสามารถ ใชจดุ กริป๊ สแกไขใหเปนแบบปดไดดงั นี้

27. จากรูปที่ 12.15 (ซาย) ในขณะทีบ่ รรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ คลิกบน เสนจุดที่ 3 และ 4 ใหปรากฏจุดกริ๊ปสสีน้ําเงินดังรูปที่ 12.15 (กลาง) ใหแนใจวา อยูใ นสถานะเปด คลิกจุดกริป๊ สที่ 5 คลิกจุดที่ 6 คลิกจุดกริป๊ สที่ 7 คลิกจุดที่ 8 แลวกดปุม D เพือ่ ยกเลิกการเลือกวัตถุ จะปรากฏดังรูปที่ 12.15 (ขวา) 28. จากรูปที่ 12.15 (ขวา) เคลือ่ นยายจุดกําเนิด โดยใชคําสัง่ Tools4New UCS4Origin หรือคลิกปุม ไอคอน บนทูลบาร 3D Modeling คางไว แลวคลิกบนปุม เมือ่ ปรากฏขอความ Specify origin of UCS ... ใหแนใจวา อยูใ นสถานะ เปด เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 9 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย Note

chap-12-1.PMD

เหตุผลที่เราตองเคลื่อนยายจุดกําเนิดไปยังจุดที่ 9 นั้น อันที่จริง เราสามารถใชจุดใดๆ บนเสนตางๆ ของพื้นชั้นบนก็ได เพราะเสนตางๆ ของพื้นชั้นบนถูกยายขึ้นไปอยูบนระดับความสูง 3.7 เมตรแลว โดยปกติ คําสั่ง Draw4Boundary จะสราง Region บนระนาบ XY ของระบบคอรดิเนท โดยไม สนใจวาขอบเขตที่ถูกเลือกจะอยูในระดับความสูงเทาใด นั่นหมายความวา ถาเราไมเคลื่อนยายจุด กําเนิดขึ้นไปอยูบนระดับ 3.7 เมตร Region ก็จะถูกสรางขึ้นบนระดับพื้นซึ่ง Z มีคาเปน 0 (ศูนย)

260

12/10/2549, 21:50

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

261

29. จากรูปที่ 12.15 (ขวา) สรางพืน้ ชัน้ บน โดยใหแนใจวา เป นเลเยอร ใชงาน แลวใช คําสั่ ง Draw4 Boundary เมื่ อปรากฏไดอะล็ อค Boundary Creation ใหคลิกเพื่อปลดเครื่องหมาย ออกจากเช็คบอกซ Island detection แลวเลือก Region ในแถบรายการ Object type คลิกปุม Pick point เมือ่ ปรากฏขอความ Pick internal point: คลิกบนพืน้ ทีว่ า งตรงจุดที่ 10, 11 และจุดที่ 12 แลวคลิกขวา จะปรากฏขอความ BOUNDARY created 3 regions แสดงให ทราบวา Region ถูกสรางขึน้ มาทัง้ หมด 3 ชิน้ จะปรากฏดังรูปที่ 12.16 (ซาย) รูปที่ 12.16

30. กลับไปยังมุมมอง Isometric เชนเดิม โดยใชคําสัง่ View4Zoom4Previous ปรากฏดังรูปที่ 12.16 (ขวา)

จะ

31. จากรูปที่ 12.16 (ขวา) ใหแนใจวาเลเยอร เปนเลเยอร ใชงาน แลวเพิ่มความหนาใน 3 มิติใหกับ Region ของพื้นชั้นบน โดยใชคําสั่ง Draw4Modeling4Extrude ตามวิธีในขอ 6 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects to extrude: เลื่ อนเคอร เซอร ไปบน Region ของพื้ นระดับความสูง 3.70 เมตร ประมาณจุดที่ 13 เมือ่ Region ปรากฏเปนเสนประ ใหคลิกซาย แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Specify height of extrusion... พิมพคา ความสูง -0.7 แลวกดปุม Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ 32. จากรูปที่ 12.16 (ขวา) เพิม่ ความหนาใน 3 มิตใิ หกับพืน้ หองน้ําระดับความสูง 3.65 เมตร ตามวิธีในขอ 6 โดยคลิกขวา เพื่อทําซ้ําคําสั่ง Extrude แลวเลือก Region ประมาณจุดที่ 14 แลวกําหนดความหนา -0.05 เมตร 33. จากรูปที่ 12.16 (ขวา) เพิม่ ความหนาใน 3 มิตใิ หกับพืน้ ระเบียงระดับความสูง 3.50 เมตร ตามวิธีในขอ 6 โดยคลิกขวา เพื่อทําซ้ําคําสั่ง Extrude แลวเลือก Region ประมาณจุดที่ 15 แลวกําหนดความหนา -0.50 เมตร จะปรากฏดังรูปที่ 12.17 (ซาย) 34. จากรูปที่ 12.17 (ซาย) เคลือ่ นยายพืน้ ระเบียงระดับความสูง 3.50 เมตรลงในแนวดิง่ โดยใชคําสั่ง Modify4Move ตามวิธีในขอ 24 เมื่ อปรากฏขอความ Select objects: คลิกบนพืน้ ระเบียงจุดที่ 1 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify base point... คลิกจุดใดๆ เมือ่ ปรากฏ Specify second point... พิมพ @0,0,-0.2 แลวกดปุม Q

chap-12-1.PMD

261

12/10/2549, 21:50

262

หรือเลือ่ นเคอรเซอรลงในแนวดิง่ เมือ่ ปรากฏเวคเตอรแสดงคา -Z ใหพมิ พ 0.2 แลวกดปุม Q

2D Drafting

รูปที่ 12.17

35. จากรูปที่ 12.17 (ซาย) หักลบโซลิดหองน้ํา โดยใชคําสัง่ Modify4Solid Editing4 Subtract เมื่อปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract from .. Select objects: คลิกบนโซลิดจุดที่ 2 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกบนโซลิดจุดที่ 3 แลวคลิกขวา 36. จากรูปที่ 12.17 (ขวา) รวมโซลิดพืน้ กับระเบียงเขาดวยกัน โดยใชคําสัง่ Modify4 Solid Editing4Union เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: คลิกบนโซลิดจุดที่ 4 และ 5 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.17 (ขวา) 37. บนแถบรายการควบคุมเลเยอร แชแข็ง(Freeze)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร “ตัวอักษรกํากับพืน้ ชัน้ บน” แลวกําหนดให เปนเลเยอรใชงาน 38. จากรูปที่ 12.17 (ขวา) ลบเสน 2 มิตซิ งึ่ ใชเปนเสนขอบเขตของพืน้ ชัน้ บนทิง้ ไป โดย ใชคําสั่ง Modify4Erase เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: คลิกจุดที่ 6 และ 7 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Window แลวคลิกขวา 39. บนแถบรายการควบคุมเลเยอร ละลาย(Thaw)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของ เลเยอร “เสาชั้ นบน” แล วคลิกบนชื่ อเลเยอร “เสาชั้ นบน” เพื่ อกําหนดใหเปน รูปที่ 12.18

chap-12-1.PMD

262

12/10/2549, 21:50

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

263

เลเยอร ใช ง าน แช แข็ ง(Freeze)เลเยอร โดยคลิ ก บนไอคอน ของเลเยอร “พืน้ ชัน้ บน” แลวคลิกบนชือ่ เลเยอร “เสาชัน้ บน” เพือ่ กําหนดใหเปนเลเยอรใชงาน จะปรากฏดังรูปที่ 12.18 (ซาย) เปนเลเยอร 40. จากรูปที่ 12.18 (ซาย) ใหแนใจวาเลเยอร ใชงาน แลวเพิม่ ความหนาใน 3 มิตใิ หกับหนาตัดเสาชัน้ บน โดยใชคําสัง่ Draw4 Modeling4Extrude ตามวิธีในขอ 6 เมื่อปรากฏขอความ Select objects to extrude: คลิกจุดที่ 8 และ 9 เพื่ อเลือกหนาตัดเสาแบบ Window แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Specify height of extrusion... พิมพคา ความสูง 2.6 เมตร แลวกด ปุม Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ 41. บนแถบรายการควบคุมเลเยอร ละลาย(Thaw)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของ เลเยอร “เสาชัน้ ลาง” , “เสาชัน้ ลางชัน้ บน”, “พืน้ ชัน้ บน” , “พืน้ ชัน้ ลาง” แลวปลดล็อค เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร “เสาชั้นลาง” แลวคลิกบนชือ่ เลเยอร “เสาชัน้ ลาง” เพือ่ กําหนดใหเลเยอร “เสาชัน้ ลาง” ใหเปนเลเยอรใชงาน จะปรากฏ ดังรูปที่ 12.18 (ขวา) 42 จากรูปที่ 12.18 (ขวา) ใหแนใจวา ตัดเสา โดยใชคําสั่ง Modify43D Operations4Slice

เปนเลเยอรใชงาน

{จากรูปที่ 12.18 (ซาย) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด แลวปด {คลิกบนเสาตรงจุดที่ 10, 11, 12, และ 13 } Select objects to slice: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ} Command: _slice

^}

Select objects to slice:

Specify start point of slicing plane or [planar Object/Surface/Zaxis/View/XY/YZ/ZX/3points] <3points>:

เปนระนาบตัด}

Specify a point on the XY-plane <0,0,0>:

ใหคลิกซาย }

XY {พิมพตวั เลือก XY เพือ่ ใชระนาบ XY

{เลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 14 เมื่อปรากฏมารคเกอร

{เลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 11 เมื่อปรากฏมารคเกอร ใหคลิกซาย สวนเกินของเสาทั้ง 4 ตนจะถูกตัดทิ้ง}

Specify a point on desired side or [keep Both sides] :

รูปที่ 12.19

chap-12-1.PMD

263

43. จากรูปที่ 12.18 (ขวา) เปลีย่ นสีให กั บ พื้ น ชั้ น บน โดยคลิ ก บนปุ ม ไอคอน บนทู ลบาร 3D Modeling คางไว แลวเลือกสี ByLayer เมื่ อปรากฏข อความ Select objects: ใหคลิกบนโซลิด ตรงจุ ดที่ 15 จะปรากฏดั งรู ป ที่ 12.19

12/10/2549, 21:50

264

44. ปรั บ UCS กลั บไปที่ World Coordinate เช นเดิ ม โดยใช คําสั่ ง Tools4 New UCS4 World แลวปรับมุมมองเปนไอโซเมตริก โดยใชคําสั่ ง View4 3D Views4SE Isometric

2D Drafting

45. เริม่ สรางหลังคา โดยกอนอืน่ เรียกสถานะของเลเยอร “หลังคา” ออกมาใชงาน โดย ใชคําสั่ ง Format4Layer จะปรากฏไดอะล็อค Layer Properties Manager คลิกบนเลเยอร 0 (ศู นย ) แล วคลิกบนปุ ม Set Current เพื่ อกําหนดใหเปน เลเยอรใชงาน แลวคลิกบนปุมไอคอน Layer States Manager จะปรากฏ ไดอะล็อค Layer States Manager ใหคลิกบนชือ่ สถานะเลเยอร “หลังคา” ทีป่ รากฏ ในชองหนาตาง Layer states แลวคลิกปุม Restore เมือ่ กลับไปยังไดอะล็อค Layer Properties Manager คลิกบนเลเยอร “หลังคา” แลวคลิกบนปุม Set Current เพื่อกําหนดใหเปนเลเยอรใชงาน แลวคลิกบนปุม Apply และ OK ตามลําดับจะ ปรากฏเฉพาะ แบบแปลน 2 มิติของหลังคาวางอยูบ นระนาบ XY หรือระดับพืน้ ดิน ซึง่ มีคา Z= 0 (ศูนย) ดังรูปที่ 12.20 (ซาย)

รูปที่ 12.20

46. จากรูปที่ 12.20 (ซาย) เคลือ่ นยายสันหลังคาหลัก(Main roof)ขึน้ ไปในแนวดิง่ หาง จากตําแหนงเดิม 3 เมตร โดยใชคําสัง่ Modify4Move {จากรูปที่ 12.20 (ซาย) ใหแนใจวา ) อยูใ นสถานะเปด} {คลิกบนเสนจุดที่ 1 } Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ} Specify base point or [Displacement] : {คลิก ณ จุดใดๆ หรือคลิกจุดที่ 2} Specify second point or <use first point as displacement>: {พิมพคา รีเลทีฟคอรออรดิเนท @0,0,3 แลวกดปุม Q หรือเลือ่ นเคอรเซอรขนึ้ ในแนวดิง่ เมือ่ ปรากฏเวคเตอรแสดงคา +Z ใหพมิ พ 3 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.20 (ขวา)}

Command: _move Select objects:

47. จากรูปที่ 12.20 (ขวา) เขียนรูปกลองสีเ่ หลี่ยมผืนผาสูง 2.5 เมตรหรือสูงเทาใดก็ได แตควรต่ํากวา 3 เมตรเล็กนอย เพื่อใหเราสามารถมองเห็นเสนสันหลังคาที่เราได เคลื่อนยายในขอทีแ่ ลว โดยใชคําสั่ง Draw4Modeling4Box กอนอืน่ ใหแนใจ วา # อยูใ นสถานะเปด เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first corner or [Center]: คลิกจุดที่ 3 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify other corner or [Cube/Length]: คลิกจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify height or [2Point] <3.0000>: พิมพคา ความสูง 2.5 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.21 (ซาย)

chap-12-1.PMD

264

12/10/2549, 21:50

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

265

รูปที่ 12.21

48. จากรูปที่ 12.21 (ซาย-บน) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด เคลือ่ นยายจุด เวอรเทกซที่ มุมกลองสี่ เหลี่ ยมผืนผา โดยกดปุ ม E คางไว แลวคลิกจุดที่ 5 จนกระทั่งปรากฏจุดกริป๊ สสนี ้ําเงิน คลิกบนจุดกริป๊ สสนี ้ําเงิน แลวเลือ่ นเคอรเซอร ไปยังจุดที่ 6 แลวคลิกซาย จะปรากฏดังรูปที่ 12.21 (ขวา-บน) 49. จากรูปที่ 12.21 (ขวา-บน) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด เคลือ่ นยายจุด เวอรเทกซที่ มุมกลองสี่ เหลี่ ยมผืนผา โดยกดปุ ม E คางไว แลวคลิกจุดที่ 7 จนกระทั่งปรากฏจุดกริป๊ สสนี ้ําเงิน คลิกบนจุดกริป๊ สสนี ้ําเงิน แลวเลือ่ นเคอรเซอร ไปยังจุดที่ 8 แลวคลิกซาย จะปรากฏดังรูปที่ 12.21 (ซาย-ลาง) 50. จากรูปที่ 12.21 (ซาย-ลาง) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด เคลือ่ นยายจุด เวอรเทกซที่ มุมกลองสี่ เหลี่ ยมผืนผา โดยกดปุ ม E คางไว แลวคลิกจุดที่ 9 จนกระทั่งปรากฏจุดกริป๊ สสนี ้ําเงิน คลิกบนจุดกริป๊ สสนี ้ําเงิน แลวเลือ่ นเคอรเซอร ไปยังจุดที่ 10 แลวคลิกซาย กดปุม E คางไว แลวคลิกจุดที่ 11 จนกระทัง่ ปรากฏ จุดกริป๊ สสนี ้ําเงิน คลิกบนจุดกริป๊ สสนี ้ําเงิน แลวเลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 10 แลว คลิกซาย จะปรากฏหลังคาดังรูปที่ 12.21 (ขวา-ลาง) Note

chap-12-1.PMD

หลังจากที่เราไดเคลื่อนยายจุดเวอรเทกซทั้ง 4 จุดไปบนเสนขอบสันหลังคาที่อยูบนระดับความสูง 3 หนวย จะทําใหสันหลังคาซึ่งในตอนแรกมีความสูง 2.5 หนวยจะมีความสูงเปน 3 หนวยตามไปดวย ตอไปเริม่ สรางหลังคารองจากหลังคาหลัก โดยจะตองมีมมุ ลาดเอียงเชนเดียวกันกับหลังคาหลัก ดังนัน้ เราจึงจะคัดลอกหลังคาหลัก 2 ชิ้นไปวางยังตําแหนงทีถ่ ูกตอง แลวจึง Intersect หากสวนตัดเฉพาะที่มี สวนทีท่ ับซอนกันเทานั้น เพือ่ ใหไดหลังคาใหมที่ทํามุมเอียงเดียวกัน

265

12/10/2549, 21:50

266

51. จากรูปที่ 12.21 (ขวา-ลาง) คัดลอกหลังคา โดยใชคําสัง่ Modify4Copy

2D Drafting

{จากรูปที่ 12.21 (ขวา-ลาง) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด} {คลิกบนหลังคาจุดที่ 12 } Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ} Specify base point or [Displacement] : {คลิกจุดที่ 13} Specify second point or <use first point as displacement>: {คลิกจุดที่ 14} Specify second point or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ } Command: _copy

Select objects: 1 found

52. จากรูปที่ 12.21 (ขวา-ลาง) คัดลอกหลังคา โดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ หรือใชคําสัง่ Modify4Copy ตามวิธีในขอ 51 เมือ่ ปรากฏ Select objects คลิกบนหลังคาจุดที่ 12 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify base point ... คลิกจุดที่ 15 เมือ่ ปรากฏ Specify second point ... คลิกจุดที่ 16 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.22 (ซาย) รูปที่ 12.22

53. จากรูปที่ 12.22 (ซาย) หาสวนตัดของหลังคาทั้งสองที่ถกู สรางในขอ 51 และ 52 โดยใชคําสั่ง Modify4Solid Editing4Intersect เมื่อปรากฏขอความ Select objects คลิกบนหลังคาจุดที่ 1 และ 2 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.22 (ขวา) 54. รูปที่ 12.22 (ขวา) ขยายภาพ โดยใชคําสั่ง View4Zoom4Window และ 4 จะปรากฏดังรูปที่ 12.23 (ซาย)

คลิกจุดที่ 3

รูปที่ 12.23

55. จากรูปที่ 12.23 (ซาย) เคลือ่ นยายจุดเวอรเทกซใหจมเขาไปในโซลิดหลังคาชิน้ ใหญ ใหแนใจวา ) อยูในสถานะเปด แลวกดปุม E คางไว คลิกจุดที่ 5 จนกระทัง่ ปรากฏจุดกริป๊ สสีน้ําเงิน คลิกบนจุดกริป๊ สสีน้ําเงิน แลวเลือ่ นเคอรเซอร

chap-12-1.PMD

266

12/10/2549, 21:50

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

267

ไปตามแนวสันหลังคาหรือตามแนวแกน Y ใหแนใจวาปรากฏเวคเตอรแสดงคามุม 90 องศา ใหพิมพคา 0.4 แลวกดปุม Q เราจะเห็นวาสัน หลังคาจะจมเขาไปในหลังคาชิ้นใหญพอดี จะปรากฏดังรูปที่ 12.23 (ขวา) 56. กลับไปยังมุมมองเดิม โดยใชคําสัง่ View4Zoom4Previous 12.24 (ซาย)

จะ ปรากฏดังรูปที่

รูปที่ 12.24

Note

เนื่องจากหลังคาที่เล็กที่สุดมีมุมลาดเอียงและทิศทางไปทางเดียวกับหลังคาขนาดกลาง ดังนั้น เราจะ คัดลอกหลังคาขนาดกลาง แลวเปลีย่ นสเกลเพือ่ ใหมขี นาดทีถ่ กู ตองตามขัน้ ตอนดังนี้

57. จากรูปที่ 12.24 (ซาย) คัดลอกหลังคา โดยใชคําสัง่ Modify4Copy ตามวิธใี นขอ 51 เมื่อปรากฏ Select objects คลิกบนหลังคาจุดที่ 6 แลวคลิกขวา เมื่อปรากฏ Specify base point ... คลิกจุดที่ 7 เมือ่ ปรากฏ Specify second point ... คลิกจุดที่ 8 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.24 (ขวา) 58. จากรูปที่ 12.24 (ขวา) เปลีย่ นสเกลหลังคาใหมขี นาดทีถ่ กู ตองตามขอบเขตของเสน หลังคา 2 มิติ โดยใชคําสั่ง Modify4Scale {จากรูปที่ 12.24 (ขวา) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด} {คลิกบนหลังคาจุดที่ 9 } Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ} Specify base point: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 10 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย } Specify scale factor or [Copy/Reference] <1.0000>: {พิ ม พ ตั ว เลื อ ก R เพื่ ออ า งอิ ง ขนาดเดิ ม และใหม } Extremely small scale factor ignored. {หากปรากฏขอความนี้ ใหพม ิ พตวั เลือก R แลวกดปุม Q เพือ่ เลือกอางอิงขนาดเดิมและขนาดใหม} Specify reference length <1.0000>: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 10 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย } Specify second point: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 11 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย } Specify new length or [Points] <1.0000>: {เลือ ่ นเคอรเซอรกลับไปยังจุดที่ 12 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย จะปรากฏดังรูปที่ 12.25 (ซาย)} Command: SCALE

Select objects: 1 found

59. รูปที่ 12.25 (ซาย) ขยายภาพ โดยใชคําสัง่ View4Zoom4Window และ 2 จะปรากฏดังรูปที่ 12.25 (ขวา)

คลิกจุดที่ 1

60. จากรูปที่ 12.25 (ขวา) เคลือ่ นยายจุดเวอรเทกซใหจมเขาไปในโซลิดหลังคาชิน้ กลาง ใหแนใจวา ) อยูในสถานะเปด แลวกดปุม E คางไว คลิกจุดที่ 3

chap-12-1.PMD

267

12/10/2549, 21:50

268

2D Drafting รูปที่ 12.25

จนกระทัง่ ปรากฏจุดกริป๊ สสีน้ําเงิน คลิกบนจุดกริป๊ สสีน้ําเงิน แลวเลือ่ นเคอรเซอร ไปตามแนวสันหลังคาหรือตามแนวแกน Y ใหแนใจวาปรากฏเวคเตอรแสดงคามุม 90 องศา ใหพิมพคา 0.4 แลวกดปุม Q เราจะเห็นวาสัน หลังคาจะจมเขาไปในหลังคาชิน้ กลางพอดี จะปรากฏดังรูปที่ 12.26 (ซาย)

รูปที่ 12.26

61. กลับไปยังมุมมองเดิม โดยใชคําสัง่ View4Zoom4Previous 12.26 (ขวา)

จะ ปรากฏดังรูปที่

62. จากรูปที่ 12.26 (ขวา) รวมหลังคาทัง้ 3 ชิน้ ใหกลายเปนชิ้นเดียวกัน โดยใชคําสัง่ Modify4Solid Editing4Union เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects คลิกจุดที่ 4 และ 5 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.27 รูปที่ 12.27

Note

chap-12-1.PMD

หลังจากที่สรางหลังคาเสร็จเรียบรอยแลว เราควรกลับไปตรวจสอบความถูกตอง โดยกลับไปยัง Top view โดยใชคําสั่ง View43D Views4Top แลวเปลี่ยนโหมดแสดงผลเปนโครงลวด เพื่อเปรียบ เทียบกับแบบแปลน 2 มิติ เพื่อตรวจดูวาแนวเสนหลังคาทั้ง 3 มิตแิ ละ 2 มิตทิ บั ซอนกันพอดีหรือไม

268

12/10/2549, 21:50

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม Note

269

เมือ่ ตรวจสอบความถูกตองเรียบรอยแลว เริม่ สรางเชิงชาย โดยเราจะตองหมุนมุมมองใหมองไปทีด่ า น ลางของหลังคา แลวจึงเพิ่มความหนาใหกลับดานลางของหลังคาดังนี้

63. จากรูปที่ 12.27 หมุนมุมมอง ใหมองเห็นดานลางของหลังคา โดยใชคําสัง่ View4 Orbit4Free Orbit ใหปรากฏดังรูปที่ 12.28 (ซาย)

รูปที่ 12.28

64. จากรูปที่ 12.28 (ซาย) เพิม่ ความหนาใหกบั ดานลางของหลังคา โดยใชคําสัง่ Draw4 Modeling4Extrude Command: _extrude

{จากรูปที่ 12.28 (ซาย)}

Current wire frame density: ISOLINES=4

{กดปุม E คางไว แลวคลิกดานลางของหลังคาตรงจุดที่ 6} {คลิกขวาหรือกดปุม Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ} Specify height of extrusion or [Direction/Path/Taper angle] <0.2000>: T {พิมพตวั เลือก T} Specify angle of taper for extrusion <0>: 30 {กําหนดคามุมเรียว 30 แลวกดปุม  Q} Specify height of extrusion or [Direction/Path/Taper angle] <0.0000>: 0.2 {กําหนดคา ความหนา 0.2 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.28 (ขวา)} Select objects to extrude: 1 found

Select objects to extrude:

65. กลั บไปยั งมุ มมองเดิ ม โดยใช คําสั่ ง View4Zoom4Previous

จะปรากฏดั งรู ปที่ 12.29

66. จากรูปที่ 12.29 เคลือ่ นยายหลังคาและเชิงชายขึน้ ไปในแนวดิง่ สูงจากพืน้ 6.5 เมตร โดยใชคําสัง่ Modify4Move ตามวิธีในขอ 46 ใหแนใจวา อยูในสถานะ เปด เมือ่ ปรากฏ Select objects: คลิกจุดที่ 7 รูปที่ 12.29 และ 8 เพื่ อเลื อกหลั งคาและเชิ งชายแบบ Crossing แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify base point ... คลิก ณ จุดใดๆ หรือคลิกจุดที่ 7 เมือ่ ปรากฏ Specify second point... พิมพ คารีเลทีฟคอรออรดิเนท @0,0,6.5 แลวกด ปุม Q หรือเลือ่ นเคอรเซอรขึ้นในแนว ดิง่ เมือ่ ปรากฏเวคเตอรแสดงคา +Z ใหพมิ พ 6.5 แลวกดปุม Q หลังคาและเชิงชายจะลอยขึน้ ในแนวดิ่งไปอยูในระดับที่ถูกตอง 67. บนแถบรายการควบคุมเลเยอร ละลาย(Thaw)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของ เลเยอร “เสาชัน้ บน” , “เสาชัน้ ลาง” , “เสาชัน้ ลางชัน้ บน”, “พืน้ ชัน้ บน” , “พืน้ ชัน้ ลาง”, “พืน้ นอกบาน” , “รัว้ -ขอบเขต” , ”รัว้ -เสา” แลวคลิกบนชือ่ เลเยอร “หลังคา” เพือ่ กําหนดใหเปนเลเยอรใชงาน จะปรากฏดังรูปที่ 12.30

chap-12-1.PMD

269

12/10/2549, 21:50

270

68. ทดลองเป ดโหมดเปอร สเปคที ฟ โดย คลิ กบนปุ ม ไอคอน Perspective Projection บนแดชบอร ด คลิกบนปุ ม ไอคอน Sun status เพื่อเปดโหมด แสงอาทิ ต ย คลิ ก บนปุ ม Full shadows เพื่อเปดโหมดแสดงเงาเต็มรูป แบบ แล ว ใช คํ า สั่ ง View 4 Orbit4 Contrained Orbit หมุนมุมมองให ปรากฏดังรูปที่ 12.31 (ซาย) แลวบันทึก รูปที่ 12.30 มุมมองเปอรสเปคทีฟเก็บไวใชงาน โดย คลิกบนปุม ไอคอน บนทูลบาร 3D Modeling คางไว แลวคลิกบนปุมไอคอน เพื่อบันทึกมุมมองที่ 1 แลวใชคําสั่ง View4Orbit4Contrained Orbit หมุน เพือ่ บันทึกมุมมองที่ 2 มุมมองใหปรากฏดังรูปที่ 12.31 (ขวา) แลวคลิกบนปุม เพื่อเก็บไวใชงานตอไป

2D Drafting

รูปที่ 12.31

Note

หลังจากทีเ่ ราไดบนั ทึกมุมมอง คลิกบนปุมไอคอน และ

Note

เงาแบบเต็มรูปแบบจะปรากฏก็ตอ เมื่อการดแสดงผลสนับสนุน Full shadow shading

และ แลว เมือ่ ใดก็ตามทีเ่ ราตองการเรียกคืนมุมมอง เราสามารถ ตามลําดับ เพือ่ เรียกคืนมุมมองใหกลับมาปรากฏในวิวพอรท

69. ตอไปเริม่ สรางผนังชัน้ ลาง โดยกอนอืน่ ละลาย(Thaw)เลเยอร “ผนังชัน้ ลาง” แลว คลิกบนชื่อเลเยอร “ผนังชั้นลาง” เพื่อกําหนดใหเปนเลเยอรใชงาน แลวแชแข็ง (Freeze)เลเยอร ทั้ ง หมด ยกเว นเลเยอร “พื้ นชั้ นล าง” , “เสาชั้ นล างชั้ นบน” , “เสาชั้นลาง” แลวคลิกบนชื่อเลเยอร “ผนังชั้ นลาง” เพื่อกําหนดใหเปนเลเยอร ใชงานอีกครัง้ 70. แสดงมุมมองดานบน โดยใชคําสั่ง View43D Views4Top 12.32 (ซาย)

จะปรากฏดังรูปที่

71. จากรูปที่ 12.32 (ซาย) เริม่ เขียนผนัง โดยใชคําสัง่ Draw4Modeling4Polysolid

chap-12-1.PMD

270

12/10/2549, 21:50

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

271

รูปที่ 12.32

Command: _Polysolid

{จากรูปที่ 12.32 (ซาย) เปด

# ปด

Specify start point or [Object/Height/Width/Justify] : Specify height <80.0000>:

2.5 {กําหนดความสูงของผนัง 2.5 เมตร}

Specify start point or [Object/Height/Width/Justify] : Specify width <0.1000>:

0.1 {กําหนดความหนาของผนัง 2.5 เมตร}

) ปด ^} H {พิมพตวั เลือก H} W {พิมพตวั เลือก W}

J {พิมพตวั เลือก J} L {พิมพตวั เลือก L เพือ่ กําหนดใหผนังชิดซาย} Specify start point or [Object/Height/Width/Justify] : {คลิกจุดที่ 1} Specify next point or [Arc/Undo]: {คลิกจุดที่ 2} Specify next point or [Arc/Undo]: {คลิกจุดที่ 3} Specify next point or [Arc/Close/Undo]: {คลิกจุดที่ 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10} Specify next point or [Arc/Close/Undo]: C {พิมพตวั เลือก C เพือ ่ สรางผนังแบบปดไปยังจุดเริม่ ตน} Specify start point or [Object/Height/Width/Justify] : Enter justification [Left/Center/Right] :

72. จากรู ปที่ 12.32 (ซ าย) เขี ยนผนั งครั ว โดยคลิ กขวา เพื่ อทํา ซ้ํา คําสั่ ง Draw4 Modeling4Polysolid เปด # แลวคลิกจุดที่ 11 และ 12 แลวคลิกขวา 73. จากรูปที่ 12.32 (ซาย) เขียนผนังหองน้ํา โดยคลิกขวา เพื่อทําซ้ําคําสั่ง Draw4 Modeling4Polysolid เปด # เปด ) แลวคลิกจุดที่ 13, 14 และ 15 แลวคลิกขวา 74. จากรูปที่ 12.32 (ซาย) เขียนผนังหองรับแขก โดยคลิกขวา เพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ Draw4 Modeling4Polysolid เปด # เปด ) แลวคลิกจุดที่ 16 แลวเลือ่ นเคอรเซอรขนึ้ ไปตามแนวแกน Y แลวพิมพคา 2.8 แลวกดปุม Q แลว คลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ 75. จากรูปที่ 12.32 (ซาย) เขียนผนังหองบันได โดยคลิกขวา เพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ Draw4 Modeling4Polysolid เปด # เปด ) พิมพตัวเลือก W แลว กําหนดความหนาของผนังเทากับ 0.2 แลวคลิกจุดที่ 17 และ 18 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 12.32 (ขวา) 76. กลับไปยังมุมมองเดิม โดยใชคําสั่ง View4Zoom4Previous หรือใชคําสั่ง View43D Views4SE Isometric จะปรากฏดังรูปที่ 12.33 (ซาย)

chap-12-1.PMD

271

12/10/2549, 21:50

272

2D Drafting

รูปที่ 12.33

77. จากรูปที่ 12.33 (ซาย) เคลือ่ นยายผนังขึน้ ในแนวดิง่ โดยใชคาํ สัง่ Modify4Move {จากรูปที่ 12.33 (ซาย) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด} {คลิกบนผนังจุดที่ 1, 2, 3, 4, 5 } Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ} Specify base point or [Displacement] : {คลิกจุดที่ 6} Specify second point or <use first point as displacement>: {คลิกจุดที่ 7 จะปรากฏดังรูปที่ 12.33 (ขวา)} Command: _move Select objects:

78. เริม่ สรางผนังชัน้ บน โดยละลาย(Thaw)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร “ผนังชั้นบน” , “เสาชัน้ บน” แลวคลิกบนชือ่ เลเยอร “ผนังชัน้ บน” เพือ่ กําหนดให เปนเลเยอรใชงาน แลวแชแข็ง(Freeze)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร “พืน้ ชัน้ ลาง”, “ผนังชัน้ ลาง” , “เสาชัน้ ลาง” แลวคลิกบนชือ่ เลเยอร “ผนังชั้นบน” เพือ่ กําหนดให เปนเลเยอรใชงาน 79. แสดงมุมมองดานบน โดยใชคําสั่ง View43D Views4Top 12.34 (ซาย)

จะปรากฏดังรูปที่

รูปที่ 12.34

80. จากรูปที่ 12.34 (ซาย) เขียนผนังชัน้ บน โดยใชคําสัง่ Draw4Modeling4Polysolid เปด # แลวพิมพตวั เลือก H แลวกําหนดความสูงของผนังเทากับ 2.6

chap-12-1.PMD

272

12/10/2549, 21:50

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

273

พิมพตัวเลือก W แลวกําหนดความหนาของผนังเทากับ 0.1 พิมพตัวเลือก J แลว กําหนดผนังใหชิดขอบซาย โดยพิมพตัวเลือก L แลวคลิกจุดที่ 8, 9, 10, 11, 12, 13 แลวพิมพ C เพือ่ สรางผนังแบบปด แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ 81. จากรูปที่ 12.34 (ซาย) เขียนผนังหองนอน โดยคลิกขวา เพื่อทําซ้ําคําสั่ง Draw4 Modeling4Polysolid เปด # แลวคลิกจุดที่ 14 และ 15 แลวคลิกขวา 82. จากรูปที่ 12.34 (ซาย) เขียนผนังหองน้ํา โดยคลิกขวา เพื่อทําซ้ําคําสั่ง Draw4 Modeling4Polysolid เปด # แลวคลิกจุดที่ 16, 17 และ 18 แลว คลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ 83. จากรูปที่ 12.34 (ซาย) เขียนผนังหองนอน โดยคลิกขวา เพื่อทําซ้ําคําสั่ง Draw4 Modeling4Polysolid เปด # แลวคลิกจุดที่ 19 และ 20 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ 84. จากรูปที่ 12.34 (ซาย) เขียนผนังโถงบันได โดยคลิกขวา เพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ Draw4 Modeling4Polysolid เปด # แลวคลิกจุดที่ 21, 22, 23 และ 24 แลว คลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 12.34 (ขวา) 85. กลับไปยังมุมมองเดิม โดยใชคําสัง่ View4Zoom4Previous หรือใชคาํ สัง่ View 43D Views4SE Isometric จะปรากฏดังรูปที่ 12.35 (ซาย)

รูปที่ 12.35

86. จากรูปที่ 12.35 (ซาย) เคลือ่ นยายผนังขึน้ ในแนวดิง่ สูงจากพืน้ 3.7 เมตร โดยใชคําสัง่ Modify4Move ตามวิธีในขอ 46 ใหแนใจวา อยูในสถานะเปด เมื่อ ปรากฏ Select objects: คลิกจุดที่ 25, 26, 27, 27, 28 และ 29 เพือ่ เลือกผนังชัน้ บน ทัง้ หมด แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify base point ... คลิก ณ จุดใดๆ หรือคลิกจุดที่ 30 เมื่อปรากฏ Specify second point... พิมพคารีเลทีฟคอรออรดิเนท @0,0,3.7 แลวกดปุม Q หรือเลือ่ นเคอรเซอรขนึ้ ในแนวดิง่ เมือ่ ปรากฏเวคเตอรแสดงคา +Z ใหพิมพ 3.7 แลวกดปุม Q ผนังทั้งหมดจะลอยขึน้ ใน แนวดิง่ ไปอยูใ นระดับทีถ่ กู ตองดังรูปที่ 12.35 (ขวา)

chap-12-1.PMD

273

12/10/2549, 21:50

274

Note

จากรูปที่ 12.35 (ขวา) เราจะเห็นวาหลังจากที่เคลื่อนยายผนังขึน้ ไปอยูในระดับความสูงทีถ่ ูกตองแลว เสน 2 มิตติ า งๆ ของผนังจะปรากฏอยูที่พื้น เราจะไมใชเสนตางๆ เหลานี้แลว ดังนั้น ควรลบเสน 2 มิติ ตางๆ ทิง้ ไป ในการลบ เราอาจจะเปลีย่ นพืน้ ทีว่ าดภาพเปน 4 วิวพอรท แลวเลือกวัตถุในวิวพอรท Front หรือ Left เนื่องจากเราสามารถใชโหมดการเลือกแบบ Window ในวิวพอรทดังกลาวได โดยไมตอง เกรงวาวัตถุทไี่ มตอ งการลบจะถูกเลือกดวย หรือถาไมตอ งการเปลีย่ นเปน4 วิวพอรท เราอาจจะใชคําสัง่ View4Orbit4Contrained Orbit ใหสามารถเลือกวัตถุในโหมด Window ไดอยางสะดวก ในทีน่ ี้ ผูเขียนจะยังไมแสดงวิธีลบเสน 2 มิติตางๆ ในขณะนี้ จนกวาเราจะขึ้นรูปโมเดลบานหลังนี้เกือบจะ เสร็จเรียบรอย จึงจะแสดงวิธีการลบเสน 2 มิติตางๆ ที่ไมตองการใชงาน

2D Drafting

87. ละลาย(Thaw)เลเยอร โดยคลิ ก บนไอคอน ของเลเยอร “พื้ น ชั้ นบน” , “พืน้ ชั้นลาง” , “ผนังชัน้ ลาง” , “เสาชัน้ ลาง” ปลดล็อคเลเยอร โดยคลิกไอคอน ของเลเยอร “เสาชั้นลางชัน้ บน” คลิกบนชือ่ เลเยอร “ผนังชัน้ ลาง” เพือ่ กําหนดให เปนเลเยอรใชงาน จะปรากฏดังรูปที่ 12.36 (ซาย)

รูปที่ 12.36

88. รูปที่ 12.36 (ซาย) ขยายภาพ โดยใชคําสัง่ View4Zoom4Window และ 2 จะปรากฏดังรูปที่ 12.36 (ขวา)

คลิกจุดที่ 1

89. จากรูปที่ 12.36 (ขวา) วัดความสูงของชองวางระหวางผนังชัน้ ลางและผนังชัน้ บน โดยใชคําสัง่ Tools4Inquiry4Distance แลวคลิกจุดที่ 3 และ 4 โปรแกรมจะ รายงานความสูงเทากับ 0.7 เมตร 90. จากรูปที่ 12.36 (ขวา) เขียนผนั งปดชองวาง โดยใชคําสั่ ง Draw4 Modeling4 Polysolid เปด # แลวพิมพตวั เลือก H แลวกําหนดความสูงของผนัง เทากับ 0.7 พิมพตวั เลือก W แลวกําหนดความหนาของผนังเทากับ 0.1 พิมพตวั เลือก J แลวกําหนดผนังใหชดิ ขอบขวา โดยพิมพตวั เลือก R แลวคลิกจุดที่ 5, 3, 6 (สําหรับ จุดที่ 6 ใหแนใจวาปรากฏมารคเกอร ประมาณจุดที่ 6 แลวจึงคลิกซาย) แลว คลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 12.37 (ซาย) 91. กลับไปยังจอภาพเดิม โดยใชคําสัง่ View4Zoom4Previous 12.37 (ขวา)

chap-12-1.PMD

274

จะปรากฏดังรูปที่

12/10/2549, 21:50

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

275

รูปที่ 12.37

92. แลวคลิกบนชื่อเลเยอร “ผนังชั้นลาง” เพื่อกําหนดให เป นเลเยอร ใช งาน แล ว แช แข็ ง(Freeze)เลเยอร โดยคลิ กบนไอคอน ของ เลเยอร ทั้ งหมด ยกเว นเลเยอร “ผนั ง ชั้ น ล าง” เพี ยงเลเยอร เดี ยว แล วคลิ กบน ชื่อเลเยอร “ผนังชั้นลาง” เพื่อกําหนดให เปนเลเยอร ใชงาน จะปรากฏดังรูปที่ 12.38 (ซาย) รูปที่ 12.38

93. บันทึกสถานะเลเยอรเก็บไวใชงาน โดยใชคําสั่ง Format4Layer จะปรากฏ Layer States ไดอะล็ อค Layer Properties Manager คลิกบนปุ มไอคอน Manager จะปรากฏไดอะล็อค Layer States Manager ใหคลิกบนปุม New เมื่อ ปรากฏไดอะล็อค New Layer State to Save พิมพชอื่ สถานะ “ผนังชัน้ ลาง” แลวคลิก บนปุม OK คลิกบนปุม Close คลิกบนปุม OK เพือ่ ออกจากไดอะล็อคทัง้ หมด 94. จากรูปที่ 12.38 (ซาย) รวมผนังชัน้ ลางทัง้ หมดใหกลายเปนชิน้ เดียวกัน โดยใชคําสัง่ Modify4Solid Editing4Union เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects คลิกจุดที่ 7 และ 8 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.38 (กลาง-ซาย) 95. ละลาย(Thaw)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร “ผนังชัน้ บน” แลวคลิก บนชือ่ เลเยอร “ผนังชัน้ บน” เพือ่ กําหนดให เปนเลเยอร ใช ง าน แล ว แช แข็ ง (Freeze)เลเยอร โดยคลิ ก บนไอคอน ของเลเยอร “ผนั ง ชั้ น ล า ง” แล ว คลิ ก บนชื่ อเลเยอร “ผนั ง ชั้ น บน” เพื่ อกํ า หนดให เปนเลเยอรใชงาน จะปรากฏดังรูปที่ 12.38 (กลาง-ขวา) 96. บันทึกสถานะเลเยอรเก็บไวใชงาน โดยใชคําสั่ง Format4Layer จะปรากฏ ไดอะล็ อค Layer Properties Manager คลิกบนปุ มไอคอน Layer States

chap-12-1.PMD

275

12/10/2549, 21:50

276

Manager จะปรากฏไดอะล็อค Layer States Manager ใหคลิกบนปุม New เมื่อ ปรากฏไดอะล็อค New Layer State to Save พิมพชอื่ สถานะ “ผนังชัน้ บน” แลวคลิก บนปุม OK คลิกบนปุม Close คลิกบนปุม OK เพือ่ ออกจากไดอะล็อคทัง้ หมด

2D Drafting

97. จากรูปที่ 12.38 (กลาง-ขวา) รวมผนังชัน้ บนทัง้ หมดใหกลายเปนชิน้ เดียวกัน โดย ใชคําสัง่ Modify4Solid Editing4Union เมื่อปรากฏขอความ Select objects คลิกจุดที่ 9 และ 10 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.38 (ขวา) Note

เมื่อเรา Union โซลิดของผนังเขาดวยกันแลว เราอาจจะไมเห็นการเปลี่ยนแปลงใดๆ บนโซลิด เรา สามารถตรวจสอบวาโซลิดผนังถูกรวมเปนชิน้ เดียวกันแลวหรือไม โดยในขณะที่บรรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ ใหเลือ่ นเคอรเซอรไปบนโซลิดผนังหรือคลิกบนโซลิดผนัง หากผนังทัง้ หมด ปรากฏ เปนเสนประพรอมๆ กัน แสดงวาผนังทั้งหมดถูกรวมเขาเปนชิ้นเดียวกันแลว

98. เริม่ เขียนหลังคาหองน้ําหลังบาน โดยกอนอืน่ กําหนดสถานะของเลเยอรใหปรากฏ เปนเลเยอรใชงาน ดังรูปที่ 12.39 (ซาย) แลวกําหนดให แล วใช คําสั่ ง View4 Orbit4 Contrained Orbit หมุ นมุมมองและใชคําสั่ ง View4Zoom4Realtime ขยายมุมมองหลังบานใหปรากฏดังรูปที่ 12.39 (ขวา) รูปที่ 12.39

99. จากรูปที่ 12.39 (ขวา) เขียนฝาปดหองน้ํา โดยใชคําสัง่ Draw4Modeling4Box ใหแนใจวา ^ อยูในสถานะเปด แลวปด # แลวเลือ่ นเคอรเซอร ไปบนสันผนังตรงจุดที่ 1 เมื่อผิวหนาดานบนของผนังปรากฏเปนเสนประ เปด # แลวคลิกจุดที่ 2 คลิกจุดที่ 3 เมื่ อปรากฏขอความ Specify height... พิมพคาความสูง 0.02 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.40 (ซาย) Note

หากเลือ่ นเคอรเซอรไปบนผิวหนาแลวไมปรากฏเสนประบนผิวหนาทีต่ อ งการ เราจะตองขยายภาพให มีขนาดใหญมากขึน้

100. จากรูปที่ 12.40 (ซาย) รวมผนังฝาปดหองน้ําเขากับผนังชั้นลางใหกลายเปนชิ้น เดียวกัน โดยใชคําสั่ง Modify4Solid Editing4Union เมื่อปรากฏขอความ Select objects คลิกจุดที่ 4 และ 5 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.40 (ขวา)

chap-12-1.PMD

276

12/10/2549, 21:50

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

277

รูปที่ 12.40

101. จากรูปที่ 12.40 (ขวา) เริ่มเขียนหนาตัดของหลังคาหองน้ํา โดยกอนอื่นๆ ปรับ ระนาบ XY ใหขนานกับผิวหนาดานขางของผนังหองน้ําเสียกอน โดยใชคําสั่ง Tools4New UCS4Face เมื่อปรากฏขอความ Select face of solid object: ใหคลิกประมาณจุดที่ 6 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ ระนาบ XY จะขนานกับผิว ผนาจุดที่ 6 102. จากรูปที่ 12.40 (ขวา) เขียนเสนโพลีไลน โดยใชคําสัง่ Draw4Polyline เมือ่ ปรากฏขอความ Specify start point: เปด ) เปด _ เปด # แลวคลิกจุดที่ 7 คลิกจุดที่ 8 แลวเลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 9 เมือ่ ปรากฏเวคเตอร ใหคลิกซาย หากไมปรากฏเวคเตอรดังกลาวแตปรากฏเวคเตอร แทน ใหพมิ พ 0.68 แลวกดปุม Q แลวเลือ่ นเคอรเซอร กลับไปยังจุ ดที่ 7 แลวเลื่อนเคอร ออกจากจุดที่ 7 มุ งไปยังจุดที่ 10 เมื่ อปรากฏ เวคเตอร ใหพิมพ 0.3 แลวกดปุม Q แลวกดปุม Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 12.41 (ซาย)

รูปที่ 12.41

103. จากรูปที่ 12.41 (ซาย) คลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ ใชคําสั่ง Draw4Polyline เมือ่ ปรากฏขอความ Specify start point: ปด ^ แลวคลิกจุดที่ 11 เลือ่ นเคอรเซอร ลงไปยังจุดที่ 12 เมื่อปรากฏเวคเตอร ใหพิมพ 0.4 แลวกดปุม Q ตอไปกดปุม S คางไว แลวคลิกขวา เลือกออฟเจกทสแนปในโหมด (Perpendicular) เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 13 แลวคลิกซาย แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 12.41 (ขวา)

chap-12-1.PMD

277

12/10/2549, 21:50

278

104. จากรูปที่ 12.41 (ขวา) ตัดเสนสวนเกิน โดยใชคําสัง่ Modify4Trim Command: _trim

2D Drafting

{จากรูปที่ 12.41 (ขวา) }

View is not plan to UCS. Command results may not be obvious. Current settings: Projection=UCS, Edge=None Select cutting edges ...

{เลือกเสนขอบตัด}

{คลิกบนเสนตรงจุดที่ 14 } {คลิกขวาหรือกดปุม Q เพือ่ ออกจากโหมดการเลือกขอบตัด}

Select objects or <select all>: 1 found Select objects:

Select object to trim or shift-select to extend or [Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]:

{คลิกบนเสนตรงจุดที่ 15 }

Select object to trim or shift-select to extend or

[Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q จะปรากฏดังรูปที่12.42 (ซาย)}

รูปที่ 12.42

105. จากรูปที่ 12.42 (ซาย) แปลงเสนโพลีไลนทงั้ สองใหเปน Region โดยใชคําสัง่ Draw เมื่ อปรากฏขอความ Select objects คลิ กบนเส นจุดที่ 1 และ 2 4 Region แลวคลิกขวา Region จะถูกสรางขึน้ ดังรูปที่ 12.42 (ขวา) 106. จากรูปที่ 12.42 (ขวา) ใหแนใจวา เปนเลเยอรใชงาน แลวเพิม่ ความหนาใน 3 มิติใหกบั Region โดยใชคําสัง่ Draw4Modeling4Extrude ตามวิธีในขอ 6 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects to extrude: คลิกบน Region จุดที่ 3 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Specify height of extrusion... พิมพคา ความหนา -0.2 แลวกดปุม Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 12.43 (ซาย) รูปที่ 12.43

107. ปรับระนาบ XY ของ UCS กลับไปที่ WCS โดยใชคาํ สัง่ Tools4New UCS4World 108. จากรูปที่ 12.43 (ซาย) หมุนมุมมองใหมองเห็นอีกดานหนึง่ โดยคลิกบนปุม ไอคอน

chap-12-1.PMD

278

12/10/2549, 21:50

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

279

3D Orbit with Rotation Center บนทูลบาร 3D Modeling เมือ่ ปรากฏ Specify orbit center point: คลิกจุดที่ 4 แลวหมุนมุมมองใหปรากฏดังรูปที่ 12.43 (ขวา) 109. จากรูปที่ 12.43 (ขวา) เขียนกลองสี่เหลี่ยมผืนผา โดยใชคําสั่ง Draw4Modeling เปด ^ ปด # เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 5 เมือ่ ผิวหนาจุด 4Box ที่ 5 ปรากฏเปนเสนประ เปด # แลวเลื่อนเคอรเซอรตรงไปยังจุดที่ 6 ทันที แลวคลิกซาย เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 7 แลวกําหนดความกวาง โดยเลือ่ น เคอรเซอรไปตามทิศทางของจุดที่ 8 เมื่อปรากฏเวคเตอร ใหพิมพ 0.2 แลวกดปุม Q เมื่ อปรากฏข อ ความ Specify height ใหพิมพ -0.1 แลวกดปุม Q เพือ่ กําหนดความหนา จะ ปรากฏดังรูปที่ 12.44 (ซาย) รูปที่ 12.44

110. จากรูปที่ 12.44 (ซาย) รวมโซลิดทั้ งสองใหกลายเปนชิ้นเดียวกัน โดยใชคําสั่ง Modify4Solid Editing4Union เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects คลิกจุดที่ 9 และ 10 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.44 (ขวา) 111. จากรูปที่ 12.44 (ขวา) คัดลอกโซลิดแบบพลิกกลับ โดยใชคําสั่ ง Modify4 3D Operations43D Mirror {จากรูปที่ 12.44 (ขวา) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด} {คลิกบนโซลิดตรงจุดที่ 11 } Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ}

Command: _mirror3d

Select objects: 1 found

Specify first point of mirror plane (3 points) or

YZ {พิมพตวั เลือก YZ เพือ่ ใชระนาบ YZ เปนระนาบในการพลิกกลับ เราสามารถดูระนาบไดจากยูซเี อสไอคอน} Specify point on YZ plane <0,0,0>: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 12 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย } Delete source objects? [Yes/No] : {คลิกขวาหรือกดปุม  Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.45 } [Object/Last/Zaxis/View/XY/YZ/ZX/3points] <3points>:

รูปที่ 12.45

chap-12-1.PMD

279

112. จากรูปที่ 12.45 เขียนกลองสี่เหลี่ยมผืนผา โดยใชคําสัง่ Draw4Modeling 4Box เป ด ^ ป ด # เลื่ อ น เคอรเซอรไปยังจุดที่ 13 เมือ่ ผิวหนาจุดที่ 13 ปรากฏเปนเสนประ เปด # แลว เลื่ อนเคอร เซอร ตรงไปยั งจุ ดที่ 14 ทั นที แลวคลิกซาย เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 15 แล ว กํ า หนดความกว า ง โดยเลื่ อน

12/10/2549, 21:50

280

เคอรเซอรไปตามทิศทางของจุดที่ 16 เมื่อปรากฏเวคเตอร ใหพิมพ 0.2 แลวกดปุม Q เมือ่ ปรากฏขอความ Specify height ใหพมิ พ -0.1 แลวกดปุม Q เพือ่ กําหนดความหนา จะปรากฏดังรูปที่ 12.46 (ซาย)

2D Drafting

รูปที่ 12.46

113. จากรูปที่ 12.46 (ซาย) รวมโซลิดใหกลายเปนชิ้นเดียวกันกับผนังชั้นลาง โดยใช คําสั่ง Modify4Solid Editing4Union เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects คลิก จุดที่ 1, 2, 3 และ 4 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.46 (ขวา) 114. รูปที่ 12.46 (ขวา) เขียนหลังคา โดยกอนอืน่ กําหนดทิศทางการหันเหของ UCS ^ เปด # เมือ่ โดยใชคําสัง่ Tools4New UCS43 Points ปด ปรากฏขอความ Specify new origin point <0,0,0>: คลิกจุดที่ 5 เมือ่ ปรากฏ Specify point on positive portion of X-axis คลิกจุดที่ 6 เมือ่ ปรากฏ Specify point on positiveY portion of the UCS XY plane คลิกจุดที่ 7 115. จากรูปที่ 12.46 (ขวา) เขียนหลั งคากลองสี่ เหลี่ ยมผืนผา โดยใชคําสั่ ง Draw4 Modeling4Box ปด ^ เปด # เปด ) เปด _ คลิกจุดที่ 8 เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 9 แลวเลือ่ นเคอรเซอรตอ ไปยังจุดที่ 10 ทันที ใหแนใจวาปรากฏ ในขณะเลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 10 แลวเลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 11 แลวเลื่อนกลับมาตัดกันตรงจุดที่ 10 เมื่อ ปรากฏเวคเตอร ใหคลิกซาย เมือ่ ปรากฏขอความ Specify height ให พิมพ -0.05 แลวกดปุม Q หลังคาจะถูกสรางขึน้ 116. ปรับระนาบ XY ของ UCS กลับไปที่ WCS โดยใชคาํ สัง่ Tools4New UCS4World จะปรากฏดังรูปที่ 12.47

รูปที่ 12.47

chap-12-1.PMD

280

117. ละลาย(Thaw)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร “หลั งคา” แล วคลิ กบนชื่ อเลเยอร “ผนั ง ชั้ นล า ง” เพื่ อกํ า หนดให เลเยอร เป นเลเยอรใช งาน แล วเปลี่ ยนเลเยอรให กั บโซลิ ด โดยในขณะที่ บรรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ คลิกบน

12/10/2549, 21:50

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

281

โซลิดตรงจุดที่ 12 ใหปรากฏจุดกริ๊ปส แลวเลือกเลเยอร “หลังคา” จากแถบรายการ ควบคุมเลเยอร แลวกดปุม D เพื่อยกเลิกการเลือกโซลิด โซลิดที่ถูกเลือกจะ ยายไปอยูในเลเยอร “หลังคา” Note

ตอไปเริ่มเขียนชายคากันสาดขางบาน พอดีชายคากันสาดขางบานเฉพาะสวนบนจะมีลักษณะและ ขนาดเหมือนกับหลังคาหองน้ําดังรูป 12.47 (แตดานลางไมเหมือน) ถาหากเรายังคงทํางานอยูในรูปที่ 12.46 (ซาย) เราก็สามารถคัดลอกสวนบนของชายคาไปแกไขเพิ่มเติมไดโดยงาย แตในขณะนี้ เราได Union ชายคาหองน้ําเขาเปนสวนเดียวกันกับผนังไปแลว ยกเวน แผนที่ใชเปนหลังคาดังรูปที่ 12.47 (จุดที่ 12) เทานัน้ ทีย่ งั มิได Union ดังนัน้ เราจึงไมสามารถทีจ่ ะคัดลอกชายคาหองน้ําไปใชงานในทันที ได เนือ่ งจาก ชายคาหองน้ําเปนเนือ้ เดียวกันกับผนังชั้นลาง เราจะตอง Slice ตัดหลังคาหองน้ํา เพื่อแยก ชายคาหองน้ําออกจากผนังชัน้ ลางเสียกอน แลวจึงคัดลอกและหมุนสวนที่ไดคัดลอก 90 องศา แลวจึง Union หลังคาหองน้ํากลับไปยึดติดกับผนังเชนเดิม แลวจึงนําหลังคาหองน้ําที่ไดคัดลอกออกมาไป ทําการแกไขใหเปนชายคากันสาดขางบานดังนี้

118. ใชคําสั่ง View4Zoom4Realtime

ขยายภาพใหปรากฏดังรูปที่ 12.48 (ซาย)

รูปที่ 12.48

119. จากรูปที่ 12.48 (ซาย) ตัดเฉือนชายคาหองน้ําออกจากผนัง โดยใชคําสัง่ Modify4 3D Operations4Slice {จากรูปที่ 12.48 (ซาย) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด} {คลิกบนวัตถุตรงจุดที่ 13 } Select objects to slice: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ}

Command: _slice

Select objects to slice:

Specify start point of slicing plane or [planar

ZX {ใหมองทีย่ ซู เี อสไอคอน เราจะสังเกตุวา ระนาบ XZ ของยูซเี อสไอคอนขนานกับระนาบทีเ่ ราจะแยกหลังคาหองน้าํ ดังนัน้ ใหพมิ พตวั เลือก ZX แลวกดปุม Q } Specify a point on the ZX-plane <0,0,0>: {เลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 14 เมื่อปรากฏมารคเกอร คลิกซาย เพื่อกําหนดจุดที่ระนาบตัดจะพาดผาน} Specify a point on desired side or [keep Both sides] : {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ใชตวั เลือก Both ซึง่ จะแบงโซลิดออกเปน 2 สวนโดยมิไดลบสวนใดสวนหนึง่ } Object/Surface/Zaxis/View/XY/YZ/ZX/3points] <3points>:

Note

chap-12-1.PMD

เราจะเห็นวาไมมีสิ่งใดเปลี่ยนแปลง จนกวาเราจะเลื่อนเคอรเซอรไปบนวัตถุ หาก Selection Preview อยูใ นสถานะเปด เราจึงจะเห็นเฉพาะหลังคาหองน้ําหรือผนังปรากฏเปนเสนประแยกอิสระตอกัน

281

12/10/2549, 21:50

282

120. จากรูปที่ 12.48 (ซาย) คัดลอกและหมุนหลังคาหองน้ํา โดยใชคําสั่ง Modify4 Rotate Command: _rotate

{จากรูปที่ 12.48 (ซาย) ใหแนใจวา

2D Drafting

# อยูใ นสถานะเปด}

Current positive angle in UCS: ANGDIR=counterclockwise ANGBASE=0

{คลิกบนวัตถุตรงจุดที่ 13 และ 15 } {คลิกขวาหรือกดปุม Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ} Specify base point: {เลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 16 เมื่อปรากฏมารคเกอร คลิกซาย} Specify rotation angle or [Copy/Reference] <0>: C {ใหพม ิ พตวั เลือก C แลวกดปุม Q } Rotating a copy of the selected objects. {โปรแกรมรายงานวาหมุนแบบคัดลอกวัตถุดว ย} Specify rotation angle or [Copy/Reference] <0>: 90 {พิมพคา มุม 90 องศา แลวกดปุม  Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.48 (ขวา)} Select objects:

Select objects:

121. จากรูปที่ 12.48 (ขวา) รวมโซลิดหลังคาหองน้ําและผนังชั้นลางใหกลายเปนชิ้น เดียวกันเชนเดิม โดยใชคําสั่ ง Modify4Solid Editing4 Union เมื่อปรากฏ ขอความ Select objects คลิกโซลิดจุดที่ 17 และ 18 แลวคลิกขวา 122. จากรูปที่ 12.48 (ขวา) เคลือ่ นยายหลังคาหองน้ําและแผนหลังคาออกไปวางยังพืน้ ที่ วางๆ หางออกมาจากเดิมเล็กนอย โดยใชคําสัง่ Modify4Move เมือ่ ปรากฏ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 19 และ 20 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify base point ... คลิกประมาณจุดที่ 21 เมือ่ ปรากฏ Specify second point... คลิกประมาณจุดที่ 22 จะปรากฏดังรูปที่ 12.49 (ซาย) รูปที่ 12.49

123. แชแข็ง(Freeze)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน บนชือ่ เลเยอร “ผนังชัน้ ลาง” เพือ่ กําหนดให ใชงาน

ของเลเยอร “หลังคา” แลวคลิก เปนเลเยอร

124. จากรู ปที่ 12.49 (ซ าย) ตั ดเฉื อนหลั งคา โดยใช คําสั่ ง Modify43D Operations4Slice {จากรูปที่ 12.49 (ซาย) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด} {คลิกบนวัตถุตรงจุดที่ 1 } Select objects to slice: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ} Command: _slice

Select objects to slice: 1 found

Specify start point of slicing plane or [planar Object/Surface/Zaxis/View/XY/YZ/ZX/3points] <3points>:

chap-12-1.PMD

282

ZX{ใหมองทีย่ ูซเี อสไอคอน

12/10/2549, 21:50

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

283

เราจะสังเกตุวา ระนาบ XZ ของยูซเี อสไอคอนขนานกับระนาบทีเ่ ราจะตัดหลังคาหองน้าํ ดังนัน้ ใหพมิ พตวั เลือก ZX แลวกดปุม Q } Specify a point on the ZX-plane <0,0,0>: {เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย} Specify a point on desired side or [keep Both sides] : {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 3 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย อีกดานหนึง่ ของโซลิดจะถูกตัดทิง้ ไปดังรูปที่ 12.49 (ขวา) }

125. จากรูปที่ 12.49 (ขวา) เขียนกลองสีเ่ หลีย่ มผืนผา เพือ่ นําไปหักลบสวนทีไ่ มตอ งการ โดยใชคําสั่ง Draw4Modeling4Box เปด # เมื่อปรากฏขอความ Specify first corner or [Center]: คลิกจุดที่ 4 เมื่อปรากฏขอความ Specify other corner or [Cube/Length]: คลิกจุดที่ 5 โซลิดจะถูกสรางขึ้น แตจะจมอยูภ ายในผนัง ของโซลิดของหลังคา เราสามารถเลื่อนเคอรเซอรไปบนโซลิดเพื่อตรวจสอบได 126. จากรูปที่ 12.49 (ขวา) หักลบกลองโซลิดทีถ่ กู สรางในขอ 125 ออกจากโซลิดหลังคา โดยใชคําสัง่ Modify4Solid Editing4Subtract เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract from .. Select objects: คลิกจุดที่ 6 เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกจุดที่ 7 จะปรากฏดังรูปที่ 12.50 (ซาย) รูปที่ 12.50

127. จากรูปที่ 12.50 (ซ าย) เพิ่ มความหนาใหกั บผนั ง โดยคลิ กบนปุ มไอคอน Presspull บนแดชบอรด เมือ่ ปรากฏขอความ Click inside bounded areas to press or pull. คลิกบนผิ วหนาตรงจุดที่ 8 แลวเลื่ อนเคอร เซอรเพื่ อดึ งผิ วหน าออกมา ดานนอก แลวพิมพ 0.1 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.50 (กลาง) 128. ละลาย(Thaw)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ชื่อเลเยอร “ผนังชั้นลาง” เพื่อกําหนดให ใชงาน จะปรากฏดังรูปที่ 12.50 (ขวา)

ของเลเยอร “หลังคา” แลวคลิกบน เปนเลเยอร

129. จากรูปที่ 12.50 (ขวา) เคลือ่ นยายหลังคาหองน้ําและแผนหลังคาออกไปวางใกลๆ กับผนังอีกดานหนึ่ง โดยใชคําสัง่ Modify4Move ปด # ปด ) เมือ่ ปรากฏ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 9 และ 10 แลวคลิกขวา เมื่อปรากฏ Specify base point ... คลิกประมาณจุดที่ 11 เมือ่ ปรากฏ Specify second point... คลิกประมาณจุดที่ 12 จะปรากฏดังรูปที่ 12.51 (ซาย)

chap-12-1.PMD

283

12/10/2549, 21:50

284

2D Drafting

รูปที่ 12.51

130. รูปที่ 12.51 (ซาย) หมุนมุมมองใหมองเห็นอีกดานหนึง่ โดยคลิกบนปุม ไอคอน 3D Orbit with Rotation Center บนทูลบาร 3D Modeling เมื่อปรากฏขอความ Specify orbit center point: กําหนดจุดหมุน โดยคลิกจุดที่ 1 แลวหมุนมุมมองให ปรากฏดังรูปที่ 12.51 (กลาง) 131. รูปที่ 12.51 (กลาง) เขียนกลองสี่เหลี่ยมผืนผา เพื่อนําไปหักลบสวนที่ไมตอ งการ โดยใชคําสัง่ Draw4Modeling4Box ปด ^ เปด # คลิกจุดที่ 2 เลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 3 แลวเลื่อนเคอรเซอรยอนกลับไปตามทิศทางของ จุดที่ 4 ใหแนใจวาปรากฏ ในขณะเลื่อนเคอรเซอรไปยัง จุดที่ 4 แลวพิมพ 0.2 แลวกดปุม Q เมือ่ ปรากฏขอความ Specify height ให พิมพ 0.9 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.51 (ขวา) 132. จากรูปที่ 12.51 (ขวา) หักลบกลองโซลิดทีถ่ กู สรางในขอ 131 ออกจากโซลิดหลังคา โดยใชคําสัง่ Modify4Solid Editing4Subtract เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract from .. Select objects: คลิกจุดที่ 5 เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกจุดที่ 6 จะปรากฏดังรูปที่ 12.52 (ซาย)

รูปที่ 12.52

133. รูปที่ 12.52 (ซาย) เขียนกลองสี่เหลี่ยมผืนผา เพื่อนําไปหักลบสวนที่ไมตองการ โดยใชคําสัง่ Draw4Modeling4Box ปด ^ เปด # คลิกจุดที่ 7 เลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 8 แลวเลื่อนเคอรเซอรยอนกลับไปตามทิศทางของ

chap-12-1.PMD

284

12/10/2549, 21:50

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

285

จุดที่ 9 ใหแนใจวาปรากฏ ในขณะเลื่อนเคอรเซอรไปยัง จุดที่ 9 แลวพิมพ 0.4 แลวกดปุม Q เมือ่ ปรากฏขอความ Specify height ให พิมพ 0.7 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.52 (กลาง) 134. จากรูปที่ 12.52 (กลาง) หักลบกลองโซลิดทีถ่ กู สรางในขอ 133 ออกจากโซลิดหลังคา โดยใชคาํ สัง่ Modify4Solid Editing4Subtract เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract from .. Select objects: คลิกจุดที่ 10 เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกจุดที่11 จะปรากฏดังรูปที่ 12.52 (ขวา) 135. จากรูปที่ 12.52 (ขวา) สรางสวนโคง โดยใชคาํ สัง่ Modify4Fillet Command: _fillet

{จากรูปที่ 12.52 (ขวา) }

Current settings: Mode = TRIM, Radius = 0.0000

{คลิกบนเสนขอบตรงจุดที่ 12 } 0.2 {ปอนคารัศมี 0.2 แลวกดปุม Q } Select an edge or [Chain/Radius]: {คลิกบนเสนขอบตรงจุดที่ 13 } Select an edge or [Chain/Radius]: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.53 (ซาย)} 2 edge(s) selected for fillet. {โปรแกรมรายงานวาเสนขอบ 2 เสนถูกสรางสวนโคงฟลเลท } Select first object or [Undo/Polyline/Radius/Trim/Multiple]:

Enter fillet radius:

รูปที่ 12.53

136. จากรูปที่ 12.53 (ซาย) เคลือ่ นยายหลังคาหองน้ําและแผนหลังคาไปวางยังตําแหนง จริง โดยใชคําสัง่ Modify4Move เปด # เปด ) เมือ่ ปรากฏ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 14 และ 15 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify base point ... คลิกจุดที่ 16 เมือ่ ปรากฏ Specify second point... เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 17 เมื่อปรากฏมารคเกอร แลวเลื่อนเคอรเซอรไปตามทิศทางของจุดที่ 18 เมื่อ ปรากฏเวคเตอร ใหพมิ พ 1.25 แลวกดปุม Q จะปรากฏ ดังรูปที่ 12.53 (ขวา) 137. จากรูปที่ 12.53 (ขวา) คัดลอกโซลิดแบบพลิกกลับ โดยใชคําสั่ ง Modify4 3D Operations43D Mirror

chap-12-1.PMD

285

12/10/2549, 21:50

286

{จากรูปที่ 12.53 (ขวา) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด} {คลิกบนโซลิดตรงจุดที่ 19 และ 20 } Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ} Command: _mirror3d Select objects:

2D Drafting

Specify first point of mirror plane (3 points) or

ZX {พิมพตวั เลือก ZX เพือ่ ใชระนาบ ZX เปนระนาบในการพลิกกลับ ดูระนาบจากยูซเี อสไอคอน} Specify point on YZ plane <0,0,0>: {กดปุม  S คางไวแลวคลิกขวา เลือกออฟเจกทสแนปโหมด From} _from Base point: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 21 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร แลวคลิกซาย} : @2.4<90 {ใหพม ิ พรเี ลทีฟคอรออรดเิ นท @2.4<90 แลวกดปุม Q (ดูมมุ จากยูซเี อสไอคอน)} Delete source objects? [Yes/No] : {คลิกขวาหรือกดปุม  Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.54 (ซาย) } [Object/Last/Zaxis/View/XY/YZ/ZX/3points] <3points>:

รูปที่ 12.54

138. แชแข็ง(Freeze)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน บนชือ่ เลเยอร “ผนังชัน้ ลาง” เพือ่ กําหนดให ใชงาน จะปรากฏดังรูปที่ 12.54 (ขวา)

ของเลเยอร “หลังคา” แลวคลิก เปนเลเยอร

139. รูปที่ 12.54 (ขวา) เขียนแผนสี่เหลี่ยมผืนผาเชื่อมตอจากฝาเดิมของชายคาทั้งสอง ดาน โดยใชคําสั่ง Draw4Modeling4Box ปด ^ เปด # คลิกจุดที่ 1 และ 2 ฝาจะถูกสรางขึน้ เติมเต็มสวนทีข่ าดหายไป 140. รูปที่ 12.54 (ขวา) เขียนขอบสี่ เหลี่ ยมเชื่ อมต อชายคาทั้ งสองด าน โดยใชคําสั่ ง Draw4Modeling4Box เปด ^ ปด # เลือ่ นเคอรเซอรไปยัง จุดที่ 3 เมือ่ ผิวหนาจุดที่ 3 ปรากฏเปนเสนประ เปด # แลวเลือ่ นเคอรเซอร ตรงไปยังจุดที่ 4 ทันที แลวคลิกซาย เลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 5 แลวคลิกซาย เมือ่ ปรากฏขอความ Specify height ใหพมิ พ -0.1 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูป ที่ 12.55 (ซาย) 141. จากรูปที่ 12.55 (ซาย) รวมโซลิดชายคาและฝาใหกลายเปนชิน้ เดียวกัน โดยใชคําสัง่ Modify4Solid Editing4Union เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects คลิกโซลิด จุดที่ 6, 7, 8 และ 9 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.55 (ขวา)

chap-12-1.PMD

286

12/10/2549, 21:50

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

287

รูปที่ 12.55

142. ละลาย(Thaw)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ชือ่ เลเยอร “หลังคา” เพือ่ กําหนดให ปรากฏดังรูปที่ 12.56 (ซาย)

ของเลเยอร “หลังคา” แลวคลิกบน เปนเลเยอรใชงาน จะ

รูปที่ 12.56

143. จากรูปที่ 12.56 (ซาย) คัดลอกหลังคา โดยใชคําสัง่ Modify4Copy {จากรูปที่ 12.56 (ซาย) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด} {คลิกบนหลังคาจุดที่ 10 } Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ} Specify base point or [Displacement] : {คลิกจุดที่ 11} Specify second point or <use first point as displacement>: {คลิกจุดที่ 12} Specify second point or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิ กขวาหรื อกดปุ ม Q จะปรากฏดั งรู ปที่ 12.56 (ขวา)} Command: _copy Select objects:

144. จากรูปที่ 12.56 (ขวา) รวมโซลิ ดหลังคาใหกลายเปนชิ้ นเดียวกัน โดยใชคําสั่ ง Modify4Solid Editing4Union เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects คลิกโซลิด จุดที่ 13, 14 และ 15 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.57 (ซาย) รูปที่ 12.57

chap-12-1.PMD

287

12/10/2549, 21:50

288

145. เปดโหมดเปเปอรสเปคทีฟ โดยคลิกบนปุม ไอคอน Perspective Projection บน แดชบอรด แลวละลาย(Thaw)เลเยอรทั้งหมด แชแข็ง(Freeze)เลเยอร “ตัวอักษร กํากับพื้นชั้นบน”, “ตัวอักษรกํากับพื้ นชั้นลาง”,“ตัวอักษรกํากับพื้นนอกบาน”, ”เสนโครง”,”เสนบอกขนาด” แลวกําหนดใหเลเยอร 0 (ศูนย) เปนเลเยอรใชงาน จะปรากฏดังรูปที่ 12.57 (ขวา)

2D Drafting

146. บันทึกสถานะเลเยอรเก็บไวใชงาน โดยใชคําสั่ง Format4Layer จะปรากฏ ไดอะล็ อค Layer Properties Manager คลิกบนปุ มไอคอน Layer States Manager จะปรากฏไดอะล็อค Layer States Manager ใหคลิกบนปุม New เมื่อ ปรากฏไดอะล็อค New Layer State to Save พิมพชื่อสถานะ “แสดงรูปบาน” แลว คลิกบนปุม OK คลิกบนปุม Close คลิกบนปุม OK เพือ่ ออกจากไดอะล็อคทัง้ หมด 147. บันทึกมุมมองดังรูปที่ 12.57 (ขวา) เก็บไวใชงาน โดยคลิกบนปุม ไอคอน บน ทูลบาร 3D Modeling คางไว แลวคลิกบนปุม ไอคอน เพือ่ บันทึกมุมมองที่ 3 หากตอไปเราตองการเรียกคืนมุมมองดังกลาวกลับมาใชงานอีกครั้ง เราสามารถ คลิกปุม ไอคอน ไดทนั ที ทดลองคลิกปุม ไอคอน และ ซึ่งเราไดบันทึก มุมมองไวในขอ 68 จะปรากฏดังรูปที่ 12.58 (ซาย) และ 12.58 (ขวา) ตามลําดับ

รูปที่ 12.58

Note

เมือ่ เราตรวจสอบโมเดลรูปบานแลว ปรากฏวามีจดุ ผิดพลาดอยู 1 จุดคือเสาระเบียงตนทีอ่ ยูด า นหนาไม อยูใ นตําแหนงมุมระเบียง เนือ่ งจากผิดพลาดมาจากแบบแปลน 2 มิติ แตเราสามารถแกไขใหถูกตองได อนึง่ การยายตําแหนงเสาใหอยูท มี่ มุ ระเบียงนัน้ ไมใชเรือ่ งทีย่ งุ ยาก แตการยายตําแหนงเสาจะไปกระทบ กับพื้น ดังนั้น เราจะตองแกไขพืน้ ดวยโดยมีขนั้ ตอนดังตอไปนี้

Parallel Projection บน 148. ป ดโหมดเปอรสเปคที ฟ โดยคลิ กบนปุ มไอคอน แดชบอรด แลวใชคําสัง่ View4Orbit4Contrained Orbit หมุนมุมมอง และ ใชคําสั่ง View4Zoom4Realtime ขยายภาพใหปรากฏดังรูปที่ 12.59 (ซาย) 149. จากรูปที่ 12.59 (ซาย) เคลือ่ นยายเสา โดยใชคําสัง่ Modify4Move เปด # เมือ่ ปรากฏ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 1 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify base point ... คลิกจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏ Specify second point... คลิกจุดที่ 3 จะปรากฏ ดังรูปที่ 12.59 (ขวา)

chap-12-1.PMD

288

12/10/2549, 21:50

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

289

รูปที่ 12.59

150. จากรู ปที่ 12.59 (ขวา) ตั ดเฉื อนพื้ น โดยใช คําสั่ ง Modify43D Operations4Slice {จากรูปที่ 12.59 (ขวา) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด} {คลิกบนพืน้ ตรงจุดที่ 4 เพือ่ เลือกวัตถุทตี่ อ งการตัด} Select objects to slice: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ} Command: _slice

Select objects to slice:

Specify start point of slicing plane or [planar

ZX {ใหพมิ พตวั เลือก ZX แลวกดปุม Q ใหสงั เกตุระนาบตัดจากยูซเี อสไอคอน} Specify a point on the ZX-plane <0,0,0>: {คลิกจุดที่ 5 เพือ่ กําหนดจุดทีร่ ะนาบตัดพาดผาน } Specify a point on desired side or [keep Both sides] : {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 6 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย อีกดานหนึง่ ของโซลิดจะถูกตัดทิง้ ไปดังรูปที่ 12.60 (ซาย) }

Object/Surface/Zaxis/View/XY/YZ/ZX/3points] <3points>:

รูปที่ 12.60

151. จากรูปที่ 12.60 (ซาย) วัดระยะหาง โดยใชคําสั่ง Tools4Inquiry4Distance เปด # คลิกจุดที่ 7 และ 8 โปรแกรมรายงานระยะหาง Delta Y = 0.4000 152. จากรูปที่ 12.60 (ซาย) เพิม่ ความหนาใหโซลิด โดยใชคําสัง่ Modify4Solid Editing 4Extrude Faces เมือ่ ปรากฏ Select faces... คลิกบนผิวหนาตรงจุดที่ 9 และ 10 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify height of extrusion ... พิมพ 0.4 แลวกดปุม Q เมือ่ ปรากฏ Specify angle of taper... กดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.60 (ขวา) Note

chap-12-1.PMD

ขณะนีเ้ ราไดแกไขโมเดลบานไดถูกตองเรียบรอยแลว ตอไป เราจะสรางประตู หนาตาง วงกบ แลวเจาะ ชองบนผนัง แตเราจะไมสรางประตูหนาตางในไฟล .dwg ทีเ่ ก็บโมเดลบานหลังนี้ เราจะสรางประตูแยก ไปเก็บไวในไฟล .dwg อีกไฟลหนึง่ แลวสรางหนาตางไปเก็บไวในไฟล .dwg อีกไฟลหนึง่ หากมีประตู 6 แบบ เราจะแยกไฟล .dwg เปน 6 ไฟล หากมีหนาตาง 7 แบบ เราจะแยกไฟล .dwg เปน 7 ไฟล รวม ทัง้ สิน้ เปน 13 ไฟล แลวจึงนําไฟล .dwg ของประตูหนาตางมาสอดแทรกบนผนังแบบบล็อคหรือเอกซเรฟ ใน AutoCAD 2007 เอกซเรฟยังมีปญ  หาทีร่ อการแกไขจาก Autodesk, Inc. ดังนัน้ เราจึงเลือกสอดแทรก ไฟลแบบบล็อคแทน ซึ่งก็สามารถอับเดท หากมีการเปลี่ยนรูปแบบไดเชนเดียวกันกับเอกซเรฟ

289

12/10/2549, 21:50

290

Note

ในทีน่ ผี้ เู ขียนจะแสดงวิธกี ารสรางไฟล .dwg สําหรับเก็บบานประตูแบบทีห่ นึง่ DoorType1 และหนาตาง WinType1 เพียง 2 แบบเทานั้น สวนประตูและหนาตางแบบอื่นๆ มีวิธีการสรางเหมือนๆ กัน ดังนั้น ผูเขียนจึงไดสรางไฟล .dwg เก็บประตู 6 แบบและหนาตาง 7 แบบซึ่งทั้งหมดเปน 3 มิติ บรรจุอยูใน โฟลเดอร \Exercise บนแผ น DVD-ROM เรี ยบร อยแล ว ไฟล รู ป ประตู คื อ DoorType1.dwg, DoorType2.dwg, ... , DoorType6.dwg ไฟลรูปหนาตางคือ WinType1, WinType2, ... , WinType7 ผูอานสามารถนําไปใชงานตอไปไดทันที เพื่อประหยัดหนากระดาษและไมตองการแสดงขั้นตอน ที่ซ้ําซาก แตถาหากผูอ านตองการทดลองสรางประตูหนาตางแตละแบบ โดยเริ่มจาก 2 มิตดิ วยตนเอง ก็สามารถทําได โดยผูเ ขียนไดบรรจุบล็อคประตูและหนาตาง 2 มิตทิ ุกแบบไวในไฟล House-2D.dwg ซึ่งอยูในโฟลเดอรที่ไดระบุไวขางตนอีกดวย ในการสรางประตู 3 มิติ DoorType1 และหนาตาง 3 มิติ WinType1 มีรายละเอียดและขัน้ ตอนดังตอไปนี้

2D Drafting

153. เปดไฟล House-2D.dwg จากโฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM แนบทาย หนังสือคูม อื เลมนี้ จะปรากฏดังรูปที่ 12.61 (ซาย) รูปที่ 12.61

154. รูปที่ 12.61 (ซาย) คลิกบนบล็อคประตูตรงจุดที่ 1 จนกระทั่งบล็อคประตูปรากฏ จุดกริป๊ สและเสนประ เลือกคําสัง่ Edit4Copy with Base Point เมือ่ ปรากฏขอความ Specify base point: คลิกจุดที่ 1 เพือ่ กําหนดจุดสอดแทรก เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects คลิกบน บล็อคประตูตรงจุดที่ 2 แลวคลิกขวา 155. ใชคําสั่ง File4New เลือกเทมเพล็ทไฟล Acadiso3d.dwt จะปรากฏดังรูปที่ 12.61 (ขวา) เนือ่ งจากประตูจะตองตั้งขึ้นในแนวดิง่ และขนานกับวิวพอรท Front (มุมซายบน) ดังนั้ น เราจะตองคลิ กวิ วพอร ท Front แล วใช คําสั่ ง Edit4 Paste เมือ่ ปรากฏขอความ Specify insertion point: คลิก ณ ตําแหนงใดๆ ในวิวพอรท Front หรือคลิกจุดที่ 3 เราจะเห็นวาบล็อคที่ปรากฏในวิวพอรทมีขนาดเล็กมากแทบจะ มองไมเห็น ใหคลิกปุม ไอคอน Zoom All Viewports บนทูลบาร 3D Modeling จะปรากฏดังรูปที่ 12.62 Note

chap-12-2.PMD

หากตองการปรับสีของวิวพอรท 2D model space และ 3D parallel projection เราสามารถใชคําสั่ง Tools4Options แลวคลิกแถบคําสัง่ Display คลิกปุม Colors เลือก 2D model space จากชองหนาตาง Context แลวเลือกสีขาวหรือสีดําจากแถบรายการ Color เลือก 3D parallel projection จากชองหนาตาง Context แลวเลือกสีขาวหรือสีดําจากแถบรายการ Color แลวคลิกบนปุม Apply & Close แลวคลิกบน ปุม OK เพือ่ ออกจากไดอะล็อคทัง้ หมด

290

12/10/2549, 21:51

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

291

รูปที่ 12.62

156. จากรูปที่ 12.62 ระเบิดบล็อคใหกลายเปนวัตถุธรรมดา โดยใชคําสั่ง Modify4 Explode แลวคลิกจุดที่ 4 แลวคลิกขวา แลวคลิกบนปุมไอคอน Save & Update Viewport Configuration เพือ่ บันทึกและปรับปรุงวิวพอรทใหม Note

ถาคลิกแถบรายการควบคุมเลเยอร เราจะเห็นวามีการแยกวัตถุไวใน 2 เลเยอรคือเลเยอร Frame สําหรับ วงกบและเลเยอร Door สําหรับบานประตู

157. จากรู ป ที่ 12.62 คลิ ก บนแถบรายการควบคุ ม เลเยอร เปลี่ ย นเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน แลวใชคําสัง่ Draw4Boundary เมือ่ ปรากฏไดอะล็ อค Boundary Creation ให แน ใจว าปรากฏเครื่ องหมาย บน เช็คบอกซ Island detection แลวเลือก Region ในแถบรายการ Object type คลิกปุม Pick point เมือ่ ปรากฏขอความ Pick internal point: คลิกบนพืน้ ทีว่ า งตรงจุดที่ 4 แลวคลิกขวา จะปรากฏขอความ BOUNDARY created 7 regions แสดงให ทราบวา Region ถูกสรางขึน้ มา 7 ชิน้ 158. จากรู ป ที่ 12.62

คลิ ก บนแถบรายการควบคุ ม เลเยอร เปลี่ ย นเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน ใชคําสั่ง Draw4Boundary เมื่ อ ปรากฏไดอะล็ อค Boundary Creation ให แน ใจว าปรากฏเครื่ องหมาย บน เช็คบอกซ Island detection แลวเลือก Region ในแถบรายการ Object type คลิกปุม Pick point เมือ่ ปรากฏ Pick internal point: คลิกจุดที่ 5 และ 6 แลวคลิกขวา จะปรากฏ BOUNDARY created 4 regions แสดงใหทราบวา Region ถูกสรางขึน้ มา 4 ชิน้ วิวพอรท Front จะปรากฏดังรูปที่ 12.63 (ซาย) วิวพอรท Perspective จะปรากฏ ดังรูปที่ 12.63 (ขวา)

159. จากรู ปที่ 12.63 (ซ าย) หั กลบ Region โดยใชคําสั่ ง Modify4 Solid Editing4 Subtract เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract from .. Select

chap-12-2.PMD

291

12/10/2549, 21:51

292

รูปที่ 12.63

2D Drafting

objects: คลิกจุดที่ 1 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกจุดที่ 2, 3, 4, 5, 6, 7 แลวคลิกขวา 160. จากรูปที่ 12.63 (ซาย) หักลบ Region ตอไป โดยคลิกขวา เพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ Modify4 Solid Editing4Subtract เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract from .. Select objects: คลิกจุดที่ 8 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกจุดที่ 9 แลวคลิกขวา 161. จากรูปที่ 12.63 (ซาย) หักลบ Region ตอไป โดยคลิกขวา เพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ Modify4 Solid Editing4Subtract เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract from .. Select objects: คลิกจุดที่ 10 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกจุดที่ 11 แลวคลิกขวา วิ วพอร ท Front จะปรากฏดังรูปที่ 12.64 (ซาย) วิวพอรท Perspective จะปรากฏดังรูปที่ 12.64 (ขวา) รูปที่ 12.64

162. จากรู ป ที่ 12.64 (ซ า ย) คลิ ก บนแถบรายการควบคุ ม เลเยอร เปลี่ ยนเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน แลวใชคําสัง่ Draw4Boundary เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Boundary Creation แลวเลือก Region ในแถบรายการ Object type คลิกปุม Pick point เมื่อปรากฏขอความ Pick internal point: คลิกบน พืน้ ทีว่ า งตรงจุดที่ 12 ถึง 19 แลวคลิกขวา จะปรากฏขอความ BOUNDARY created 8 regions แสดงใหทราบวา Region ถูกสรางขึน้ มา 8 ชิน้

chap-12-2.PMD

292

12/10/2549, 21:51

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

293

163. จากรู ป ที่ 12.62

คลิ ก บนแถบรายการควบคุ ม เลเยอร เปลี่ ย นเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน ใชคําสั่ง Draw4Boundary เมื่ อ ปรากฏไดอะล็อค Boundary Creation แลวเลือก Region ในแถบรายการ Object type คลิกปุม Pick point เมือ่ ปรากฏ Pick internal point: คลิกจุดที่ 20 ถึง 27 แลวคลิกขวา จะปรากฏ BOUNDARY created 8 regions แสดงใหทราบวา Region ถูกสรางขึ้นมา 8 ชิ้น วิวพอรท Front จะปรากฏดังรูปที่ 12.65 (ซาย) วิวพอรท Perspective จะปรากฏดังรูปที่ 12.65 (ขวา) รูปที่ 12.65

164. ตอไปเราจะเริม่ สราง Region สําหรับกระจก โดยสรางเลเยอรใหม 2 เลเยอร โดยใช คลิกบนปุม New Layer 2 ครัง้ เปลี่ยนชือ่ เลเยอร คําสั่ง Format4Layer Layer1 เปน Glass แลวกําหนดสีเหลือง Yellow เปลีย่ นชือ่ เลเยอร Layer2 เปน Solid แลวกําหนดสีเทารหัสสี 9 แลวกําหนดใหเลเยอร Glass เปนเลเยอรใชงาน Note

เลเยอร Solid เราสรางขึน้ มาเพือ่ ใชเก็บโซลิดกลองสีเ่ หลีย่ มที่มขี นาดเทากับชองประตู เพื่อนําไปใชใน การหักลบผนังเพือ่ เจาะชองบนผนัง

Note

ในการสรางกระจก เรานิยมสรางกระจกเปนแผนใหญๆ แผนเดียว ซึง่ จะคอนขางประหยัดหนวยความ จํามากกวา แตเราจะตองใชคําสั่ง Draw4Polyline เขียนหนาตัดกระจกใหม แลวแปลงใหเปน Region ดวยตนเอง เพราะในขณะนี้ เราไมสามารถใชคําสั่ง Draw4Boundary สรางกระจกแผน ใหญได เนือ่ งจากมีควิ้ กระจกขวางกัน้ อยู หรือเราอาจจะยายคิว้ กระจกไปไวในเลเยอรอนื่ ๆ ชัว่ คราวกอน แลวจึง Freeze เลเยอรนั้น เราจึงจะสรางกระจกแผนใหญได แตในที่นี้ เราจะสรางกระจกแยกอิสระ แตละแผนแบบเหมือนจริง ซึ่งเปนวิธีที่งายไมยงุ ยาก โดยทําตามขั้นตอนตอไปนี้

165. จากรูปที่ 12.65 (ซาย) ใหแนใจวา เปนเลเยอรใชงาน แลวใช คําสั่ง Draw4Boundary เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Boundary Creation แลวเลือก Region ในแถบรายการ Object type คลิกปุม Pick point เมือ่ ปรากฏขอความ Pick internal point: คลิกบนพื้นทีว่ างตรงจุดที่ 28 ถึง 51 แลวคลิกขวา จะปรากฏ ขอความ BOUNDARY created 24 regions แสดงใหทราบวา Region ถูกสรางขึน้ มา 24 ชิ้น วิวพอรท Front จะปรากฏดังรูปที่ 12.66 (ซาย) วิวพอรท Perspective จะ ปรากฏดังรูปที่ 12.66 (ขวา)

chap-12-2.PMD

293

12/10/2549, 21:51

294

รูปที่ 12.66

2D Drafting

166. ลบเสน 2 มิตติ า งๆ ทัง้ หมดทีม่ ไิ ดใชงานอีกตอไป โดยใชคําสัง่ Tools4Quick Select เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Quick Select คลิกแถบรายการ Object type แลวเลือก Line ใหปรากฏในแถบรายการ เลือก Select All ในแถบรากการ Operator แลวคลิก บนปุม OK จะปรากฏจุดกริป๊ สสีน้ําเงินบนเสนตรงไลน 2 มิติทง้ั หมด ใหกดปุม = บนคียบอรด เพือ่ ลบเสนตรง 2 มิติทง้ั หมด แลวใชคําสัง่ Tools4Quick Select อีกครัง้ เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Quick Select คลิกแถบรายการ Object type แลวเลือก MLine ใหปรากฏในแถบรายการ เลือก Select All ในแถบรายการ Operator แลว คลิกบนปุม OK จะปรากฏจุดกริป๊ สสนี า้ํ เงินบนเสนมัลติไลน 2 มิตทิ ง้ั หมด ใหกดปุม = บนคียบอรด เพือ่ ลบเสนตรงมัลติไลน 2 มิตทิ ง้ั หมด เพือ่ กําหนด 167. บนแถบรายการควบคุมเลเยอร คลิกชือ่ เลเยอร ใหเปนเลเยอรใชงาน แลวแชแข็ง(Freeze)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของ เลเยอร Glass แล ว คลิ ก ชื่ อเลเยอร เพื่ อกําหนดให เป น เลเยอรใชงาน 168. ขยายวิวพอรท โดยคลิกวิวพอรท Perspective (มุมลางขวา) โดยคลิกบนปุม บน ทูลบาร 3D Modeling แลวคลิกบนปุม Parallel Projection บนแดชบอรด จะ ปรากฏดังรูปที่ 12.67 (ซาย)

รูปที่ 12.67

chap-12-2.PMD

294

12/10/2549, 21:51

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

295

169. จากรูปที่ 12.67 (ซาย) เริม่ เพิม่ ความหนาใน 3 มิติใหกบั วงกบ โดยใชคําสัง่ Draw4 Modeling4Extrude ตามวิธีในขอ 6 เมื่อปรากฏ Select objects to extrude: คลิกบน Region จุดที่ 1 แลวคลิกขวา เมื่อปรากฏ Specify height of extrusion... พิมพความหนา 0.1 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.67 (ซาย-กลาง) 170. จากรูปที่ 12.67 (ซาย-กลาง) เพิ่มความหนาใน 3 มิติใหกับคิ้วกระจกของวงกบ เมื่อปรากฏ Select โดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ Draw4Modeling4Extrude objects to extrude: คลิก Region จุดที่ 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify height of extrusion... พิ มพ ความหนา 0.035 แลวกดปุ ม Q จะ ปรากฏดังรูปที่ 12.67 (กลาง-ขวา) 171. จากรูปที่ 12.67 (กลาง-ขวา) รวมโซลิดวงกบกับโซลิดคิ้วกระจกทั้งหมดใหกลาย เป นโซลิ ดชิ้ นเดี ยวกั น โดยใช คําสั่ ง Modify4 Solid Editing4 Union เมื่ อ ปรากฏขอความ Select objects คลิกจุดที่ 10-11 และจุดที่ 12-13 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Crossing แลวคลิกขวา เพือ่ กําหนด

172. บนแถบรายการควบคุมเลเยอร คลิกชือ่ เลเยอร ใหเปนเลเยอรใชงาน

173. จากรูปที่ 12.67 (กลาง-ขวา) เพิม่ ความหนาใน 3 มิตใิ หกับบานประตู โดยใชคําสัง่ Draw4Modeling4Extrude ตามวิธีในขอ 6 เมื่ อปรากฏ Select objects to extrude: คลิกบน Region จุดที่ 14-15 เพื่อเลือกวัตถุแบบ Crossing แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify height of extrusion... พิมพความหนา 0.04 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.67 (ขวา) 174. จากรูปที่ 12.67 (ขวา) รวมโซลิดบานประตูกับโซลิดคิ้ วกระจกเฉพาะของบาน ประตูดา นซายใหกลายเปนโซลิดชิน้ เดียวกัน โดยใชคําสัง่ Modify4Solid Editing4 Union เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects คลิกจุดที่ 16-17 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Crossing แลวคลิกขวา 175. จากรูปที่ 12.67 (ขวา) รวมโซลิดบานประตูกับโซลิดคิ้ วกระจกเฉพาะของบาน ประตูดา นขวาใหกลายเปนโซลิดชิน้ เดียวกัน โดยใชคําสัง่ Modify4Solid Editing4 Union เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects คลิกจุดที่ 18-19 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Crossing แลวคลิกขวา Note

chap-12-2.PMD

เหตุทเี่ ราไมรวมโซลิดบานประตูทงั้ ซายและขวาใหเปนชิน้ เดียวกันไปพรอมๆ กัน โดยแยกออกเปนบาน ประตูดา นซายและบานประตูดา นขวา ก็เพราะวาเรายังไมทราบวาจะเปดประตูนหี้ รือไม หากเรา Union บานประตูทั้งสองเขาดวยกัน ตอไปหากตองการเปดประตู เราจะไมสามารถทําได ดังนั้น เราจึงจะไม Union บานประตูทั้งสองเขาดวยกัน

295

12/10/2549, 21:51

296

176. บนแถบรายการควบคุมเลเยอร ละลายเลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร Glass แลวคลิกบนชือ่ เพือ่ กําหนดใหเปนเลเยอรใชงาน แลว แชแข็ง(Freeze)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร Frame และแชแข็ง (Freeze)เลเยอร โดยคลิ กบนไอคอน ของเลเยอร Door แล ว คลิ ก บนชื่ อ เพือ่ กําหนดใหเปนเลเยอรใชงานจะปรากฏดังรูปที่ 12.68 (ซาย)

2D Drafting

รูปที่ 12.68

177. จากรูปที่ 12.68 (ซาย) เพิม่ ความหนาใน 3 มิตใิ หกับกระจกทัง้ หมด โดยใชคําสัง่ Draw4Modeling4Extrude เมือ่ ปรากฏ Select objects to extrude: คลิกจุดที่ 1-2 เพื่ อเลื อกวั ตถุ แบบ Crossing แล วคลิ กขวา เมื่ อปรากฏ Specify height of extrusion... พิมพความหนา 0.005 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.68 (กลาง) 178. จากรูปที่ 12.67 (กลาง) รวมโซลิดกระจกเฉพาะของวงกบใหกลายเปนโซลิดชิ้น เดียวกัน โดยใชคําสัง่ Modify4Solid Editing4Union เมือ่ ปรากฏ Select objects คลิกจุดที่ 3-4 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Window คลิกบนวัตถุจดุ ที่ 5, 6 คลิกจุดที่ 7-8 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Window แลวคลิกขวา 179. จากรูปที่ 12.67 (กลาง) รวมโซลิดกระจกเฉพาะของบานประตูดานซายใหกลาย เปนโซลิดชิน้ เดียวกัน โดยใชคําสัง่ Modify4Solid Editing4Union เมือ่ ปรากฏ Select objects คลิกจุดที่ 9-10 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Crossing แลวคลิกขวา 180. จากรูปที่ 12.67 (กลาง) รวมโซลิดกระจกเฉพาะของบานประตูดานขวาใหกลาย เปนโซลิดชิน้ เดียวกัน โดยใชคําสัง่ Modify4Solid Editing4Union เมือ่ ปรากฏ Select objects คลิกจุดที่ 11-12 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Crossing แลวคลิกขวา 181. บนแถบรายการควบคุมเลเยอร ละลายเลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร Frame ละลายเลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร Door แลวคลิกบนชื่อ เลเยอร เพื่อกําหนดใหเปนเลเยอรใชงาน จะปรากฏดังรูปที่ 12.68 (ขวา)

chap-12-2.PMD

296

12/10/2549, 21:51

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

297

182. จากรูปที่ 12.68 (ขวา) หมุนประตู 180 องศา โดยใชคําสัง่ Modify4Rotate เปด # เมื่อปรากฏ Select objects คลิกจุดที่ 13 และ 14 เพื่อเลือกวัตถุแบบ Crossing แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Specify base point: คลิกจุดที่ 15 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify rotation angle or [Copy/Reference] <0>: พิมพคา มุม 180 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 18.69 (ซาย) รูปที่ 12.69

183. จากรูปที่ 12.69 (ซาย) เคลือ่ นยายกระจกทัง้ หมดใหเลือ่ นเขาไปในวงกบและบาน ) เมือ่ ปรากฏ ประตู 0.005 เมตร โดยใชคําสั่ง Modify4Move เปด Select objects: คลิกโซลิดกระจกจุดที่ 16, 17 และ 18 แลวคลิกขวา เมื่อปรากฏ Specify base point ... คลิกประมาณจุดที่ 19 เมือ่ ปรากฏ Specify second point... เลือ่ นเคอรเซอรไปตามทิศทางของจุดที่ 20 เมื่อปรากฏเวคเตอร ใหพมิ พ 0.005 แลวกดปุม Q หาก Zoom ขึน้ มาตรวจสอบจะปรากฏดังรูปที่ 12.69 (กลาง) 184. จากรูปที่ 12.69 (ซาย) ใหแนใจวาเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน ปรับมุมมอง โดยใชคําสั่ง View43D Views4SE Isometric แลวปรับ UCS กลับไปที่ WCS โดยใชคําสั่ง Tools4New UCS4World แลวสรางโซลิดขนาด เทากับชองทีจ่ ะเจาะบนผนัง เพือ่ เก็บไวสําหรับหักลบ(Subtract)ผนัง โดยใชคําสัง่ Draw4Modeling4Box ปด ^ เปด # เมื่อปรากฏขอความ Specify first corner or [Center]: คลิกจุดที่ 21 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify other corner or [Cube/Length]: คลิกจุดที่ 22 จะปรากฏดังรูปที่ 12.69 (ขวา) Note

chap-12-2.PMD

เหตุที่เราตองสรางโซลิดกลองสี่เหลี่ยมไวในเลเยอร Solid เก็บไวในไฟล DoorType1.dwg ก็เพราะวา เราสามารถนําโซลิดกลองสี่เหลี่ยมที่มขี นาดพอดีกบั ประตูไปใชในการเจาะชองผนัง เราจะไดไมตอ ง เสียเวลาสรางโซลิดประตูใหม เมื่อตองการเจาะชองประตูบนผนัง เมื่อเราสรางโซลิดกลองที่จะใช สําหรับเจาะผนังขึน้ มาแลว โซลิดจะซอนทับกับประตูพอดี เราสามารถแชแข็ง(Freeze)เลเยอร Solid เพือ่ ซอนโซลิดกลองที่จะใชในการเจาะชองผนังได เมื่อยังไมตอ งการทีจ่ ะนําโซลิดไปใชงาน

297

12/10/2549, 21:51

298

2D Drafting

รูปที่ 12.70

185. บนแถบรายการควบคุมเลเยอร คลิกบนเลเยอร 0 (ศูนย) เพือ่ กําหนดใหเปนเลเยอร ใชงาน แลวแชแข็ง(Freeze)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร Solid แลวคลิกบน ชือ่ เลเยอร 0 (ศูนย) เพือ่ กําหนดใหเปนเลเยอรใชงาน จะปรากฏดังรูปที่ 12.70 (ซาย) Note

เปนอันเสร็จสิ้นการสรางโมเดล 3 มิตขิ องบานประตู แตเราจะตองสรางและกําหนดแมททีเรียลใหกับ ประตู กอนทีจ่ ะบันทึกลงในไฟล เพราะหากเรานําประตูไปสอดแทรกในไฟลโมเดลบานแบบเอกซเรฟ เราจะไมสามารถกําหนดแมททีเรียลใหกบั ประตูในไฟลหลักได เราจะตองเปดไฟลประตูออกมาแลวจึง กําหนดแมททีเรียลใหกบั ประตูโดยตรง ดังนัน้ เราจึงกําหนดแมททีเรียลใหพรอมในไฟลประตูนดี้ ว ยดังนี้

186. สรางแมททีเรียลใหมสําหรับวงกบและบานประตูเปนสีขาว โดยคลิกบนปุม Materials บนแดชบอรดจะปรากฏดังรูปที่ 12.70 (ขวา) แลวคลิกขวาบนพื้นทีว่ างๆ บนชองหนาตางแสดงตัวอยางแมททีเรียล เลือกคําสั่ ง Create New Material... เมื่อปรากฏไดอะล็อค Create New Material ตั้งชื่อแมททีเรียลวา “White Color” แลวคลิกบนปุม OK ใชเทมเพล็ททีโ่ ปรแกรมกําหนดมาให แลวคลิกตลับสี Diffuse กําหนดคาสีเปนสีขาว R,G,B = 255,255,255 แลวปรับ Self-Illumination = 10 นอกนั้ นใช ค าที่ โปรแกรมกํา หนดมาให สร างแมทที เรี ยลใหม สําหรั บกระจก โดยคลิกขวาบนพืน้ ทีว่ างๆ บนชองหนาตางแสดงตัวอยางแมททีเรียล เลือกคําสัง่ Create New Material... เมื่ อปรากฏไดอะล็ อค Create New Material ตั้ งชื่ อ แมททีเรียลวา “Clear Glass” แลวคลิกบนปุม OK เลือกเทมเพล็ท Advanced จาก แถบรายการ Template แลวคลิกตลับสี Diffuse กําหนดคาสีเปนสีขาว R,G,B = 250,250,250 ปรับคา Shininess = 75, Refraction Index = 1.13, Opacity = 2 แลวคลิก บนปุม Select Image ของ Reflection คนหารูปอิมเมจ Sky.jpg แลวคลิกบนปุม Open คลิกบนปุม ถัดจากปุม Select Image เลือก Meters จากแถบรายการ Units กําหนดคา Width = 1 , Height = 1 แลวคลิกบนปุม OK เพือ่ ออกจากไดอะล็อค กําหนดคา Reflection = 50 นอกนัน้ ใชคา ทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาให 187. จากรูปที่ 12.70 (ซาย) เริม่ กําหนดแมททีเรียล “White Color” ใหกบั วงกบและบาน ประตู โดยดั บเบิ้ ลคลิ กบนรูปตั วอย างแมทที เรี ยล “White Color” เมื่ อปรากฏ

chap-12-2.PMD

298

12/10/2549, 21:51

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

299

ขอความ Select objects: คลิกบนวงกบตรงจุดที่ 1 คลิกบานประตูดานขวาจุดที่ 2 และคลิกบานประตูดานซายจุดที่ 3 แลวคลิกขวา 188. จากรูปที่ 12.70 (ซาย) เริ่มกําหนดแมททีเรียล “Clear Glass” ใหกับกระจก โดย ดับเบิล้ คลิกบนรูปตัวอยางแมททีเรียล “Clear Glass” เมื่อปรากฏขอความ Select objects: คลิกบนกระจกตรงจุดที่ 4, 5, 6 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.71 (ซาย) รูปที่ 12.71

189. กําหนดหนวยวัดในการสอดแทรกวัตถุ โดยใชคําสั่ง Format4Unit เมื่อปรากฏ ไดอะล็อค Drawing Units ใหเลือก Meters จากแถบรายการ Units to scale inserted contents แลวคลิกบนปุม OK เพื่อออกจากไดอะล็อค 190. จากรู ปที่ 12.71 (ซ า ย) กําหนดจุ ดสอดแทรก โดยพิ มพ BASE ผ านบรรทั ด Command: เมือ่ ปรากฏขอความ Enter base point เปด # ใหคลิกจุดที่ 7 Note

ขอนีม้ คี วามสําคัญมากกับการนําโมเดลประตูนไี้ ปสอดแทรกในไฟลรปู บาน ซึง่ หนวยในการสอดแทรก วัตถุจะตองเปน Meters เหมือนกัน มิฉะนั้น เมื่อนําไฟลไปสอดแทรกจะไมไดขนาดที่ถูกตอง

191. บันทึกไฟลประตูแบบที่ 1 ลงดิสค โดยใชคําสั่ง File4Save As เมื่อปรากฏ ไดอะล็อค Save Drawing As ใหตั้งชื่อไฟล “DoorType1.dwg” ใหแนใจวาแถบ รายการ Files of type ปรากฏเปน AutoCAD 2007 Drawing (*.dwg) แลวเลือก โฟลเดอรเดียวกันกับไฟลบา นเดีย่ วทีเ่ รากําลังทํางานคางไว แลวคลิกบนปุม Save เปนอันเสร็จสิน้ การสรางไฟล .dwg สําหรับเก็บประตูแบบที่ 1 Note

กอนที่เราจะเริม่ สรางหนาตางแบบที่ 1 WinType1.dwg เราจะทําการนําแมททีเรียล White Color และ Clear Glass ที่เราไดสรางขึ้นในขอ 186 ออกไปเก็บไวในไลบรารี่ Tool Palettes -Materials เพื่อใหเรา สามารถนําแมททีเรียลทัง้ สองไปใชงานในไฟลแบบแปลนอืน่ ๆ รวมทัง้ ไฟลประตูหนาตางทีเ่ รายังไมได สราง รวมไปถึงไฟลบานเดียวที่เรากําลังทํางานคางอยู โดยมีขั้นตอนดังตอไปนี้

บน Materials control panel บนแดชบอรด จะปรากฏหนาตาง Tool 192. คลิกบนปุม palettes ดังรูปที่ 12.72 (ซาย) คลิกขวาบนหนาตาง แลวเลือกคําสัง่ New Palette ตั้งชื่อพาเลทเปน “House3D” จะปรากฏหนาตางทูลพาเลทเปลาๆ ดังรูปที่ 12.72

chap-12-2.PMD

299

12/10/2549, 21:51

300

2D Drafting

รูปที่ 12.72

(กลาง) ตอไปคลิ กขวาบนรูปตัวอย างแมททีเรียล “White Color” บนหนาตาง Materials ดังรูปที่ 12.70 (ขวา) แลวเลือกคําสัง่ Export to Active Tool Palette คลิก ขวาบนรูปตัวอยางแมททีเรียล “Clear Glass” บนหนาตาง Materials แลวเลือกคําสัง่ Export to Active Tool Palette แมทที เรี ยลทั้ งสองจะถูกคั ดลอกไปเก็ บไว ใน ไลบรารี่ Tool Palettes ดังรูปที่ 12.72 (ขวา) เราสามารถนําแมททีเรียลทัง้ สองไปใช งานกับไฟลแบบแปลนใดๆ ไดทันที Note

ตอไปเราจะเริ่มสรางหนาตางแบบที่ 1 WinType1 โดยมีขั้นตอนดังตอไปนี้

193. เปดไฟล House-2D.dwg จากโฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM แนบทาย หนังสือคูม อื เลมนี้ จะปรากฏดังรูปที่ 12.73 (ซาย)

รูปที่ 12.73

194. รูปที่ 12.73 (ซาย) คลิกบนบล็อคหนาตางโคงตรงจุดที่ 1 จนกระทัง่ บล็อคหนาตาง โคงปรากฏจุดกริ๊ปสและเสนประ เลือกคําสั่ง Edit4Copy with Base Point เมื่อ ปรากฏขอความ Specify base point: คลิกจุดที่ 1 เพือ่ กําหนดจุดสอดแทรก เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects คลิกบนบล็อคหนาตางโคงตรงจุดที่ 2 แลวคลิกขวา 195. ใชคาํ สัง่ File4New

เลือกเทมเพล็ท Acadiso3d.dwt จะปรากฏดังรูปที่ 12.73 (ขวา)

196. เนือ่ งจากหนาตางโคงจะตองตัง้ ขึน้ ในแนวดิง่ และขนานกับวิวพอรท Front (มุมซายบน) ดังนัน้ เราจะตองคลิกวิวพอรท Front แลวใชคาํ สัง่ Edit4Paste เมือ่ ปรากฏขอความ Specify

chap-12-2.PMD

300

12/10/2549, 21:51

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

301

insertion point: คลิก ณ ตําแหนงใดๆ ในวิวพอรท Front หรือคลิกจุดที่ 3 เราจะเห็นวา บล็อคทีป่ รากฏในวิวพอรทมีขนาดเล็กมากแทบจะมองไมเห็น ใหคลิกปุม ไอคอน Zoom All Viewports บนทูลบาร 3D Modeling จะปรากฏดังรูปที่ 12.74 รูปที่ 12.74

197. จากรูปที่ 12.74 ระเบิดบล็อคใหกลายเปนวัตถุธรรมดา โดยใชคําสั่ง Modify4 Explode แลวคลิกจุดที่ 4 แลวคลิกขวา แลวคลิกบนปุมไอคอน Save & Update Viewport Configuration เพือ่ บันทึกและปรับปรุงวิวพอรทใหม Note

ถาคลิกแถบรายการควบคุมเลเยอร เราจะเห็นวามีการแยกวัตถุไวใน 3 เลเยอรคือเลเยอร Frame สําหรับ วงกบ เลเยอร Window สําหรับบานหนาตาง สวนเลเยอร Door มิไดใชงาน แตเราสามารถเปลีย่ นชือ่ เปน เลเยอร Solid เพื่อนําไปใชในการเก็บโซลิดสําหรับหักลบผนังได

198. จากรู ป ที่ 12.74 คลิ ก บนแถบรายการควบคุ ม เลเยอร แล ว เปลี่ ย นเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน แลวใชคําสัง่ Draw4Boundary เมือ่ ปรากฏไดอะล็ อค Boundary Creation ให แน ใจว าปรากฏเครื่ องหมาย บน เช็คบอกซ Island detection แลวเลือก Region ในแถบรายการ Object type คลิกปุม Pick point เมือ่ ปรากฏขอความ Pick internal point: คลิกบนพืน้ ทีว่ า งตรงจุดที่ 5 แลวคลิกขวา จะปรากฏขอความ BOUNDARY created 13 regions แสดงให ทราบวา Region ถูกสรางขึน้ มา 13 ชิ้น วิวพอรท Front จะปรากฏดังรูปที่ 12.75 (ซาย) วิวพอรท Perspective จะปรากฏดังรูปที่ 12.75 (ขวา) 199. เปลี่ ยนชื่ อและสี ของเลเยอร โดยใชคําสั่ ง Format4 Layer คลิกบนเลเยอร “Door” แลวเปลี่ ยนชื่ อเปน “Solid” แลวเปลี่ ยนสีเปนสีเทารหัสสี หมายเลข 9 แลวคลิกบนปุม Apply และ OK เพือ่ ออกจากไดอะล็อค 200. จากรูปที่ 12.75 (ซาย) คัดลอก Region เพือ่ นําไปใชในการเจาะชองหนาตางบนผนัง โดยใชคําสัง่ Modify4Copy

chap-12-2.PMD

301

12/10/2549, 21:51

302

รูปที่ 12.75

2D Drafting

{จากรูปที่ 12.75 (ซาย) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด} {คลิกบน Region ทีอ่ ยูน อกสุดตรงจุดที่ 1 } Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ} Specify base point or [Displacement] : {คลิกจุดที่ 2} Specify second point or <use first point as displacement>: {คลิกจุดที่ 3} Specify second point or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิ กขวาหรื อกดปุ ม Q วิวพอรท Front จะปรากฏดังรูปที่ 12.76 (ซาย) วิวพอรท Perspective จะปรากฏดังรูปที่ 12.76 (ขวา)} Command: _copy Select objects:

รูปที่ 12.76

201. เปลีย่ น Region ทีถ่ ูกสรางในขอ 199 ใหยา ยไปอยูใ นเลเยอร “Solid” โดยในขณะที่ บรรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ คลิกบน Region ตรงจุดที่ 4 ใหปรากฏจุด กริ๊ ปสสีน้ําเงิน แลวเลือกเลเยอร “Solid” จากแถบรายการควบคุมเลเยอร แลว กดปุม D เพื่อยกเลิกการเลือกวัตถุ 202. จากรูปที่ 12.76 (ซาย) เปลีย่ นเลเยอรใชงาน โดยเลือกเลเยอร จากแถบรายการควบคุมเลเยอร เพือ่ กําหนดใหเปนเลเยอรใชงาน เพิม่ ความหนาใน 3 มิตใิ หกบั Region ทีจ่ ะนําไปหักลบออกจากผนัง โดยใชคําสัง่ Draw4Modeling4 Extrude เมือ่ ปรากฏ Select objects to extrude: คลิก Region จุดที่ 4 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify height of extrusion... พิมพความหนา 0.1 แลวกดปุม Q วิวพอรท Front จะปรากฏดังรูปที่ 12.77 (ซาย) วิวพอรท Perspective จะปรากฏดังรูป ที่ 12.77 (ขวา) 203. ลบเสน 2 มิตติ า งๆ ทัง้ หมดทีม่ ไิ ดใชงานอีกตอไป โดยใชคําสัง่ Tools4Quick Select เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Quick Select คลิกแถบรายการ Object type แลวเลือก

chap-12-2.PMD

302

12/10/2549, 21:51

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

303

รูปที่ 12.77

Line ใหปรากฏในแถบรายการ เลือก Select All ในแถบรายการ Operator แลวคลิก บนปุม OK จะปรากฏจุดกริป๊ สสีน้ําเงินบนเสนตรงไลน 2 มิติทง้ั หมด ใหกดปุม = บนคียบ อรด 204. เพือ่ ลบเสน 2 มิตติ อ ไปโดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ Tools4Quick Select ตามวิธใี น ขอ 203 เปลีย่ น Object type เปน Polyline 205. เพือ่ ลบเสน 2 มิตติ อ ไปโดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ Tools4Quick Select ตามวิธใี น ขอ 203 เปลีย่ น Object type เปน Arc 206. เพือ่ ลบเสน 2 มิตติ อ ไปโดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ Tools4Quick Select ตามวิธใี น ขอ 203 เปลีย่ น Object type เปน MLine เพือ่ กําหนด 207. บนแถบรายการควบคุมเลเยอร คลิกชือ่ เลเยอร ใหเปนเลเยอรใชงาน แลวแชแข็ง(Freeze)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของ เลเยอร Solid แลวคลิกชือ่ เลเยอร เพื่อกําหนดใหเปนเลเยอร ใชงาน 208. คลิกวิวพอรทไอโซเมตริก แลวคลิกบนปุม Parallel Projection บนแดชบอรด แลวคลิกบนปุม ไอคอน บนทูลบาร 3D Modeling วิวพอรท Front จะปรากฏ ดังรูปที่ 12.78 (ซาย) วิวพอรท Isometric จะปรากฏดังรูปที่ 12.78 (ขวา) รูปที่ 12.78

chap-12-2.PMD

303

12/10/2549, 21:51

304

209. ¨ Ò¡ ÃÙ »· Õ è12.78 («é ÒÂ) ËÑ ¡ ź Region â´ Âãª é ¤ÓÊÑ § Modify4Solid Editing4 è Subtract เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract from .. Select objects: คลิกบน Region จุดที่5 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกบน Region จุดที่ 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12, 13, 14, 15 แลวคลิกขวา วิวพอรท Front จะปรากฏดังรูปที่ 12.79 (ซาย) วิวพอรท Isometric จะ ปรากฏดังรูปที่ 12.79 (ซาย)

2D Drafting

รูปที่ 12.79

210. ตอไปสรางเลเยอร Glass สําหรับกระจก โดยใชคําสัง่ Format4Layer คลิกบน ปุม New Layer 1 ครัง้ เปลีย่ นชือ่ เลเยอร Layer1 เปน Glass แลวกําหนดสีเหลือง Yellow แลวกําหนดใหเลเยอร Glass เปนเลเยอรใชงาน 211. จากรูปที่ 12.79 (ซาย) เปลีย่ น Region ใหยา ยไปอยูในเลเยอร “Glass” โดยในขณะที่ บรรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ คลิกบน Region ตรงจุดที่ 1 และ 2 ให ปรากฏจุดกริป๊ สสีน้ําเงิน แลวเลือกเลเยอร จากแถบรายการ ควบคุมเลเยอร แลวกดปุม D เพื่อยกเลิกการเลือกวัตถุ 212. จากรู ปที่ 12.79 (ซาย) คลิ กบนแถบรายการควบคุมเลเยอร แลวเปลี่ ยนเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน แลวใชคําสัง่ Draw4Boundary เมือ่ ปรากฏไดอะล็ อค Boundary Creation ปลดเครื่ องหมาย ออกจากเช็คบอกซ Island detection แลวเลือก Region ในแถบรายการ Object type คลิกปุม Pick point เมื่อปรากฏขอความ Pick internal point: คลิกบนพืน้ ที่วา งตรงจุดที่ 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12 แลวคลิกขวา จะปรากฏขอความ BOUNDARY created 10 regions แสดงใหทราบวา Region ถูกสรางขึน้ มา 10 ชิน้ วิวพอรท Front จะปรากฏ ดังรูปที่ 12.80 (ซาย) วิวพอรท Isometric จะปรากฏดังรูปที่ 12.80 (ขวา) 213. จากรู ปที่ 12.80 (ขวา) หั กลบ Region โดยใช คําสั่ ง Modify4 Solid Editing4 Subtract เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract from .. Select objects: คลิกบน Region จุดที่ 13 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกบน Region จุดที่ 14 แลวคลิกขวา

chap-12-2.PMD

304

12/10/2549, 21:51

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

305

รูปที่ 12.80

214. จากรูปที่ 12.80 (ขวา) หักลบ Region โดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ Modify4Solid Editing4Subtract เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract from .. Select objects: คลิกบน Region จุดที่ 15 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกบน Region จุดที่ 16 แลวคลิกขวา วิวพอรท Front จะปรากฏดังรูปที่ 12.81 (ซาย) วิวพอรท Isometric จะปรากฏดังรูปที่ 12.81 (ขวา) รูปที่ 12.81

215. จากรูปที่ 12.81 (ซาย) เปลีย่ น Region ใหยา ยไปอยูในเลเยอร “Window” โดยใน ขณะทีบ่ รรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ คลิกบน Region ตรงจุดที่ 17 และ 18 ใหปรากฏจุดกริป๊ สสีน้ําเงิน แลวเลือกเลเยอร จากแถบ รายการควบคุมเลเยอร แลวกดปุม D เพือ่ ยกเลิกการเลือกวัตถุ 216. จากรูปที่ 12.81 (ซาย) ใหแนใจวา เปนเลเยอรใชงาน แลวใช คําสั่ง Draw4Boundary เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Boundary Creation ปลดเครือ่ ง หมาย ออกจากเช็คบอกซ Island detection แลวเลือก Region ในแถบรายการ Object type คลิกปุม Pick point เมือ่ ปรากฏขอความ Pick internal point: คลิกบน พืน้ ทีว่ า งตรงจุดที่ 19, 20 แลวคลิกขวา จะปรากฏขอความ BOUNDARY created 2 regions แสดงใหทราบวา Region ถูกสรางขึน้ มา 2 ชิน้ วิวพอรท Front จะปรากฏ ดังรูปที่ 12.82 (ซาย) วิวพอรท Isometric จะปรากฏดังรูปที่ 12.82 (ขวา) 217. บนแถบรายการควบคุมเลเยอร คลิกชือ่ เลเยอร เพือ่ กําหนด ใหเปนเลเยอรใชงาน แลวแชแข็ง(Freeze)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร Glass แลวคลิกชือ่ เลเยอร เพือ่ กําหนดใหเปนเลเยอรใชงาน

chap-12-2.PMD

305

12/10/2549, 21:51

306

รูปที่ 12.82

2D Drafting

218. ขยายวิวพอรท โดยคลิกวิวพอรท Isometric (มุมลางขวา) โดยคลิกบนปุม ทูลบาร 3D Modeling จะปรากฏดังรูปที่ 12.83 (ซาย)

บน

รูปที่ 12.83

219. จากรูปที่ 12.83 (ซาย) เริม่ เพิม่ ความหนาใน 3 มิติใหกบั วงกบ โดยใชคําสัง่ Draw4 Modeling4Extrude ตามวิธีในขอ 6 เมื่อปรากฏ Select objects to extrude: คลิกบน Region จุดที่ 1 แลวคลิกขวา เมื่อปรากฏ Specify height of extrusion... พิมพความหนา 0.1 แลวกดปุม Q 220. บนแถบรายการควบคุ มเลเยอร คลิ กชื่ อเลเยอร กําหนดใหเปนเลเยอรใชงาน

เพื่ อ

221. จากรูปที่ 12.83 (ซาย) เพิม่ ความหนาใน 3 มิตใิ หกบั บานหนาตาง โดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ Draw4Modeling4Extrude เมื่อปรากฏ Select objects to extrude: คลิก Region จุดที่ 2, 3 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify height of extrusion... พิมพความหนา 0.03 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.83 (กลาง) 222. บนแถบรายการควบคุมเลเยอร ละลายเลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร Glass แลวคลิกบนชื่อ เพื่อกําหนดใหเปนเลเยอรใชงาน จะปรากฏดังรูปที่ 12.83 (ขวา) 223. จากรูปที่ 12.83 (ขวา) เพิม่ ความหนาใน 3 มิตใิ หกับกระจกทัง้ หมด โดยใชคําสัง่ Draw4Modeling4Extrude เมือ่ ปรากฏ Select objects to extrude: คลิกจุดที่

chap-12-2.PMD

306

12/10/2549, 21:51

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

307

4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12, 13 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify height of extrusion... พิมพความหนา 0.005 แลวกดปุม Q 224. จากรูปที่ 12.83 (ขวา) รวมโซลิดกระจกเฉพาะของวงกบใหกลายเปนโซลิดชิ้น เดียวกัน โดยใชคําสัง่ Modify4Solid Editing4Union เมือ่ ปรากฏ Select objects คลิกจุดที่ 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.84 (ซาย) รูปที่ 12.84

225. จากรูปที่ 12.84 (ซาย) หมุนหนาตาง 180 องศา โดยใชคําสัง่ Modify4Rotate เปด # เมือ่ ปรากฏ Select objects คลิกจุดที่ 14 และ 15 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Crossing แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Specify base point: เลือ่ นเคอรเซอรไป ยังจุดที่ 16 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย เมือ่ ปรากฏขอความ Specify rotation angle or [Copy/Reference] <0>: พิมพคา มุม 180 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 18.84 (กลาง) 226. จากรูปที่ 12.84 (กลาง) เคลือ่ นยายกระจกทัง้ หมดใหเลือ่ นเขาไปในวงกบและบาน หนาตาง 0.005 เมตร โดยใชคําสัง่ Modify4Move เปด ) เมือ่ ปรากฏ Select objects: คลิกโซลิดกระจกจุดที่ 17, 18, 19 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify base point ... คลิกประมาณจุดที่ 20 เมื่อปรากฏ Specify second point... เลื่อน เคอรเซอรไปตามทิศทางของจุดที่ 21 เมื่อปรากฏเวคเตอร ให พิมพ 0.005 แลวกดปุม Q หาก Zoom ขึน้ มาตรวจสอบจะปรากฏดังรูปที่12.84 (ขวา) 227. บนแถบรายการควบคุมเลเยอร ละลายเลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร Solid คลิกบนเลเยอร 0 (ศูนย) เพือ่ กําหนดใหเปนเลเยอรใชงาน จะปรากฏดังรูปที่ 12.85 (ซาย) 228. จากรูปที่ 12.85 (ซาย) เคลือ่ นยายโซลิดทีจ่ ะใชสาํ หรับหักลบออกจากผนังใหซอ นทับ กับหนาตางพอดี โดยใชคาํ สัง่ Modify4Move เปด # เมือ่ ปรากฏ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 1 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify base point ... คลิกจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏ Specify second point... คลิกจุดที่ 3 จะปรากฏดังรูปที่ 12.85 (กลาง)

chap-12-2.PMD

307

12/10/2549, 21:51

308

2D Drafting รูปที่ 12.85

229. จากรู ปที่ 12.85 (ซ า ย) กําหนดจุ ดสอดแทรก โดยพิ มพ BASE ผ านบรรทั ด Command: เมือ่ ปรากฏขอความ Enter base point เปด # ใหคลิกจุดที่ 4 230. บนแถบรายการควบคุมเลเยอร แชแข็ง(Freeze)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร “Solid” แลวคลิกบนเลเยอร 0 (ศูนย) เพือ่ กําหนดใหเปนเลเยอรใชงาน จะปรากฏดังรูปที่ 12.85 (ขวา) Note

เปนอันเสร็จสิน้ การสรางโมเดล 3 มิตขิ องหนาตาง WinType1 เราไมตอ งเสียเวลาสรางแมททีเรียลใหม เนือ่ งจากเราสามารถนําแมททีเรียลจากทูลพาเลทไลบรารีท่ สี่ ง มาจากแมททีเรียลของประตู DoorType1 เราเพียงแตเปดทูลพาเลทไลบรารี่ออกมาใชงาน แลวกําหนดแมททีเรียลใหกับหนาตางไดดงั ตอไปนี้

231. จากรูปที่ 12.85 (ขวา) คลิกบนปุม บน Materials control panel บนแดชบอรด จะ ปรากฏหนาตาง Tool palettes ดังรูปที่ 12.72 (ขวา) คลิกบนรูปตัวอยางแมททีเรียล White Color เมื่ อปรากฏขอความ Select objects: คลิกบนโซลิดจุ ดที่ 4, 5, 6 แลวคลิกขวา คลิกบนรูปตัวอยางแมททีเรียล Clear Glass เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: คลิกบนโซลิดจุดที่ 7, 8, 9 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.86 (ซาย) 232. กําหนดหนวยวัดในการสอดแทรกวัตถุ โดยใชคําสั่ง Format4Unit เมื่อปรากฏ ไดอะล็อค Drawing Units ใหเลือก Meters จากแถบรายการ Units to scale inserted contents แลวคลิกบนปุม OK เพื่อออกจากไดอะล็อค Note

ขอนี้สําคัญมากกับการนําโมเดลหนาตางนี้ไปสอดแทรกในไฟลรูปบาน ซึ่งหนวยในการสอดแทรก วัตถุจะตองเปน Meters เหมือนกัน มิฉะนั้น เมื่อนําไฟลไปสอดแทรกจะมีขนาดที่ไมถูกตอง

233. บันทึกไฟลหนาตางแบบที่ 1 ลงดิสค โดยใชคําสัง่ File4Save As เมือ่ ปรากฏ ไดอะล็อค Save Drawing As ใหตั้งชื่อไฟล “WinType1.dwg” ใหแนใจวาแถบ รายการ Files of type ปรากฏเปน AutoCAD 2007 Drawing (*.dwg) แลวเลือก โฟลเดอรเดียวกันกับไฟลบา นเดีย่ วทีเ่ รากําลังทํางานคางไว แลวคลิกบนปุม Save เปนอันเสร็จสิน้ การสรางไฟล .dwg สําหรับเก็บหนาตางแบบที่ 1 Note

chap-12-2.PMD

เปนอันวาเราไดศกึ ษาการสรางประตูหนาตางทัง้ สองแบบเสร็จเรียบรอยแลว ถึงแมวา ในโมเดลแบบบาน 3 มิตหิ ลังนี้จะมีประตูหนาตางรวม 13 แบบ แตทกุ แบบก็ใชหลักการเดียวกันในการสราง

308

12/10/2549, 21:51

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม Note

309

ตอไปเราจะกลับไปยังโมเดลบานตอจากรูปที่ 12.60 (ขวา) แลวจึงเริ่มนําประตูหนาตางไปสอดแทรก ประตูหนาตางดวยคําสัง่ Insert4Block ซึง่ อันทีจ่ ริงวิธที ถี่ กู ตองนัน้ เราควรใชคําสัง่ Insert4DWG สอดแทรกประตูหนาตางแบบเอกซเรฟ แตใน AutoCAD 2007 เอกซเรฟนั้นยังมีขอ Reference บกพรอง(Bug)ทีร่ อการแกไขจาก Autodesk, Inc. ซึง่ ทําใหเครือ่ งหยุดทํางาน(Not responding) เมือ่ เปด ไฟลที่มเี อกซเรฟ จะดังนัน้ เราจึงเปลี่ยนไปใชคําสัง่ Insert4Block แทนซึ่งสามารถอับเดบบล็อค ตามการเปลีย่ นแปลงในไฟลตน ฉบับไดเชนเดียวกัน แตจะไมเปนแบบอัตโนมัตเิ หมือนเอกซเรฟเทานัน้

234. เริม่ เจาะชองผนังประตู โดยกอนอืน่ กลับไปทํางานในไฟลแบบแแปลนบานเดีย่ ว แลวใชคาํ สัง่ View4Pan4Real Time เลือ่ นจอภาพใหปรากฏดังรูปที่ 12.86 (ซาย) รูปที่ 12.86

Note

เราจะเห็นวาเสาหนาบานอยูใ นตําแหนงทีป่ ด บังผนังบางสวน ทําใหเรามองไมเห็นผนังหนาบานชัน้ ลาง ซึ่งเปนที่ที่เราจะสอดแทรกประตู DoorType1.dwg ไมวาเราจะหมุนมุมมองไปในทิศทางใด เสาก็จะ ปดบังบางสวนของผนังอยูด ี หากเราปดเลเยอร “เสาชัน้ ลางชัน้ บน” เสาที่อยูในเลเยอรนี้ทงั้ หมดจะถูก ซอน แตเราตองการใหเสาที่อยูตดิ กับผนังหนาบานปรากฏในมุมมองดวย ดังนัน้ เราใชประโยชนจาก ระนาบตัด(Section Plane) เพื่อที่จะตัดบางสวนที่ยังไมตองการใหเห็นออกไปจากมุมมอง แตการใช Section Plane เขามาชวย เราจะตองพึงระวังไวเสมอวา หากเราตองการใชออฟเจกทสแนปบนวัตถุใด เราจะตองไมสราง Section Plane ผานวัตถุนั้น มิฉะนั้น เราจะไมสามารถใชออฟเจกทสแนปบนวัตถุ ทีถ่ กู ระนาบตัดพาดผานได

235. จากรูปที่ 12.86 (ซาย) เขียนระนาบตัด โดยใชคําสั่ง Draw4Modeling4Section Plane Command: _sectionplane

{จากรูปที่ 12.86 (ซาย) เปด

# ปด

^}

D {พิมพตวั เลือก D เพือ่ ลากเสนระนาบตัด} Specify start point: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 10 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย } Specify next point: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 11 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย } Specify next point or ENTER to complete: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากเขียนเสน} Specify point in direction of section view: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 12 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย เพือ่ กําหนดดานทีต่ อ งการมองเห็น จะปรากฏระนาบตัดดังรูปที่ 12.86 (ขวา)} Select face or any point to locate section line or [Draw section/Orthographic]:

236. จากรูปที่ 12.86 (ขวา) คลิกบนระนาบตัดใหปรากฏจุดกริป๊ ส แลวคลิกบนจุดกริป๊ ส เมื่อปรากฏช็อทคัทเมนู ใหเลือก Section Plane แลวคลิกขวาบนระนาบตัด เมื่อปรากฏช็อทคัทเมนู คลิกใหปรากฏเครื่องหมาย หนาคําสั่ง Activate live sectioning จะปรากฏดังรูปที่ 12.87 (ซาย)

chap-12-2.PMD

309

12/10/2549, 21:51

310

รูปที่ 12.87

2D Drafting

Note

เราจะเห็นวาเสาหนาบานทั้งสองตนถูกซอนไมใหปรากฏบนพื้นที่วาดภาพ ทําใหเราสามารถมองเห็น ผนังหนาบานทีซ่ ึ่งเราจะสอดแทรกประตู DoorType1 ไดอยางชัดเจน อนึ่ง ในขณะนี้ เราจะเห็นวายังมี เสน 2 มิตติ า งๆ ทีม่ ไิ ดใชงานแลวปรากฏอยูบ นพืน้ ทีว่ าดภาพซึง่ เปนทีน่ า รําคาญ ดังนัน้ กอนทีจ่ ะเจาะชอง ประตู เราจะลบวัตถุ 2 มิตทิ งั้ หมดออกจากไฟลแบบแปลนบานเดี่ยวนี้เสียกอนดังนี้

237. ละลาย(Thaw)เลเยอร โดยคลิ กบนไอคอน ของเลเยอร “ตั วอั ก ษรกํา กั บ พื้ น ชั้ นบน” , “ตั วอั กษรกํา กั บพื้ น ชั้ นล าง”, “ตั วอั ก ษรกํา กั บพื้ น นอกบ าน”, “เสนโครง”, “เสนบอกขนาด” จะปรากฏดังรูปที่ 12.87 (ขวา) 238. ลบเสน 2 มิตติ า งๆ ทัง้ หมดทีม่ ไิ ดใชงานอีกตอไป โดยใชคําสัง่ Tools4Quick Select เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Quick Select คลิกแถบรายการ Object type แลวเลือก Line เลือก Select All ในแถบรายการ Operator แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏจุด กริป๊ สสนี ้ําเงินบนเสนตรงไลน 2 มิติทง้ั หมด ใหกดปุม = บนคียบ อรด 239. เพือ่ ลบวัตถุ 2 มิตติ อ ไปโดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ Tools4Quick Select ตามวิธใี น ขอ 238 เปลี่ยน Object type เปน Polyline, Rotated Dimension, MLine, Arc, MText, Point ตามลําดับ จะปรากฏดังรูปที่ 12.88 (ซาย) รูปที่ 12.88

240. จากรูปที่ 12.88 (ซาย) ปรับความโปรงของของระนาบตัดใหโปรงใสมากขึน้ โดยใน ขณะทีบ่ รรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ คลิกบนระนาบตัดจุดที่ 1 ใหปรากฏ จุดกริ๊ปส แลวคลิกขวาบนระนาบตัด เลือกคําสั่ง Properties แลวปรับคา Plane

chap-12-2.PMD

310

12/10/2549, 21:51

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

311

Transparency = 100 แลวกดปุม D เพือ่ ยกเลิกการเลือก เราจะเห็นเฉพาะเสน ขอบของระนาบตัดเทานั้น 241. จากรูปที่ 12.88 (ซาย) เริ่มเจาะชองประตูบนผนัง โดยขยายภาพ ดวยคําสัง่ View4 Zoom4Window แลวคลิกจุดที่ 2 และ 3 จะปรากฏดังรูปที่ 12.88 (ขวา) 242. ใหแนใจวายูซเี อสไอคอนตรงกับ WCS โดยใชคําสัง่ Tools4New UCS4World

รูปที่ 12.89

Note

243. เปดไฟล DoorType1.dwg จากโฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM แนบทาย หนังสือคูมือฯ จะปรากฏดังรูปที่ 12.89 (ซาย) แลวแชแข็ง(Freeze)เลเยอร Door, Frame, Glass, Knob แลวละลาย (Thaw)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร “Solid” แลวคลิกบนเลเยอร 0 (ศูนย) เพือ่ กําหนดใหเปนเลเยอรใชงาน จะปรากฏ ดังรูปที่ 12.89 (กลาง-ซาย)

สังเกตุวา UCS Icon ในไฟลป ระตูและในไฟลบานเดี่ยวนั้นอยูในตําแหนงและทิศทางของ World Coordinate System เชนเดียวกัน

244. จากรูปที่ 12.89 (กลาง-ซาย) คัดลอกโซลิดเฉพาะสวนทีจ่ ะนําไปหักลบผนัง โดยใช คําสั่ง Edit4Copy with Base Point เมือ่ ปรากฏขอความ Specify base point: เปด # คลิกตรงจุดที่ 5 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 6 แลวคลิกขวา โซลิดเฉพาะสวนทีจ่ ะนําไปหักลบผนังจะถูกคัดลอกไปเก็บในหนวย ความจํา แลวปดไฟล โดยใชคําสัง่ File4Close แลวคลิกบนปุม No เพือ่ กลับไปยัง ไฟลบา นดังรูปที่ 12.88 (ขวา) 245. จากรูปที่ 12.88 (ขวา) เริ่มสอดแทรกโซลิดสําหรับเจาะผนัง โดยใชคําสั่ง Edit4 Paste เมือ่ ปรากฏขอความ Specify insertion point: ปด ^ เปด # คลิกจุดที่ 4 จะปรากฏดังรูปที่ 12.89 (กลาง-ขวา) 246. จากรูปที่ 12.89 (กลาง-ขวา) เจาะชองผนัง โดยใชคาํ สัง่ Modify4Solid Editing4Subtract เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract from .. Select objects: คลิก บนโซลิดผนังจุดที่7 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกบนโซลิดจุดที่ 8 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.89 (ขวา)

chap-12-2.PMD

311

12/10/2549, 21:51

312

Note

หากสอดแทรกไฟลประตู DoorType1.dwg จากโฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM แบบ External Reference ดวยคําสั่ง Insert4DWG Reference แตกอนที่จะสอดแทรกไฟล DoorType1.dwg เราควรทีจ่ ะคัดลอกไฟล DoorType1.dwg ไปเก็บไวในโฟลเดอรเดียวกันกับไฟลแบบแปลนบานเดีย่ วที่ เรากําลังใช งานอยู เหตุ ผลที่ ต องทําเช นนี้ ก็ เพราะวาหากเรานําแผ น DVD-ROM ออกจากเครื่ อง คอมพิวเตอรรูปประตูที่เราไดสอดแทรกแบบเอกซเรฟจากแผน DVD-ROM จะหายไปดวย เนือ่ งจาก เอกซเรฟจะตองมีไฟล DoorType1.dwg ดวยเสมอ ดังนัน้ เราจึงควรคัดลอกไฟล DoorType1.dwg, ..., DoorType6.dwg, และ WinType1.dwg,..., WinType7.dwg ไปเก็บไวในโฟลเดอรเดียวกันกับไฟลรูป บานเดีย่ ว จะชวยใหโปรแกรมคนหาไฟลได งายกวา แตในทีน่ ี้ เราจะสอดแทรกไฟล DoorType1.dwg แบบบล็อคดวยคําสั่ง Insert4Block จึงไมจําเปนที่จะตองคัดลอกไฟลตางๆ ทั้งหมด

2D Drafting

247. กําหนดหนวยวัดในการสอดแทรกวัตถุ โดยใชคําสั่ง Format4Unit เมื่อปรากฏ ไดอะล็อค Drawing Units ใหเลือก Meters จากแถบรายการ Units to scale inserted contents แลวคลิกบนปุม OK เพื่อออกจากไดอะล็อค Note

หากตองการเรนเดอรแบบ Global Illumination ตองแนใจวา Drawing Units = Meters เทานั้น

248. จากรูปที่ 12.89 (ขวา) สอดแทรกรูปประตู DoorType1.dwg โดยใชคําสั่ง Insert4 Block จะปรากฏไดอะล็อค Insert ดังรูปที่ 12.90 (ซาย) คลิกบนปุม Browse แลวคนหาไฟล DoorType1.dwg แลวคลิกบนปุม Open ใหแนใจวา Unit = Meters, Factor = 1 และใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย หนา เช็คบอกซ Specify On-screen ในฟลด Insertion point แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏขอความ Specify insertion point or... เปด # คลิกจุดที่ 9 จะปรากฏดังรูปที่ 12.90 (ขวา) Note

หากตอไปทาง Autodesk, Inc. ไดแกไขขอบกพรองในเอกซเรฟของ AutoCAD 2007 เราก็สามารถ แทนที่คําสั่ง Insert4Block ดวยคําสั่ง Insert4DWG Reference ในขอ 248 ไดทันที

รูปที่ 12.90

Note

chap-12-2.PMD

จากรูปที่ 12.90 (ขวา) เราจะเห็นวาโซลิดที่ใชสําหรับเจาะผนังปรากฏซอนทับกับประตู DoorType1 เนื่ องมาจากโซลิ ดดั งกลาวอยู ในไฟล DoorType1.dwg เมื่ อเราสอดแทรกไฟล DoorType1.dwg เขามาใชงานและเลเยอร Solid อยู ในสถานะเปด เราจึงมองเห็นโซลิ ดที่ ใช สําหรับ เจาะผนังดวย ในขณะนีป้ ลอยใหเปนเชนนั้นไปกอน เมื่อเราสรางประตูหนาตางเสร็จเรียบรอยหมดแลว เราเพียงแต แชแข็ง(Freeze)เลเยอร Solid โซลิดที่ใชสําหรับเจาะผนังทั้งหมดก็จะถูกซอน

312

12/10/2549, 21:51

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

313

รูปที่ 12.91

249. ตอไปเริม่ เจาะชองผนังและสอดแทรกหนาตาง WinType1 โดยกอนอื่น ใชคําสั่ง View4Pan4Real Time เลือ่ นภาพใหปรากฏดังรูปที่ 12.91 (ซาย) 250. เปดไฟล WinType1.dwg จากโฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM แนบทาย หนังสือคูมือฯ จะปรากฏดังรูปที่ 12.91 (กลาง-ซาย) แลวแชแข็ง(Freeze)เลเยอร Window, Frame, Glass แลวละลาย(Thaw)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของ เลเยอร “Solid” แลวคลิกบนเลเยอร 0 (ศูนย) เพื่อกําหนดใหเปนเลเยอรใชงาน จะปรากฏดังรูปที่ 12.91 (กลาง-ขวา) Note

สังเกตุวา UCS Icon ในไฟลหนาตางและในไฟลบานเดี่ยวนั้นอยูในตําแหนงและทิศทางของ World Coordinate System เชนเดียวกัน

251. จากรูปที่ 12.91 (กลาง-ขวา) คัดลอกโซลิดเฉพาะสวนทีจ่ ะนําไปหักลบผนัง โดย ใชคําสัง่ Edit4Copy with Base Point เมือ่ ปรากฏขอความ Specify base point: ปด ^ เปด # คลิกตรงจุดที่ 2 เมื่อปรากฏขอความ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 3 แลวคลิกขวา โซลิดเฉพาะสวนทีจ่ ะนําไปหักลบผนังจะถูกคัดลอก ไปเก็บในหนวยความจํา แลวปดไฟล โดยใชคําสัง่ File4Close แลวคลิกบนปุม No เพือ่ กลับไปยังไฟลบา นดังรูปที่ 12.91 (ซาย) 252. จากรูปที่ 12.91 (ซาย) เริ่มสอดแทรกโซลิดสําหรับเจาะผนัง โดยใชคําสั่ง Edit4 Paste เมือ่ ปรากฏขอความ Specify insertion point: ปด ^ เปด # เปด ) เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 1 แลวเลือ่ นเคอรเซอรไปตามทิศทางของ จุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏเวคเตอร ใหพิมพ 0.1 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.91 (ขวา) 253. จากรูปที่ 12.91 (ขวา) เคลื่อนยายโซลิดที่จะใชสําหรับหักลบออกจากผนังขึ้นใน แนวแกน Z โดยใชคําสัง่ Modify4Move เปด ) เมื่อปรากฏ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 6 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify base point ... ปด # คลิกจุดที่ 5 เมือ่ ปรากฏ Specify second point... เลือ่ นเคอรเซอรขนึ้ ใน แนวดิง่ ตาม ทิศทางของแนวแกน Z เมือ่ ปรากฏเวคเตอร ใหพมิ พ 0.2 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.92 (ซาย)

chap-12-2.PMD

313

12/10/2549, 21:51

314

2D Drafting รูปที่ 12.92

254. จากรูปที่ 12.92 (ซาย) เจาะชองผนัง โดยใชคาํ สัง่ Modify4Solid Editing4Subtract เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract from .. Select objects: คลิกบน โซลิดผนังจุดที่ 1 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกบนโซลิดจุดที่ 2 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.92 (กลาง) 255. จากรูปที่ 12.92 (ซาย) สอดแทรกโมเดลหนาต าง WinType1.dwg โดยใชคําสั่ ง Insert4Block จะปรากฏไดอะล็อค Insert ดังรูปที่ 12.90 (ซาย) คลิกบนปุม Browse แลวคนหาไฟล WinType1.dwg แลวคลิกบนปุม Open ใหแนใจวา Unit = Meters, Factor = 1 และใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย หนา เช็คบอกซ Specify On-screen ในฟลด Insertion point แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏขอความ Specify insertion point or... เปด # คลิกจุดที่ 3 จะปรากฏดังรูปที่ 12.92 (ขวา) ตอไปเริม่ เจาะชองผนังและสอดแทรกหนาตาง WinType2 โดยกอนอื่น ใชคําสั่ง View4Pan4Real Time เลือ่ นภาพใหปรากฏดังรูปที่ 12.93 (ซาย) Note

คําสั่ง Insert4Block และคําสั่ง Insert4DWG Reference มีวิธีการใชงานเหมือนกัน เพียง แตวา บล็อคไมมกี ารเชือ่ มโยงกับไฟลตน ฉบับ สวนเอกซเรฟนั้นเชือ่ มโยงขอมูลมาจากไฟลตน ฉบับ

รูปที่ 12.93

256. เปดไฟล WinType2.dwg จากโฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM แนบทาย หนังสือคูมือฯ จะปรากฏดังรูปที่ 12.93 (กลาง-ซาย) แลวแชแข็ง(Freeze)เลเยอร Window, Frame, Glass แลวละลาย(Thaw)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของ เลเยอร “Solid” แลวคลิกบนเลเยอร 0 (ศูนย) เพื่อกําหนดใหเปนเลเยอรใชงาน จะปรากฏดังรูปที่ 12.93 (กลาง-ขวา)

chap-12-2.PMD

314

12/10/2549, 21:51

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม Note

315

สังเกตุวา UCS Icon ในไฟลหนาตางและในไฟลบานเดี่ยวนั้นอยูในตําแหนงและทิศทางของ World Coordinate System เชนเดียวกัน

257. จากรูปที่ 12.93 (กลาง-ขวา) คัดลอกโซลิดเฉพาะสวนทีจ่ ะนําไปหักลบผนัง โดยใช คําสั่ง Edit4Copy with Base Point เมือ่ ปรากฏขอความ Specify base point: เปด # คลิกตรงจุดที่ 5 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 6 แลวคลิกขวา โซลิดเฉพาะสวนทีจ่ ะนําไปหักลบผนังจะถูกคัดลอกไปเก็บในหนวย ความจํา แลวปดไฟล โดยใชคําสัง่ File4Close แลวคลิกบนปุม No เพือ่ กลับไปยัง ไฟลบา นดังรูปที่ 12.93 (ซาย) 258. จากรูปที่ 12.93 (ซาย) เริม่ สอดแทรกโซลิดสําหรับเจาะผนัง โดยใชคาํ สัง่ Edit4Paste เมือ่ ปรากฏขอความ Specify insertion point: เปด # เปด ) เลือ่ นเคอรเซอร ไปยังจุดที่ 4 แลวเลื่อนเคอรเซอรไปตามทิศทางของจุดที่ 7 เมื่อปรากฏเวคเตอร ใหพมิ พ 0.6 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.93 (ขวา)

รูปที่ 12.94

259. จากรูปที่ 12.93 (ขวา) เจาะชองผนัง โดยใชคาํ สัง่ Modify4Solid Editing4Subtract เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract from .. Select objects: คลิกบน โซลิดผนังจุดที่ 8 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกบนโซลิดจุดที่ 9 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.94 (ซาย)

260. จากรูปที่ 12.94 (ซาย) สอดแทรกโมเดลหนาต าง WinType2.dwg โดยใชคําสั่ ง Insert4Block จะปรากฏไดอะล็อค Insert ดังรูปที่ 12.90 (ซาย) คลิกบนปุม Browse แลวคนหาไฟล WinType2.dwg แลวคลิกบนปุม Open ใหแนใจวา Unit = Meters, Factor = 1 และใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย หนาเช็คบอกซ Specify On-screen ในฟลด Insertion point แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏขอความ Specify insertion point or... เปด # คลิกจุดที่ 10 จะปรากฏดังรูปที่ 12.94 (กลาง) Note

chap-12-2.PMD

ในไฟล WinType2.dwg มีการใชคําสั่ง BASE เพื่อกําหนดจุดสอดแทรกใหอยูตรงจุดที่ 13 ของรูปที่ 12.93 (กลาง-ซาย) มาใหเรียบรอยแลว หากเราตองการเปลี่ยนแปลง เราจะตองพิมพคําสั่ง BASE ผาน บรรทัด Command: แลวกําหนดจุดสอดแทรกใหมไดตามความเหมาะสม แลวจะตองบันทึก(Save)ไฟล WinType2.dwg ดวย จึงจะมีผลเมื่อนําไฟลไปทําการสอดแทรกเปนบล็อคหรือเอกซเรฟ

315

12/10/2549, 21:51

316

261. ตอไปเริม่ เจาะชองผนังและสอดแทรกหนาตาง WinType4 โดยกอนอื่น ใชคําสั่ง View4Orbit4Contrained Orbit หมุนมุมมองเล็กนอยและใชคําสัง่ View4Pan 4Real Time เลือ่ นภาพใหปรากฏดังรูปที่ 12.94 (ขวา)

2D Drafting

รูปที่ 12.95

262. เปดไฟล WinType4.dwg จากโฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM แนบทาย หนังสือคูม อื ฯ จะปรากฏดังรูปที่ 12.95 (ซาย) แลวแชแข็ง(Freeze)เลเยอร Window, Frame, Glass แลวละลาย(Thaw)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร “Solid” แลวคลิกบนเลเยอร 0 (ศูนย) เพือ่ กําหนดใหเปนเลเยอรใชงาน จะปรากฏ ดังรูปที่ 12.95 (กลาง-ซาย)

263. จากรูปที่ 12.95 (กลาง-ซาย) คัดลอกโซลิดเฉพาะสวนทีจ่ ะนําไปหักลบผนัง โดยใช คําสั่ง Edit4Copy with Base Point เมือ่ ปรากฏขอความ Specify base point: เปด # คลิกตรงจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 2 แลวคลิกขวา โซลิดเฉพาะสวนทีจ่ ะนําไปหักลบผนังจะถูกคัดลอกไปเก็บในหนวย ความจํา แลวปดไฟล โดยใชคําสัง่ File4Close แลวคลิกบนปุม No เพือ่ กลับไปยัง ไฟลบา นดังรูปที่ 12.94 (ขวา) 264. จากรูปที่12.94 (ขวา) เริม่ สอดแทรกโซลิดสําหรับเจาะผนัง โดยใชคาํ สัง่ Edit4Paste เมือ่ ปรากฏขอความ Specify insertion point: เปด # เปด ) เลือ่ นเคอรเซอร ไปยังจุดที่ 11 แลวเลือ่ นเคอรเซอรไปตามทิศทางของจุดที่ 12 เมือ่ ปรากฏเวคเตอร ใหพมิ พ 1.3 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่12.95 (กลาง) 265. จากรูปที่ 12.95 (กลาง) เคลือ่ นยายโซลิดที่จะใชสําหรับหักลบออกจากผนังขึ้นใน แนวแกน Z โดยใชคําสัง่ Modify4Move เปด ) เมื่อปรากฏ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 3 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify base point ... ปด # คลิกจุดที่ 4 เมื่อปรากฏ Specify second point... เลือ่ นเคอรเซอรขนึ้ ในแนวดิง่ ตามทิศทางของแนวแกน Z เมือ่ ปรากฏเวคเตอร ใหพมิ พ 0.85 แลว กดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.95 (ขวา) 266. จากรูปที่ 12.95 (ขวา) เจาะชองผนัง โดยใชคาํ สัง่ Modify4Solid Editing4Subtract เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract from .. Select objects: คลิกบน

chap-12-2.PMD

316

12/10/2549, 21:51

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

317

โซลิดผนังจุดที่ 5 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกบนโซลิดจุดที่ 6 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.96 (ซาย) รูปที่ 12.96

267. จากรูปที่ 12.96 (ซาย) สอดแทรกโมเดลหนาตาง WinType4.dwg โดยใชคาํ สัง่ Insert4 Block จะปรากฏไดอะล็อค Insert ดังรูปที่ 12.90 (ซาย) คลิกบนปุม Browse แลวคนหาไฟล WinType4.dwg แลวคลิกบนปุม Open ใหแนใจวา Unit = Meters, Factor = 1 และใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย หนาเช็คบอกซ Specify On-screen ในฟลด Insertion point แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏขอความ Specify insertion point or... เปด # คลิกจุดที่ 7 จะปรากฏดังรูปที่ 12.96 (ขวา) Note

ในไฟล WinType4.dwg มีการใชคําสัง่ BASE เพือ่ กําหนดจุดสอดแทรกใหอยูต รงจุดที่ 8 ของรูปที่ 12.95 (ซาย) มาใหเรียบรอยแลว หากเราตองการเปลี่ยนแปลง เราจะตองพิมพคําสั่ง BASE ผานบรรทัด Command: แลวกําหนดจุดสอดแทรกใหมไดตามความเหมาะสม แลวจะต องบันทึก(Save)ไฟล WinType4.dwg ดวยจึงจะมีผลเมือ่ ทําการสอดแทรกบล็อคหรือเอกซเรฟ

Note

ตอไปเราจะเจาะชองผนังอีกดานหนึง่ สําหรับหนาตาง WinType4.dwg แตสงั เกตุวา ผนังทีป่ รากฏในรูปที่ 12.97 (ซาย) นัน้ ทํามุมตัง้ ฉาก 90 องศากับหนาตาง WinType4.dwg ดังนัน้ เมือ่ เปดไฟล WinType4.dwg ออกมา เราจะตองหมุน เฉพาะโซลิดสวนทีจ่ ะนํามาหักลบออกจากผนัง แลวจึงจะใชคําสัง่ Edit4Copy with Base Point

268. ตอไปเริม่ เจาะชองผนังสําหรับหนาตาง WinType4 โดยกอนอื่น ใชคําสั่ง View 4Pan4Real Time เลือ่ นภาพใหปรากฏดังรูปที่ 12.97 (ซาย) รูปที่ 12.97

chap-12-2.PMD

317

12/10/2549, 21:51

318

269. เปดไฟล WinType4.dwg จากโฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM แนบทาย หนังสือคูม อื ฯ จะปรากฏดังรูปที่ 12.97 (กลาง) แลวแชแข็ง(Freeze)เลเยอร Window, Frame, Glass แลวละลาย(Thaw)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร “Solid” แลวคลิกบนเลเยอร 0 (ศูนย) จะปรากฏดังรูปที่ 12.97 (ขวา)

2D Drafting

270. จากรูปที่ 12.97 (ขวา) หมุนโซลิด 90 องศา โดยใชคําสัง่ Modify4Rotate เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: คลิกบนโซลิดจุดที่ 12 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ ขอความ Specify base point: เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 13 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย Specify rotation angle or [Copy/Reference] <0>: พิมพคา มุม 90 องศา กดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.98 (ซาย) รูปที่ 12.98

271. จากรูปที่ 12.98 (ซาย) คัดลอกโซลิดเฉพาะสวนทีจ่ ะนําไปหักลบผนัง โดยใชคําสัง่ Edit4Copy with Base Point เมือ่ ปรากฏขอความ Specify base point: เปด # เลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 1 เมื่อปรากฏมารคเกอร คลิกซาย เมื่อปรากฏ ขอความ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 2 แลวคลิกขวา โซลิดเฉพาะสวนทีจ่ ะนํา ไปหักลบผนังจะถูกคัดลอกไปเก็บในหนวยความจํา แลวปดไฟล โดยใชคําสั่ง File4Close แลวคลิกบนปุม No เพือ่ กลับไปยังไฟลบา นดังรูปที่ 12.97 (ซาย) 272. จากรูปที่ 12.97 (ซาย) เริ่มสอดแทรกโซลิดสําหรับเจาะผนัง โดยใชคําสั่ง Edit4 Paste เมือ่ ปรากฏขอความ Specify insertion point: ปด ^ เปด # กดปุม S คางไวแลวคลิกขวา เลือกออฟเจกทสแนป Mid Between 2 Points แลวคลิกจุดที่ 8 และ 9 แลวคลิกขวา เพื่อทําซ้ําคําสั่ง Edit4Paste เมื่อปรากฏ ขอความ Specify insertion point: ปด ^ เปด # กดปุม  S คางไวแลวคลิกขวา เลือกออฟเจกทสแนป Mid Between 2 Points แลวคลิกจุดที่ 10 และ 11 โซลิดจะถูกสอดแทรกลงบนผนังดังรูปที่ 12.98 (ขวา) Note

เหตุผลที่ตอ งใชออฟเจกทสแนป Mid Between 2 Points ก็เพราะวาไมมีจุดกึ่งกลางบนผนังแตละดาน เราจึงตองใชจดุ กึ่งกลางระหวางมุมเสาชั้นบนทั้ง 3 ตนแทน

273. จากรูปที่ 12.98 (ขวา) เคลือ่ นยายโซลิดทัง้ สองที่จะใชสําหรับหักลบออกจากผนัง ขึน้ ในแนวแกน Z โดยใชคําสัง่ Modify4Move เปด ) เมือ่ ปรากฏ

chap-12-2.PMD

318

12/10/2549, 21:51

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

319

Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 3 และ 4 แลวคลิกขวา เมื่อปรากฏ Specify base point ... ปด # คลิกจุดที่ 5 เมื่อปรากฏ Specify second point... เลือ่ น เคอร เซอร ขึ้ นในแนวดิ่ งตามทิ ศทางของแนวแกน Z เมื่ อปรากฏเวคเตอร ใหพมิ พ 0.85 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.99 (ซาย)

รูปที่ 12.99

274. จากรูปที่ 12.98 (ซาย) เจาะชองผนัง โดยใชคาํ สัง่ Modify4Solid Editing4Subtract เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract from .. Select objects: คลิกบน โซลิดผนังจุดที่ 6 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 7 และ 8 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.99 (ขวา) 275. จากรูปที่ 12.99 (ขวา) สอดแทรกโมเดลหนาตางโดยใชคําสั่ง Insert4 Block จะปรากฏไดอะล็อค Insert ดังรูปที่ 12.90 (ซาย) ใหเลือก WinType4 จากแถบ รายการ Name ใหแนใจวา Unit = Meters, Factor = 1 และใหแนใจวาปรากฏ เครือ่ งหมาย หนาเช็คบอกซ Specify On-screen ในฟลด Insertion point ใหปรับ คามุม Angle = 90 แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏขอความ Specify insertion point or... เปด # คลิกจุดที่ 9 บล็อคหนาตาง WinType4 จะถูกสอดแทรกใน ตําแหนงและทิศทางทีถ่ กู ตอง แลวคลิกขวา เพือ่ ทําซ้ําคําสั่ง Insert4Block ให เลือก WinType4 จากแถบรายการ Name ใหแนใจวา Unit = Meters, Factor = 1 และใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย หนาเช็คบอกซ Specify On-screen ในฟลด Insertion point ใหปรับคามุม Angle = 90 แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏขอความ Specify insertion point or... เปด # คลิกจุดที่ 10 บล็อคหนาตาง WinType4 จะถูกสอดแทรกดังรูปที่ 12.100 (ซาย)

รูปที่ 12.100

chap-12-2.PMD

319

12/10/2549, 21:51

320

276. ตอไปเริม่ เจาะชองผนังสําหรับหนาตาง WinType4 บนผนังหองครัว โดยกอนอืน่ แชแข็ง(Freeze)เลเยอร “พื้นชั้นบน”, “เสาชั้นลาง” แลวกําหนดเลเยอร 0 (ศูนย) เปนเลเยอรใชงาน เพือ่ ใหเราสามารถมองเห็นผนังหองครัว แลวใชคําสัง่ View4 Orbit4Contrained Orbit หมุนมุมมองลงดานลางเล็กนอย แลวใชคําสัง่ View 4Pan4Real Time เลือ่ นภาพใหปรากฏดังรูปที่ 12.100 (ขวา)

2D Drafting

รูปที่ 12.101

277. เปดไฟล WinType4.dwg จากโฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM แนบทาย หนังสือคูม อื ฯ จะปรากฏดังรูปที่ 12.101 (ซาย) แลวแชแข็ง(Freeze)เลเยอร Window, Frame, Glass แลวละลาย(Thaw)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร “Solid” แลวคลิกบนเลเยอร 0 (ศูนย) จะปรากฏดังรูปที่ 12.101 (กลาง)

278. จากรูปที่ 12.101 (ซาย) คัดลอกโซลิดเฉพาะสวนทีจ่ ะนําไปหักลบผนัง โดยใชคําสัง่ Edit4Copy with Base Point เมือ่ ปรากฏขอความ Specify base point: เปด # เลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 1 เมื่อปรากฏมารคเกอร คลิกซาย เมื่อปรากฏ ขอความ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 2 แลวคลิกขวา โซลิดเฉพาะสวนทีจ่ ะนํา ไปหักลบผนังจะถูกคัดลอกไปเก็บในหนวยความจํา แลวปดไฟล โดยใชคําสั่ง File4Close แลวคลิกบนปุม No เพือ่ กลับไปยังไฟลบา นดังรูปที่ 12.100 (ขวา) 279. จากรูปที่ 12.100 (ขวา) เริม่ สอดแทรกโซลิดสําหรับเจาะผนัง โดยใชคาํ สัง่ Edit4Paste เมือ่ ปรากฏ Specify insertion point: ปด ^ เปด # เลือ่ นเคอรเซอรไป ยังจุดที่ 11 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย จะปรากฏดังรูปที่ 12.101 (ขวา) 280. จากรูปที่ 12.101 (ขวา) เคลื่อนยายโซลิดทีจ่ ะใชสําหรับหักลบออกจากผนังขึน้ ใน แนวแกน Z โดยใชคําสัง่ Modify4Move เปด ) เมื่อปรากฏ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 3 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify base point ... ปด # คลิกจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏ Specify second point... เลือ่ น เคอรเซอรขนึ้ ในแนวดิง่ ตาม ทิศทางของแนวแกน Z เมือ่ ปรากฏเวคเตอร ใหพมิ พ 0.85 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.102 (ซาย) 281. จากรูปที่ 12.102 (ซาย) เจาะชองผนัง โดยใชคาํ สัง่ Modify4Solid Editing4Subtract เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract from .. Select objects: คลิกบน

chap-12-2.PMD

320

12/10/2549, 21:51

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

321

รูปที่ 12.102

โซลิดผนังจุดที่ 5 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 6 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.102 (ขวา)

รูปที่ 12.103

282. จากรูปที่ 12.102 (ขวา) สอดแทรกโมเดลหนาตางโดยใชคาํ สัง่ Insert4Block จะ ปรากฏไดอะล็อค Insert ดังรูปที่ 12.90 (ซาย) ใหเลือก WinType4 จากแถบรายการ Name ใหแนใจวา Unit = Meters, Factor = 1 และ ใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย หนาเช็คบอกซ Specify On-screen ในฟลด Insertion point แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏขอความ Specify insertion point or... เปด # คลิกจุดที่7 จะปรากฏ ดังรูปที่ 12.103 (ซาย)

283. ตอไปเจาะชองผนังสําหรับประตู DoorType2 โดยเปดไฟล DoorType2.dwg จาก โฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM แนบทายหนังสือคูม อื ฯ จะปรากฏดังรูปที่ 12.103 (กลาง-ซ าย) แล วแช แข็ ง(Freeze)เลเยอร Door, Frame, Glass, Knob แลวละลาย (Thaw)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร “Solid” แลวคลิก บนเลเยอร 0 (ศูนย) จะปรากฏดังรูปที่ 12.103 (กลาง-ขวา) 284. จากรูปที่ 12.103 (กลาง-ขวา) หมุนโซลิด 90 องศา โดยใชคําสัง่ Modify4Rotate เมื่อปรากฏขอความ Select objects: คลิกบนโซลิดจุดที่ 8 แลวคลิกขวา เมื่อ ปรากฏขอความ Specify base point: เลื่ อนเคอรเซอรไปยังจุ ดที่ 9 เมื่ อปรากฏ มารคเกอร คลิกซาย Specify rotation angle or [Copy/Reference] <0>: พิมพคา มุม 90 องศา กดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.103 (ขวา) 285. จากรูปที่ 12.103 (ขวา) คัดลอกโซลิดเฉพาะสวนทีจ่ ะนําไปหักลบผนัง โดยใชคําสัง่ Edit4Copy with Base Point เมือ่ ปรากฏขอความ Specify base point: เปด

chap-12-2.PMD

321

12/10/2549, 21:51

322

# คลิกจุดที่ 10 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 11 แลวคลิกขวา

แลวปดไฟล โดยใชคําสัง่ File4Close แลวคลิกบนปุม No เพือ่ กลับไปยังไฟลบา น ดังรูปที่ 12.103 (ซาย)

2D Drafting

รูปที่ 12.104

286. จากรูปที่ 12.103 (ซาย) เริม่ สอดแทรกโซลิดสําหรับเจาะผนัง โดยใชคาํ สัง่ Edit4Paste เมือ่ ปรากฏ Specify insertion point: ปด ^ เปด # เลือ่ นเคอรเซอรไป ยังจุดที่ 12 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย จะปรากฏดังรูปที่ 12.104 (ซาย)

287. จากรูปที่ 12.104 (ซาย) เจาะชองผนัง โดยใชคาํ สัง่ Modify4Solid Editing4Subtract เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract from .. Select objects: คลิกบน โซลิดผนังจุดที่ 1 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 2 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.104 (กลาง) 288. จากรูปที่ 12.104 (กลาง) สอดแทรกโมเดลหนาตางโดยใชคาํ สัง่ Insert4Block จะ ปรากฏไดอะล็อค Insert ดังรูปที่ 12.90 (ซาย) คลิกบนปุม Browse แลวคนหาไฟล DoorType2.dwg แลวคลิกบนปุม Open ใหแนใจวา Unit = Meters, Factor = 1 และใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย หนาเช็คบอกซ Specify On-screen ในฟลด Insertion point ใหปรับคามุม Angle = 90 แลวคลิกปุม OK จะปรากฏขอความ Specify insertion point or... เปด # คลิกจุดที่ 3 จะปรากฏดังรูปที่ 12.104 (ขวา) Note

ในไฟล DoorType2.dwg มีการใชคําสั่ง BASE เพื่อกําหนดจุดสอดแทรกใหอยูตรงจุดที่ 13 ของรูปที่ 12.103 (กลาง-ซาย) มาใหเรียบรอยแลว หากตองการเปลี่ยนแปลง เราจะตองพิมพคําสั่ง BASE ผาน บรรทัด Command: แลวกําหนดจุดสอดแทรกใหมไดตามความเหมาะสม แลวจะตองบันทึก (Save) ไฟล DoorType2.dwg ดวยจึงจะมีผลเมื่อทําการสอดแทรกบล็อคหรือเอกซเรฟ

รูปที่ 12.105

chap-12-2.PMD

322

12/10/2549, 21:51

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

323

289. ตอไปเริ่มเจาะชองผนังสําหรับหนาตางบานเกล็ด WinType6 บนผนังหองครัว โดยใชคําสัง่ View 4Pan4Real Time เลือ่ นภาพใหปรากฏดังรูปที่ 12.105 (ซาย) 290. เปดไฟล WinType6.dwg จากโฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM แนบทาย หนังสือคูม อื ฯ จะปรากฏดังรูปที่ 12.105 (กลาง-ซาย) แลวแชแข็ง(Freeze)เลเยอร Window, Frame, Glass แลวละลาย(Thaw)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของ เลเยอร “Solid” แลวคลิกบนเลเยอร 0 (ศูนย) จะปรากฏดังรูปที่ 12.105 (กลาง-ขวา) 291. จากรูปที่ 12.105 (กลาง-ขวา) หมุนโซลิด 90 องศา โดยใชคําสัง่ Modify4Rotate เมื่อปรากฏขอความ Select objects: คลิกบนโซลิดจุดที่ 4 แลวคลิกขวา เมื่อ ปรากฏขอความ Specify base point: เลื่ อนเคอรเซอรไปยังจุ ดที่ 5 เมื่ อปรากฏ มารคเกอร คลิกซาย Specify rotation angle or [Copy/Reference] <0>: พิมพคา มุม 90 องศา กดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.105 (ขวา) 292. จากรูปที่ 12.105 (ขวา) คัดลอกโซลิดเฉพาะสวนทีจ่ ะนําไปหักลบผนัง โดยใชคําสัง่ Edit4Copy with Base Point เมือ่ ปรากฏขอความ Specify base point: เปด # เลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 6 เมื่อปรากฏมารคเกอร คลิกซาย เมื่อปรากฏ ขอความ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 7 แลวคลิกขวา แลวปดไฟล โดยใชคําสัง่ File4Close แลวคลิกบนปุม No เพือ่ กลับไปยังไฟลบา นดังรูปที่ 12.105 (ซาย)

รูปที่ 12.106

293. จากรูปที่ 12.105 (ซาย) เริม่ สอดแทรกโซลิดสําหรับเจาะผนัง โดยใชคาํ สัง่ Edit4Paste เมือ่ ปรากฏ Specify insertion point: ปด ^ เปด # เลือ่ นเคอรเซอรไป ยังจุดที่ 8 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย จะปรากฏดังรูปที่ 12.106 (ซาย)

294. จากรูปที่ 12.106 (ซาย) เคลือ่ นยายโซลิดทีจ่ ะใชสําหรับหักลบออกจากผนังขึน้ ใน แนวแกน Z โดยใชคําสัง่ Modify4Move เปด ) เมื่อปรากฏ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 9 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify base point ... ปด # คลิกจุดที่ 10 เมือ่ ปรากฏ Specify second point... เลือ่ นเคอรเซอรขนึ้ ในแนวดิง่ ตาม ทิศทางของแนวแกน Z เมือ่ ปรากฏเวคเตอร ใหพมิ พ 0.85 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.106 (ซาย-กลาง) 295. จากรูปที่12.106 (ซาย-กลาง) เจาะชองผนัง โดยใชคาํ สัง่ Modify4Solid Editing4Subtract เมือ่ ปรากฏ Select solids and regions to subtract from .. Select objects: คลิกบน

chap-12-2.PMD

323

12/10/2549, 21:51

324

โซลิดผนังจุดที่ 11 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 12 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.106 (กลาง-ขวา)

2D Drafting

296. จากรูปที่ 12.106 (กลาง-ขวา) สอดแทรกโมเดลหนาตางโดยใชคาํ สัง่ Insert4Block จะปรากฏไดอะล็อค Insert ดังรูปที่ 12.90 (ซาย) คลิกบนปุม Browse แลวคนหาไฟล WinType6.dwg แลวคลิกบนปุม Open ใหแนใจวา Unit = Meters, Factor = 1 และ ใหแนใจวาปรากฏเครื่ องหมาย หนาเช็คบอกซ Specify On-screen ในฟลด Insertion point ใหปรับคามุม Angle = 90 แลวคลิกปุม OK จะปรากฏขอความ Specify insertion point or... เปด # คลิกจุดที่ 13 จะปรากฏดังรูปที่ 12.106 (ขวา) Note

ในไฟล WinType6.dwg มีการใชคําสั่ง BASE เพื่อกําหนดจุดสอดแทรกใหอยูตรงจุดที่ 14 ของรูปที่ 12.105 (กลาง-ซาย) มาใหเรียบรอยแลว หากตองการเปลี่ยนแปลง เราจะตองพิมพคําสั่ง BASE ผาน บรรทัด Command: แลวกําหนดจุดสอดแทรกใหมไดตามความเหมาะสม แลวจะตองบันทึก (Save) ไฟล WinType6.dwg ดวยจึงจะมีผลเมื่อทําการสอดแทรกบล็อคหรือเอกซเรฟ

297. ตอไปเริม่ เจาะชองผนังสําหรับหนาตางหองรับแขก WinType3 โดยกอนอืน่ ละลาย (Thaw)เลเยอร “พืน้ ชัน้ บน”, “เสาชัน้ ลาง” แลวกําหนดเลเยอร 0 (ศูนย) เปนเลเยอร ใชงาน แลวใชคําสัง่ View4Orbit4Contrained Orbit หมุนมุมมองไปยังทิศ ตะวันตกของตัวบาน แลวใชคําสัง่ View 4Pan4Real Time เลือ่ นภาพใหปรากฏ ดังรูปที่ 12.107 (ซาย)

รูปที่ 12.107

298. เปดไฟล WinType3.dwg จากโฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM แนบทาย หนังสือคูม อื ฯ จะปรากฏดังรูปที่ 12.107 (กลาง-ซาย) แลวแชแข็ง(Freeze)เลเยอร Window, Frame, Glass แลวละลาย(Thaw)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของ เลเยอร “Solid” แลวคลิกบนเลเยอร 0 (ศูนย) จะปรากฏดังรูปที่ 12.107 (กลาง-ขวา) 299. จากรูปที่ 12.107 (กลาง-ขวา) หมุนโซลิด 90 องศา โดยใชคําสัง่ Modify4Rotate เมื่อปรากฏขอความ Select objects: คลิกบนโซลิดจุดที่ 1 แลวคลิกขวา เมื่อ ปรากฏขอความ Specify base point: เลื่ อนเคอรเซอรไปยังจุ ดที่ 2 เมื่ อปรากฏ มารคเกอร คลิกซาย Specify rotation angle or [Copy/Reference] <0>: พิมพคา มุม 90 องศา กดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.107 (ขวา)

chap-12-2.PMD

324

12/10/2549, 21:51

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

325

300. จากรูปที่ 12.107 (ขวา) คัดลอกโซลิดเฉพาะสวนทีจ่ ะนําไปหักลบผนัง โดยใชคําสัง่ Edit4Copy with Base Point เมือ่ ปรากฏขอความ Specify base point: เปด # คลิกจุดที่ 3 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 4 แลวคลิกขวา แลวปดไฟล โดยใชคําสัง่ File4Close แลวคลิกบนปุม No เพือ่ กลับไปยังไฟลบา น ดังรูปที่ 12.107 (ซาย) 301. จากรูปที่ 12.107 (ซาย) เริม่ สอดแทรกโซลิดสําหรับเจาะผนัง โดยใชคาํ สัง่ Edit4Paste ^ เปด # เลือ่ นเคอรเซอรไป เมือ่ ปรากฏ Specify insertion point: ปด ยังจุดที่ 5 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย จะปรากฏดังรูปที่ 12.108 (ซาย) รูปที่ 12.108

302. จากรูปที่ 12.108 (ซาย) คัดลอกโซลิดที่จะใชสําหรับหักลบออกจากผนัง โดยใช คําสัง่ Modify4Copy เปด # เมือ่ ปรากฏ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 6 แลวคลิกขวา เมื่อปรากฏ Specify base point ... คลิกจุดที่ 7 เมือ่ ปรากฏ Specify second point... คลิกจุดที่ 8 จะปรากฏดังรูปที่ 12.108 (ขวา) 303. จากรูปที่ 12.108 (ขวา) เคลื่อนยายโซลิดทีจ่ ะใชสําหรับหักลบออกจากผนังขึน้ ใน แนวแกน Z โดยใชคําสัง่ Modify4Move เปด ) เมื่อปรากฏ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 9 และ 10 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify base point ... ปด # คลิกจุดที่ 11 เมือ่ ปรากฏ Specify second point... เลือ่ นเคอรเซอรขนึ้ ใน แนวดิง่ ตามทิศทางของแนวแกน Z เมือ่ ปรากฏเวคเตอร ใหพมิ พ 0.45 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.109 (ซาย) รูปที่ 12.109

304. จากรูปที่ 12.109 (ซาย) เจาะชองผนัง โดยใชคาํ สัง่ Modify4Solid Editing4Subtract เมือ่ ปรากฏ Select solids and regions to subtract from .. Select objects: คลิกบน

chap-12-2.PMD

325

12/10/2549, 21:51

326

โซลิดผนังจุดที่ 12 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 13 และ 14 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.109 (ขวา)

2D Drafting

Note

หากเราไมสามารถเลือกผนังตรงจุดที่ 7 ได เราจะตองใชคําสั่ง View4Regen All เพื่อใหโปรแกรม คํานวณภาพใหมเสียกอน หรืออาจจะใชวธิ แี ชแข็ง(Freeze)เลเยอร “พืน้ ชัน้ ลาง” จึงจะสามารถเลือกผนัง ในขอ 304 ได

305. จากรูปที่ 12.109 (ขวา) สอดแทรกโมเดลหนาตางโดยใชคาํ สัง่ Insert4Block จะ ปรากฏไดอะล็อค Insert ดังรูปที่ 12.90 (ซาย) คลิกบนปุม Browse แลวคนหาไฟล WinType3.dwg แลวคลิกบนปุม Open ใหแนใจวา Unit = Meters, Factor = 1 และ ใหแนใจวาปรากฏเครื่ องหมาย หนาเช็คบอกซ Specify On-screen ในฟลด Insertion point ใหปรับคามุม Angle = -90 แลวคลิกปุม OK จะปรากฏขอความ Specify insertion point or... เปด # คลิกจุดที่15 หนาตาง WinType3 จะถูกสอด แทรกบนผนัง 306. หมุนมุมมองใหสามารถมองเห็นจุดสอดแทรกของหนาตางอีกบานหนึ่ง โดยใช คําสั่ง View4Orbit4Contrained Orbit ใหปรากฏดังรูปที่ 12.110 (ซาย) รูปที่ 12.110

Note

หนาตางอีกบานหนึ่ง เราจะใชวิธีการสอดแทรกบล็อคดวยคําสั่ง Insert4Block หรือจะคัดลอก ดวยคําสัง่ Modify4Copy แทนก็ได แตถา เราสอดแทรกวัตถุแบบเอกซเรฟ เราจะตองเปลีย่ นโหมด แสดงผลเปน 2D Wireframe เสียกอน เพราะในโหมดแสดงผล Conceptual ไมสามารถเลือกวัตถุทเี่ ปน เอกซเรฟได เมือ่ เปลีย่ นโหมดแสดงผลเปน 2D Wireframe แลวเราจึงจะสามารถเลือกเอกซเรฟในคําสัง่ Modify4Copy เพือ่ คัดลอกเอกซเรฟได

307. จากรูปที่ 12.110 (ซาย) สอดแทรกโมเดลหนาตางโดยใชคาํ สัง่ Insert4Block จะ ปรากฏไดอะล็อค Insert ดังรูปที่ 12.90 (ซาย) ใหเลือก WinType3 จากแถบรายการ Name ใหแนใจวา Unit = Meters, Factor = 1 และ ใหแนใจวาปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซ Specify On-screen ใหปรับคามุม Angle = -90 แลวคลิกปุม OK จะปรากฏขอความ Specify insertion point or... เปด # คลิกจุดที่ 1 หนาตาง WinType3 จะถูกสอดแทรกบนผนัง จะปรากฏดังรูปที่ 12.110 (ขวา)

chap-12-2.PMD

326

12/10/2549, 21:51

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม Note

รูปที่ 12.111

327

ในไฟล WinType3.dwg มีการใชคําสั่ง BASE เพื่อกําหนดจุดสอดแทรกใหอยูตรงจุดที่ 16 ของรูปที่ 12.107 (กลาง-ซาย) มาใหเรียบรอยแลว หากตองการเปลี่ยนแปลง เราจะตองพิมพคําสั่ง BASE ผาน บรรทัด Command: แลวกําหนดจุดสอดแทรกใหมไดตามความเหมาะสม แลวจะตองบันทึก (Save) ไฟล WinType3.dwg ดวยจึงจะมีผลเมื่อทําการสอดแทรกบล็อคหรือเอกซเรฟ

308. ตอไปเริ่มเจาะชองผนังสําหรับหนาตางหองนอน WinType5 โดยใชคําสั่ง View เลือ่ นภาพใหปรากฏดังรูปที่ 12.111 (ซาย) 4Pan4Real Time

309. เปดไฟล WinType5.dwg จากโฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM แนบทาย หนังสือคูม อื ฯ จะปรากฏดังรูปที่ 12.111 (กลาง-ซาย) แลวแชแข็ง(Freeze)เลเยอร Window, Frame, Glass แลวละลาย(Thaw)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของ เลเยอร “Solid” แลวคลิกบนเลเยอร 0 (ศูนย) จะปรากฏดังรูปที่ 12.111 (กลาง-ขวา) 310. จากรูปที่ 12.111 (กลาง-ขวา) หมุนโซลิด 90 องศา โดยใชคําสัง่ Modify4Rotate เมื่อปรากฏขอความ Select objects: คลิกบนโซลิดจุดที่ 2 แลวคลิกขวา เมื่อ ปรากฏขอความ Specify base point: เลื่ อนเคอรเซอรไปยังจุ ดที่ 3 เมื่ อปรากฏ มารคเกอร คลิกซาย Specify rotation angle or [Copy/Reference] <0>: พิมพคา มุม 90 องศา กดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.111 (ขวา) 311. จากรูปที่ 12.111 (ขวา) คัดลอกโซลิดเฉพาะสวนทีจ่ ะนําไปหักลบผนัง โดยใชคําสัง่ Edit4Copy with Base Point เมือ่ ปรากฏขอความ Specify base point: เปด # คลิกจุดที่ 4 เมื่อปรากฏขอความ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 5 แลวคลิก ขวา แลวปดไฟล โดยใชคําสั่ง File4Close แลวคลิกบนปุม No เพือ่ กลับไปยังไฟล บานดังรูปที่ 12.111 (ซาย) 312. จากรูปที่ 12.111 (ซาย) เริม่ สอดแทรกโซลิดสําหรับเจาะผนัง โดยใชคําสัง่ Edit4 Paste เมื่อปรากฏ Specify insertion point: ปด ^ เปด # เลือ่ น เคอรเซอรไปยังจุดที่ 6 เมื่อปรากฏมารคเกอร เลื่อนเคอรเซอรไปตามทิศทาง ของจุดที่ 7 เมื่อปรากฏเวคเตอร ใหพิมพ 0.9 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.112 (ซาย)

chap-12-2.PMD

327

12/10/2549, 21:51

328

Note

รูปที่ 12.111 (ซาย) หากเลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 6 แลวไมปรากฏมารคเกอร เราจะตองใชคําสั่ง ZOOM ขยายภาพใหมีขนาดใหญมากขึ้น

2D Drafting

รูปที่ 12.112

313. จากรูปที่ 12.112 (ซาย) เคลือ่ นยายโซลิดทีจ่ ะใชสําหรับหักลบออกจากผนังขึน้ ใน แนวแกน Z โดยใชคําสัง่ Modify4Move เปด ) เมื่อปรากฏ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 1 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify base point ... ปด # คลิกจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏ Specify second point... เลือ่ นเคอรเซอรขนึ้ ในแนวดิง่ ตาม ทิศทางของแนวแกน Z เมือ่ ปรากฏเวคเตอร ใหพมิ พ 0.85 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.112 (ขวา) 314. จากรูปที่ 12.112 (ขวา) คัดลอกโซลิดที่จะใชสําหรับหักลบออกจากผนัง โดยใช คําสัง่ Modify4Copy เมือ่ ปรากฏ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 3 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify base point ... เปด ) ปด # คลิกประมาณจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify second point... เลือ่ นเคอรเซอรไปตามทิศทางของ จุดที่ 5 เมือ่ ปรากฏเวคเตอร ใหพมิ พ 2.4 แลวกดปุม Q เมือ่ ปรากฏขอความ Specify second point... เลือ่ นเคอรเซอรไปตามทิศทางของจุดที่ 5 เมือ่ ปรากฏเวคเตอร ใหพมิ พ 4.7 แลวกดปุม Q แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.113 (ซาย) รูปที่ 12.113

315. จากรูปที่ 12.113 (ซาย) เจาะชองผนัง โดยใชคาํ สัง่ Modify4Solid Editing4Subtract เมือ่ ปรากฏ Select solids and regions to subtract from .. Select objects: คลิกบนโซลิด ผนังจุดที่ 6 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 7, 8 และ 9 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.113 (ขวา) 316. จากรูปที่ 12.113 (ขวา) สอดแทรกโมเดลหนาตางโดยใชคาํ สัง่ Insert4Block

chap-12-2.PMD

328

12/10/2549, 21:51

คลิก

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

329

บนปุม Browse แลวคนหาไฟล WinType5.dwg แลวคลิกบนปุม Open ใหปรับคามุม Angle = -90 แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏขอความ Specify insertion point or... เปด # คลิกจุดที่ 10 หนาตาง WinType5 จะถูกสอดแทรก 317. จากรูปที่ 12.113 (ขวา) คลิกขวา เพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ Insert4Block ตามวิธใี นขอ 316 เลือกบล็อค WinType5 จากแถบรายการ Name กําหนดมุม Angle = -90 องศา โดยใชจดุ ที่ 11 เปนจุดสอดแทรก

รูปที่ 12.114

318. จากรูปที่ 12.113 (ขวา) คลิกขวา เพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ Insert4Block ตามวิธใี นขอ 316 เลือกบล็อค WinType5 จากแถบรายการ Name กําหนดมุม Angle = -90 องศา โดยใชจดุ ที่ 12 เปนจุดสอดแทรก จะปรากฏดังรูปที่ 12.114 (ซาย)

319. ตอไปเริม่ เจาะชองผนังสําหรับหนาตางดานหลังบาน WinType3 โดยกอนอืน่ ใชคาํ สัง่ View4Orbit4 Contrained Orbit หมุนมุมมองไปยังทิศเหนือหรือหลังบาน แลว ใชคาํ สัง่ View4Pan4Real Time เลือ่ นภาพใหปรากฏดังรูปที่ 12.114 (กลาง-ซาย) 320. เปดไฟล WinType3.dwg จากโฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM แนบทาย หนังสือคูม อื ฯ จะปรากฏดังรูปที่ 12.115 (กลาง-ขวา) แลวแชแข็ง(Freeze)เลเยอร Window, Frame, Glass แลวละลาย(Thaw)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของ เลเยอร “Solid” แลวคลิกบนเลเยอร 0 (ศูนย) จะปรากฏดังรูปที่ 12.115 (ขวา) 321. จากรูปที่ 12.115 (ขวา) คัดลอกโซลิดเฉพาะสวนทีจ่ ะนําไปหักลบผนัง โดยใชคําสัง่ Edit4Copy with Base Point เมือ่ ปรากฏขอความ Specify base point: เปด # คลิกจุดที่ 13 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 14 แลวคลิกขวา แลวปดไฟล โดยใชคําสัง่ File4Close แลวคลิกบนปุม No เพือ่ กลับไปยังไฟลบา น ดังรูปที่ 12.114 (กลาง-ซาย) 322. จากรูปที่ 12.114 (กลาง-ซาย) เริม่ สอดแทรกโซลิดสําหรับเจาะผนัง โดยใชคําสั่ง Edit4Paste เมื่อปรากฏ Specify insertion point: ปด ^ เปด ) เปด # เลื่ อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 15 เมื่อปรากฏมารคเกอร เลื่อน เคอรเซอรไปตามทิศทางของจุดที่ 16 เมื่อปรากฏเวคเตอร ให พิมพ 0.45 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.115 (ซาย)

chap-12-2.PMD

329

12/10/2549, 21:51

330

2D Drafting รูปที่ 12.115

323. จากรูปที่ 12.115 (ซาย) เจาะชองผนัง โดยใชคาํ สัง่ Modify4Solid Editing4Subtract เมือ่ ปรากฏ Select solids and regions to subtract from .. Select objects: คลิกบนโซลิด ผนังจุดที่ 1 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 2 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.115 (กลาง-ซาย) 324. จากรูปที่ 12.115 (กลาง-ซาย) สอดแทรกโมเดลหนาตางโดยใชคาํ สัง่ Insert4Block จะปรากฏไดอะล็ อค Insert ดั งรู ป ที่ 12.90 (ซ า ย) ให เลื อก WinType3 จาก แถบรายการ Name ใหแนใจวา Unit = Meters, Factor = 1 และใหแนใจวาปรากฏ เครือ่ งหมาย หนาเช็คบอกซ Specify On-screen ใหปรับคามุม Angle = 180 แลว คลิกปุม OK จะปรากฏขอความ Specify insertion point or... เปด # คลิกจุดที่ 3 หนาตาง WinType3 จะถูกสอดแทรกดังรูปที่ 12.115 (กลาง-ขวา) 325. ตอไปเริม่ เจาะชองผนังสําหรับหนาตางดานหลังบานของหองนอนชัน้ บน โดยใช คําสั่ง View4Pan4Real Time เลือ่ นภาพใหปรากฏดังรูปที่ 12.115 (ขวา) 326. เปดไฟล WinType5.dwg จากโฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM แนบทาย หนังสือคูม อื ฯ จะปรากฏดังรูปที่ 12.116 (ซาย) แลวแชแข็ง(Freeze)เลเยอร Window, Frame, Glass แลวละลาย(Thaw)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร “Solid” แลวคลิกบนเลเยอร 0 (ศูนย) จะปรากฏดังรูปที่ 12.116 (กลาง-ซาย) รูปที่ 12.116

327. จากรูปที่ 12.116 (กลาง-ซาย) คัดลอกโซลิดเฉพาะสวนทีจ่ ะนําไปหักลบผนัง โดย ใชคําสัง่ Edit4Copy with Base Point เมื่อปรากฏขอความ Specify base point: เปด # คลิกจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 5 แลวคลิกขวา แลวปดไฟล โดยใชคําสัง่ File4Close แลวคลิกบนปุม No เพือ่ กลับไป ยังไฟลบา นดังรูปที่ 12.115 (ขวา)

chap-12-2.PMD

330

12/10/2549, 21:51

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

331

328. จากรูปที่ 12.115 (ขวา) เริม่ สอดแทรกโซลิดสําหรับเจาะผนัง โดยใชคําสัง่ Edit4 Paste เมือ่ ปรากฏ Specify insertion point: ปด ^ เปด ) เปด # เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 6 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร เลือ่ นเคอรเซอร ไปตามทิศทางของจุดที่ 7 เมื่อปรากฏเวคเตอร ใหพิมพ 0.85 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.116 (กลาง-ขวา) 329. จากรูปที่ 12.116 (กลาง-ขวา) เคลือ่ นยายโซลิดทีจ่ ะใชสําหรับหักลบออกจากผนัง ) เมือ่ ปรากฏ Select ไปทางขวา โดยใชคําสัง่ Modify4Move เปด objects: คลิกโซลิดจุดที่ 8 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify base point ... ปด # คลิกจุดที่ 9 เมือ่ ปรากฏ Specify second point... เลือ่ นเคอรเซอรไปทางขวาตามทิศ ทางของจุดที่10 เมือ่ ปรากฏเวคเตอร ใหพมิ พ 0.1 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.116 (ขวา)

รูปที่ 12.117

330. จากรูปที่ 12.116 (ขวา) เจาะชองผนัง โดยใชคาํ สัง่ Modify4Solid Editing4Subtract เมือ่ ปรากฏ Select solids and regions to subtract from .. Select objects: คลิกบนโซลิด ผนังจุดที่ 11 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 12 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.117 (ซาย)

331. จากรูปที่ 12.117 (ขวา) สอดแทรกโมเดลหนาตางโดยใชคําสัง่ Insert4 Block จะปรากฏไดอะล็ อค Insert ดั งรู ป ที่ 12.90 (ซ า ย) ให เลื อก WinType5 จาก แถบรายการ Name ใหแนใจวา Unit = Meters, Factor = 1 และใหแนใจวาปรากฏ เครือ่ งหมาย หนาเช็คบอกซ Specify On-screen ใหปรับคามุม Angle = 180 แลว คลิกปุม OK จะปรากฏขอความ Specify insertion point or... เปด # คลิกจุดที่ 13 หนาตาง WinType5 จะถูกสอดแทรกดังรูปที่ 12.117 (กลาง-ซาย) 332. ตอไปเริ่มเจาะชองผนังสําหรับหนาตางดานหลังบานของหองน้ําชั้นบน โดยใช คําสั่ง View4Pan4Real Time เลือ่ นภาพใหปรากฏดังรูปที่ 12.117 (กลาง-ขวา) 333. เปดไฟล WinType7.dwg จากโฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM แนบทาย หนังสือคูม อื ฯ จะปรากฏดังรูปที่ 12.117 (ขวา) แลวแชแข็ง(Freeze)เลเยอร Frame, Glass แลวละลาย(Thaw)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร “Solid” แลว คลิกบนเลเยอร 0 (ศูนย) จะปรากฏดังรูปที่ 12.118 (ซาย)

chap-12-2.PMD

331

12/10/2549, 21:51

332

รูปที่ 12.118

2D Drafting 334. จากรูปที่ 12.118 (ซาย) คัดลอกโซลิดเฉพาะสวนทีจ่ ะนําไปหักลบผนัง โดยใชคําสัง่ Edit4Copy with Base Point เมือ่ ปรากฏขอความ Specify base point: เปด # คลิกจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 2 แลวคลิกขวา แลวปดไฟล โดยใชคําสัง่ File4Close แลวคลิกบนปุม No เพือ่ กลับไปยังไฟลบา น ดังรูปที่ 12.117 (กลาง-ขวา) 335. จากรูปที่ 12.117 (กลาง-ขวา) เริ่มสอดแทรกโซลิดสําหรับเจาะผนัง โดยใชคําสั่ง ^ เปด ) Edit4Paste เมื่อปรากฏ Specify insertion point: ปด เปด # เลื่ อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 14 เมื่อปรากฏมารคเกอร เลื่อน เคอรเซอรไปตามทิศทางของจุดที่ 15 เมือ่ ปรากฏเวคเตอร ใหพมิ พ 1.45 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.118 (กลาง-ซาย) 336. จากรูปที่ 12.118 (กลาง-ซาย) คัดลอกโซลิดแบบพลิกกลับ โดยใชคําสัง่ Modify4 3D Operations43D Mirror เปด # เมือ่ ปรากฏ Select objects: คลิกบน โซลิดจุดที่ 3 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify first point of mirror plane (3 points) or [Object/Last/Zaxis/View/XY/YZ/ZX/3points] <3points>: พิมพตัวเลือก YZ เพือ่ ใชระนาบ YZ เปนระนาบในการพลิกกลับ เมือ่ ปรากฏ Specify point on YZ plane <0,0,0>: เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย เมือ่ ปรากฏ Delete source objects? [Yes/No] : ใหคลิกขวาหรือกดปุม Q จะ ปรากฏดังรูปที่ 12.118 (กลาง-ขวา) 337. จากรูปที่ 12.118 (กลาง-ขวา) เจาะชองผนัง โดยใชคําสัง่ Modify4Solid Editing4 Subtract เมือ่ ปรากฏ Select solids and regions to subtract from .. Select objects: คลิกบนโซลิดผนังจุดที่ 5 แลวคลิกขวา เมื่อปรากฏ Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 6 และ 7 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.118 (ขวา) 338. จากรูปที่ 12.118 (ขวา) สอดแทรกโมเดลหนาตางโดยใชคําสัง่ Insert4 Block คลิกบนปุม Browse แลวคนหาไฟล WinType7.dwg แลวคลิกบนปุม Open ใหปรับคามุม Angle = 180 แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏขอความ Specify insertion point or... เปด # คลิกจุดที่ 8 หนาตาง WinType7 จะถูกสอดแทรก 339. จากรูปที่ 12.118 (ขวา) คลิกขวา เพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ Insert4Block

chap-12-2.PMD

332

12/10/2549, 21:51

ตามวิธใี นขอ

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

333

338 เลือกบล็อค WinType7 จากแถบรายการ Name กําหนดมุม Angle = 180 องศา โดยใชจดุ ที่ 9 เปนจุดสอดแทรก จะปรากฏดังรูปที่ 12.119 (ซาย) Note

ในไฟล WinType7.dwg มีการใชคําสั่ง BASE เพื่อกําหนดจุดสอดแทรกใหอยูตรงจุดที่ 16 ของรูปที่ 12.117 (ขวา) มาใหเรียบรอยแลว หากตองการเปลีย่ นแปลง เราจะตองพิมพคําสั่ง BASE ผานบรรทัด Command: แลวกําหนดจุดสอดแทรกใหมไดตามความเหมาะสม แลวจะต องบันทึก(Save)ไฟล WinType7.dwg ดวยจึงจะมีผลเมือ่ ทําการสอดแทรกบล็อคหรือเอกซเรฟ รูปที่ 12.119

340. ตอไปเริม่ เจาะชองผนังสําหรับหนาตางดานหลังบานของหองนอนชัน้ บน โดยใช คําสั่ง View4Pan4Real Time เลือ่ นภาพใหปรากฏดังรูปที่ 12.119 (กลาง-ซาย) 341. เปดไฟล WinType5.dwg จากโฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM แนบทาย หนังสือคูม อื ฯ จะปรากฏดังรูปที่ 12.119 (กลาง-ขวา) แลวแชแข็ง(Freeze)เลเยอร Window, Frame, Glass แลวละลาย(Thaw)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของ เลเยอร “Solid” แลวคลิกบนเลเยอร 0 (ศูนย) จะปรากฏดังรูปที่ 12.119 (ขวา) 342. จากรูปที่ 12.119 (ขวา) คัดลอกโซลิดเฉพาะสวนทีจ่ ะนําไปหักลบผนัง โดยใชคําสัง่ Edit4Copy with Base Point เมือ่ ปรากฏขอความ Specify base point: เปด # คลิกจุดที่ 10 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 11 แลวคลิกขวา แลวปดไฟล โดยใชคําสัง่ File4Close แลวคลิกบนปุม No เพือ่ กลับ ไปยังไฟลบา น ดังรูปที่ 12.119 (กลาง-ซาย) 343. จากรูปที่ 12.119 (กลาง-ซาย) เริม่ สอดแทรกโซลิดสําหรับเจาะผนัง โดยใชคําสั่ง Edit4Paste เมื่อปรากฏ Specify insertion point: ปด ^ เปด ) เปด # เลื่ อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 12 เมื่อปรากฏมารคเกอร เลื่อน เคอรเซอรไปตามทิศทางของจุดที่ 13 เมื่อปรากฏเวคเตอร ใหพิมพ 1.4 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.120 (ซาย) 344. จากรูปที่ 12.120 (ซาย) เคลือ่ นยายโซลิดที่จะใชสําหรับหักลบออกจากผนังขึน้ ใน แนวแกน Z โดยใชคําสัง่ Modify4Move เปด ) เมื่อปรากฏ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 1 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify base point ... ปด # คลิ ก จุ ด ที่ 2 เมื่ อปรากฏ Specify second point... เลื่อนเคอรเซอรขึ้นใน

chap-12-2.PMD

333

12/10/2549, 21:52

334

แนวดิง่ ตามทิศทางของจุดที่ 3 เมือ่ ปรากฏเวคเตอร แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.120 (กลาง)

ใหพมิ พ 0.85

2D Drafting

รูปที่ 12.120

345. จากรูปที่ 12.120 (กลาง) เจาะชองผนัง โดยใชคาํ สัง่ Modify4Solid Editing4Subtract เมือ่ ปรากฏ Select solids and regions to subtract from .. Select objects: คลิกบนโซลิด ผนังจุดที่ 4 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 5 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.120 (ขวา) 346. จากรูปที่ 12.120 (ขวา) สอดแทรกโมเดลหนาตางโดยใชคาํ สัง่ Insert4Block จะ ปรากฏไดอะล็อค Insert ดังรูปที่ 12.90 (ซาย) ใหเลือก WinType5 จากแถบรายการ Name ใหแนใจวา Unit = Meters, Factor = 1 และใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย หนาเช็คบอกซ Specify On-screen ใหปรับคามุม Angle = 180 แลวคลิกปุม OK จะปรากฏขอความ Specify insertion point or... เปด # คลิกจุดที่ 6 หนาตาง WinType5 จะถูกสอดแทรกดังรูปที่ 12.121 (ซาย)

รูปที่ 12.121

347. ตอไปเริ่มเจาะชองผนังสําหรับหนาตางครัวดานหลังบาน โดยกอนอื่น ใชคําสั่ง View4Orbit4Contrained Orbit หมุนมุมมองไปยังทิศเหนือหรือหลังบาน แลว ใชคําสั่ง View4Pan4Real Time เลือ่ นภาพใหปรากฏดังรูปที่ 12.121 (กลาง) 348. เปดไฟล WinType6.dwg จากโฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM แนบทาย หนังสือคูม อื ฯ จะปรากฏดังรูปที่ 12.121 (ขวา) แลวแชแข็ง(Freeze)เลเยอร Frame, Glass แลวละลาย(Thaw)เลเยอร โดยคลิ กบนไอคอน ของเลเยอร “Solid” แลวคลิกบนเลเยอร 0 (ศูนย) จะปรากฏดังรูปที่ 12.122 (ซาย)

chap-12-2.PMD

334

12/10/2549, 21:52

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

335

รูปที่ 12.122

349. จากรูปที่ 12.122 (ซาย) คัดลอกโซลิดเฉพาะสวนทีจ่ ะนําไปหักลบผนัง โดยใชคําสัง่ Edit4Copy with Base Point เมือ่ ปรากฏขอความ Specify base point: เปด # คลิกจุดที่ 7 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 8 แลว คลิกขวา แลวปดไฟล โดยใชคําสัง่ File4Close แลวคลิกบนปุม No เพือ่ กลับไปยังไฟลบา น ดังรูปที่ 12.121 (กลาง) 350. จากรูปที่ 12.121 (กลาง) เริม่ สอดแทรกโซลิดสําหรับเจาะผนัง โดยใชคําสัง่ Edit4 ^ เปด ) เปด Paste เมือ่ ปรากฏ Specify insertion point: ปด # เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 9 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร เลือ่ นเคอรเซอร ไปตามทิศทางของจุดที่ 10 เมื่อปรากฏเวคเตอร ใหพิมพ 0.85 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.122 (กลาง) 351. จากรูปที่ 12.122 (กลาง) เจาะชองผนัง โดยใชคาํ สัง่ Modify4Solid Editing4Subtract เมือ่ ปรากฏ Select solids and regions to subtract from .. Select objects: คลิกบนโซลิด ผนังจุดที่ 11 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 12 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.122 (ขวา) 352. จากรูปที่ 12.122 (ขวา) สอดแทรกโมเดลหนาตางโดยใชคาํ สัง่ Insert4Block จะ ปรากฏไดอะล็อค Insert ดังรูปที่ 12.90 (ซาย) ใหเลือก WinType6 จากแถบรายการ Name ใหแนใจวา Unit = Meters, Factor = 1 และใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย หนาเช็คบอกซ Specify On-screen ใหปรับคามุม Angle = 180 แลวคลิกปุม OK จะ ปรากฏขอความ Specify insertion point or... เปด # คลิกจุดที่ 13 หนาตาง WinType6 จะถูกสอดแทรกดังรูปที่ 12.123 (ซาย) รูปที่ 12.123

chap-12-2.PMD

335

12/10/2549, 21:52

336

353. ตอไปเจาะชองผนังสําหรับประตูครัวดานหลังบาน โดยเปดไฟล DoorType5.dwg จากโฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM แนบทายหนังสือคูม อื ฯ จะปรากฏ ดังรูปที่ 12.123 (กลาง) แลวแชแข็ง(Freeze)เลเยอร Door, Frame, Glass, Knob แลวละลาย (Thaw)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร “Solid” แลวคลิก บนเลเยอร 0 (ศูนย) จะปรากฏดังรูปที่ 12.123 (ขวา)

2D Drafting

354. จากรูปที่ 12.123 (ขวา) คัดลอกโซลิดเฉพาะสวนที่จะนําไปหักลบผนัง โดยใช คําสั่ง Edit4Copy with Base Point เมือ่ ปรากฏขอความ Specify base point: เปด # คลิกจุดที่ 14 เมื่อปรากฏขอความ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 15 แลวคลิกขวา แลวปดไฟล โดยใชคําสัง่ File4Close แลวคลิกบนปุม No เพือ่ กลับไป ยังไฟลบา นดังรูปที่ 12.123 (ซาย)

รูปที่ 12.124

355. จากรูปที่ 12.123 (ซาย) เริม่ สอดแทรกโซลิดสําหรับเจาะผนัง โดยใชคําสัง่ Edit4 ^ เปด # คลิกตรง Paste เมื่อปรากฏ Specify insertion point: ปด จุดที่ 16 จะปรากฏดังรูปที่ 12.124 (ซาย)

356. จากรูปที่ 12.124 (ซาย) เจาะชองผนัง โดยใชคาํ สัง่ Modify4Solid Editing4Subtract เมือ่ ปรากฏ Select solids and regions to subtract from .. Select objects: คลิกบนโซลิด ผนังจุดที่ 1 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 2 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.124 (กลาง) 357. จากรูปที่ 12.124 (กลาง) สอดแทรกโมเดลประตู โดยใชคําสัง่ Insert4 Block จะปรากฏไดอะล็อค Insert ดังรูปที่ 12.90 (ซาย) คลิกบนปุม Browse แลวคนหาไฟล DoorType5.dwg แลวคลิกบนปุม Open ใหแนใจวา Unit = Meters, Factor = 1 และใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย หนาเช็คบอกซ Specify On-screen ในฟลด Insertion point ใหปรับคามุม Angle = 180 แลวคลิกปุม OK จะปรากฏขอความ Specify insertion point or... เปด # คลิกจุดที่ 3 หนาตาง DoorType5 จะถูก สอดแทรกดังรูปที่ 12.124 (ขวา) 358. ตอไปเริม่ เจาะชองผนังสําหรับหนาตางดานหลังบานของหองน้าํ ชัน้ ลาง โดยกอนอืน่ ใชคาํ สัง่ View4Orbit4Contrained Orbit หมุนมุมมอง แลวใชคาํ สัง่ View4Pan4Real Time เลือ่ นภาพใหปรากฏดังรูปที่ 12.125 (ซาย)

chap-12-2.PMD

336

12/10/2549, 21:52

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

337

รูปที่ 12.125

359. เปด ไฟล WinType7.dwg จากโฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM แนบทาย หนังสือคูม อื ฯ จะปรากฏดังรูปที่ 12.125 (กลาง-ซาย) แลวแชแข็ง(Freeze)เลเยอร Frame, Glass แลวละลาย(Thaw)เลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร “Solid” แลว คลิกบนเลเยอร 0 (ศูนย) จะปรากฏดังรูปที่ 12.125 (กลาง-ขวา) 360. จากรูปที่ 12.125 (กลาง-ขวา) หมุนโซลิด 90 องศา โดยใชคําสัง่ Modify4Rotate เมื่อปรากฏขอความ Select objects: คลิกบนโซลิดจุดที่ 4 แลวคลิกขวา เมื่อ ปรากฏขอความ Specify base point: เลื่ อนเคอรเซอรไปยังจุ ดที่ 5 เมื่ อปรากฏ มารคเกอร คลิกซาย Specify rotation angle or [Copy/Reference] <0>: พิมพคา มุม 90 องศา กดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.125 (ขวา) 361. จากรูปที่ 12.125 (ขวา) คัดลอกโซลิดเฉพาะสวนทีจ่ ะนําไปหักลบผนัง โดยใชคําสัง่ Edit4Copy with Base Point เมือ่ ปรากฏขอความ Specify base point: เปด # คลิกจุดที่ 6 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 7 แลวคลิกขวา แลวปดไฟล โดยใชคําสัง่ File4Close แลวคลิกบนปุม No เพือ่ กลับไปยังไฟลบา น ดังรูปที่ 12.125 (ซาย)

รูปที่ 12.126

chap-12-2.PMD

362. จากรูปที่ 12.125 (ซาย) เริม่ สอดแทรกโซลิดสําหรับเจาะผนัง โดยใชคําสัง่ Edit4 Paste เมือ่ ปรากฏ Specify insertion point: ปด ^ เปด ) เปด # เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 8 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร เลือ่ นเคอรเซอร ไปตามทิศทางของจุดที่ 9 เมือ่ ปรากฏเวคเตอร ใหพมิ พ 1.35 แลว กดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.126 (ซาย)

337

12/10/2549, 21:52

338

363. จากรู ปที่ 12.126 (ซ าย) เคลื่ อนย ายโซลิ ดที่ จะใช สําหรั บหั กลบออกจากผนั ง ไปทางขวา โดยใชคําสัง่ Modify4Move เปด ) เมือ่ ปรากฏ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 10 แลวคลิกขวา เมื่อปรากฏ Specify base point ... ปด # คลิกจุดที่ 11 เมือ่ ปรากฏ Specify second point... เลือ่ นเคอรเซอรไปทาง ขวาตามทิศทางของจุดที่ 12 เมือ่ ปรากฏเวคเตอร ใหพมิ พ 0.2 แลว กดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.126 (กลาง-ซาย)

2D Drafting

364. จากรูปที่ 12.126 (กลาง-ซาย) เจาะชองผนัง โดยใชคาํ สัง่ Modify4Solid Editing4 Subtract เมือ่ ปรากฏ Select solids and regions to subtract from .. Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 13 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 14 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.126 (กลาง-ขวา) 365. จากรูปที่12.126 (กลาง-ขวา) สอดแทรกโมเดลหนาตางโดยใชคาํ สัง่ Insert4Block เลือกบล็อค WinType7 จากแถบรายการ Name แลวปรับคามุม Angle = 90 แลวคลิกบน ปุม OK จะปรากฏขอความ Specify insertion point or... เปด # คลิกจุดที่ 15 หนาตาง WinType7 จะถูกสอดแทรกดังรูปที่ 12.126 (ขวา) Note

ในขณะนี้ เราไดเจาะชองผนังและสอดแทรกประตูหนาตางภายนอกบานครบถวนเรียบรอยแลว ผูเ ขียน จะไมแสดงขั้นตอนการเจาะชองผนังและสอดแทรกประตูภายในบาน เนื่องจากมีขั้นตอนเหมือนๆ กันกับการเจาะชองผนังและสอดแทรกประตูหนาตางภายนอกบาน เพียงแตวา เราจะตองใชเลเยอร ควบคุมการปรากฏของวัตถุ เพือ่ ไมใหมีวตั ถุตา งๆ มาปดบังมุมมองที่เราตองการทํางาน เราอาจจะตอง แชแข็ง(Freeze)เลเยอรทงั้ หมด ยกเวนเลเยอรพนื้ ชัน้ ลางและผนังชัน้ ลาง ในกรณีทตี่ อ งการเจาะชองผนัง และสอดแทรกประตูชั้นลาง เปนตน เราไมสามารถใช Section Plane เพื่อสรางระนาบตัดเพื่อควบคุม การมองเห็นได เนือ่ งจากระนาบตัดจะทําใหเราไมสามารถใชออฟเจกทสแนปกับวัตถุทถี่ ูกระนาบตัด พาดผานได

Note

หากตอไปทาง Autodesk, Inc. ไดทําการแกไขเอกซเรฟใน AutoCAD 2007 ใหสามารถทํางานไดอยาง ถูกตองแลว เราสามารถเปลี่ยนการใชคําสั่ง Insert4Block เปนคําสั่ง Insert4DWG Reference แทนได อนึ่ง ถึงแมวาในแบบฝกหัดนี้ เราใชคําสั่ง Insert4Block ในการสอดแทรกประตู หนาตาง ถาหากเราตองการแกไขแบบประตูหรือแบบหนาตาง ยกตัวอยาง เชน หากตองการใหหนาตาง WinType4 ทุกบานแสดงภาพเปดหนาตางทํามุม 90 องศา ถึงแมวาเราไมไดใชเอกซเรฟ เราก็สามารถ เปลี่ยนแปลงหนาตาง WinType4 ทั้งหมดได โดยเพียงเปดไฟล WinType4.dwg ออกมา แลวหมุน (Rotate)บานหนาตางและกระจก 90 องศา แลวจึงบันทึก(Save)การเปลีย่ นแปลงลงในไฟล แลวใชคําสัง่ Insert4Block คลิกบนปุม Browse เพื่อคนหาไฟล WinType4.dwg เมื่อปรากฏไดอะล็อคแสดง ขอความ WinType4 is already defined. ใหคลิกบนปุม Yes แลวสอดแทรกหนาตางบนพื้นทีว่ าดภาพ ณ จุดใดๆ แลวจึงลบหนาตาง WinType4 ทีถ่ ูกสอดแทรกบนพื้นที่วาดภาพ บล็อคหนาตาง WinType4 ทั้งหมดจะแสดงภาพเปดหนาตางตามไปดวยโดยอัตโนมัติ

366. แชแข็ง(Freeze)เลเยอร “Solid” เพือ่ ซอนโซลิดทีใ่ ชสําหรับเจาะชองประตูหนาตาง ทัง้ หมด แลวกําหนดใหเลเยอร 0 (ศูนย) เปนเลเยอรใชงาน 367. เปลี่ยนมุมมอง โดยใชคําสั่ง View43D Views4SE Isometric แลวใชคําสั่ง View4Orbit4Contrained Orbit ใหปรากฏดังรูปที่ 12.127 (ซาย) chap-12-3.PMD

338

12/10/2549, 21:53

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

339

รูปที่ 12.127

368. จากรูปที่ 12.127 (ซาย) ขยายภาพ โดยใชคําสัง่ View4Zoom4Window จุดที่ 1 และ 2 จะปรากฏดังรูปที่ 12.127 (ขวา)

คลิก

เปนเลเยอรใชงาน 369. จากรูปที่ 12.127 (ขวา) เปลีย่ นเลเยอร เขียนขอบระเบียง โดยใชคําสัง่ Draw4Modeling4Polysolid พิมพตวั เลือก H แลวกําหนดความสูง 0.2 พิมพตวั เลือก W แลวกําหนดความกวาง 0.2 พิมพตัวเลือก J แลวเลือกตัวเลือก L เพือ่ กําหนดใหจดั ชิดซาย แลวคลิกจุดที่ 3, 4, 5, 6 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.128 (ซาย)

รูปที่ 12.128

370. จากรูปที่ 12.128 (ซาย) รวมโซลิดใหกลายเปนชิ้นเดียวกันกับพื้นชั้นบน โดยใช คําสั่ง Modify4Solid Editing4Union เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects คลิก จุดที่ 7 และ 8 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.128 (ขวา) 371. ตอไปเราจะเริม่ เขียนขอบปูนปน ตกแตงบริเวณตางๆ รอบตัวบาน โดยกอนอืน่ ใช คําสั่ง Format4Layer สรางเลเยอรใหมชอื่ “ปูนปน ” แลวกําหนดสีแดง รหัสสี Red แลวกําหนดใหเปนเลเยอรใชงาน Note

chap-12-3.PMD

ในการเขียนขอบปูนปน เราจะใชคําสัง่ อยู 3 คําสัง่ คือ Draw4Polyline , คําสัง่ Draw43D Polyline และคําสั่ง Draw4Modeling 4Sweep เราใชคําสั่ง Draw4Polyline ในการเขียน หนาตัด(Profile) 2 มิติ แลวใชคําสั่ง Draw4Polyline หรือคําสั่ง Draw43D Polyline สําหรับเขียนทางเดิน(Path)ของปูนปน แลวจึงใชคําสัง่ Draw4Modeling4Sweep ในการแปลง หนาตัดใหวิ่งไปตามทางเดิน(Path)ใหเปน 3 มิติ

339

12/10/2549, 21:53

340

Note

ในการเขียนหนาตัด(Profile) เพื่อใชกับคําสั่ง Sweep เราไมจําเปนตองวางหนาตัดไวบน Path ใน ตําแหนงจริงก็ได เราสามารถทีจ่ ะวางหนาตัดในตําแหนงและหันเหไปในทิศทางใดก็ได อยางไรก็ตาม หากเราวางตําแหนงหนาตัด(Profile)บน Path เราจะสามารถมองวัตถุอยางเขาใจไดงายมากขึ้น

2D Drafting

372. จากรูปที่ 12.128 (ขวา) เริ่มเขียนเสน Path แบบ 2 มิตอิ ยางตอเนื่อง โดยใชคําสัง่ Draw4Polyline เปด ) เปด # แลวคลิกจุดที่ 9, 10, 11 แลว ขยายภาพ โดยใช คําสั่ ง View 4 Zoom4 Window คลิ กจุ ดที่ 12 และ 13 โปรแกรมจะนําเรากลับสูคําสัง่ เขียนเสนโพลีไลนตอ ไป จะปรากฏดังรูปที่ 12.129 (ซาย) เปด _ เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 1 เมื่อปรากฏมารคเกอร ให รูปที่ 12.129

เลือ่ นเคอรเซอรกลับไปตัดกันตรงจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏ ใหคลิกซาย แลวเลือ่ นเคอรเซอรกลับไปยังจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร ใหคลิก ซาย แลวกลับไปยังจอภาพเดิม โดยใชคําสั่ง View4Zoom4Previous แลว ใชคําสั่ง View4Pan4Real Time ใหปรากฏดังรูปที่ 12.129 (ขวา) โปรแกรมจะ นําเรากลับสูคําสัง่ เขียนเสนโพลีไลนตอไป เลือ่ นเคอรเซอรกลับไปยังจุดที่ 3 เมื่อ ปรากฏมารคเกอร ใหคลิกซาย แลวใชคําสั่ง View4Orbit4Contrained Orbit หมุนมุมมองใหมองเห็นอีกดานของตัวบานดังรูปที่ 12.130 (ซาย) แลวคลิกขวา และเลือกคําสัง่ Exit โปรแกรมจะนําเรากลับสูคําสั่งเขียนเสนโพลีไลนตอไป ให คลิกจุดที่ 4 แลวคลิกขวาเพือ่ ออกจากคําสัง่ Polyline รูปที่ 12.130

373. ใชคําสั่ง View4Zoom4Previous จนกระทั่งมุมมองกลับไปปรากฏดังรูปที่ 12.128 (ขวา) แลวใชคําสั่ง View4Zoom4Realtime และ View4Pan4Real Time ใหปรากฏมุมระเบียงดังรูปที่ 12.130 (ขวา)

chap-12-3.PMD

340

12/10/2549, 21:53

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

341

374. จากรูปที่ 12.130 (ขวา) เขียนหนาตัด(Profile) โดยใชคําสัง่ Draw4Polyline เปด ) เปด # เปด ^ เปด _ เลือ่ นเคอรเซอรไปยัง จุดที่ 5 จนกระทัง่ ผิวหนาจุดที่ 5 ปรากฏเปนเสนประ แลวเลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 6 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร ใหคลิกซาย (กอนคลิกซาย ตองแนใจวาผิวหนาจุดที่ 5 เปนเสนประ) เพื่อกําหนดจุดเริ่มตนของเสนโพลีไลนใหขนานกับผิวหนาจุดที่ 5 เลื่อนเคอรเซอรไปตรงจุดที่ 7 เมื่อปรากฏเวคเตอร ใหพมิ พ 0.1 แลวกดปุม Q เลือ่ นเคอรเซอรไปตามทิศทางของจุดที่ 8 เมือ่ ปรากฏเวคเตอร ใหพมิ พ 0.1 แลวกดปุม Q เลือ่ นเคอรเซอรไปตามทิศทาง ของจุดที่ 9 เมือ่ ปรากฏเวคเตอร ใหพมิ พ 0.05 แลวกดปุม Q เลือ่ นเคอรเซอรไปตามทิศทางของจุดที่ 10 เมื่อปรากฏเวคเตอร ใหพิมพ 0.05 แลวกดปุม Q เลือ่ นเคอรเซอรไปตามทิศทางของจุดที่ 11 เมือ่ ปรากฏเวคเตอร ใหพมิ พ 0.05 แลวกดปุม Q แลวพิมพ C แลวกดปุม Q เพือ่ สรางเสนโพลีไลนแบบปด จะปรากฏหนาตัด(Profile)ดังรูปที่ 12.131 (ซาย) รูปที่ 12.131

Note

โดยปกติ เมื่อเราใชคําสั่ง Sweep ทั้งหนาตัด(Profile)และทางเดิน(Path) จะถูกลบทิ้งไปโดยอัตโนมัติ แตเราตองการเก็บหนาตัด(Profile)ไวใชในการสรางขอบปูนปนในตําแหนงอื่นๆ ตอไป เราสามารถ ทําไดดังนี้

375. ใชคําสัง่ Tools4Options คลิกแถบคําสั่ง 3D Modeling แลวเลือกตัวเลือก Retain defining geometry ในแถบรายการ Deletion control while creating 3D objects แลวคลิกบนปุม Apply และ OK Note

การเลือกตัวเลือก Retain defining geometry นี้จะมีผลในคําสั่งตางๆ ที่ใชวัตถุ 2 มิตใิ นการสรางวัตถุ 3 มิติ อาทิ เชนคําสั่ง Extrude, Revolve, Loft, Sweep

376. จากรูปที่ 12.131 (ซาย) แปลง Profile และ Path ใหเปน 3 มิติ โดยใชคําสัง่ Draw4 Modeling4Sweep เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects to sweep: คลิกหนาตัด จุดที่ 12 เมือ่ ปรากฏ Select sweep path or ... คลิกทางเดินจุดที่ 13 จะปรากฏดังรูปที่ 12.131 (ขวา)

chap-12-3.PMD

341

12/10/2549, 21:53

342

รูปที่ 12.132

Note

377. เคลือ่ นยายหนาตัด Profile ทีส่ รางในขอ 374 ไปวางไวในตําแหนงใดๆ ใหใกลกบั เสาตนทีอ่ ยูด า นหนา โดยใชคําสัง่ Modify4Move

2D Drafting

ตอไปนีผ้ เู ขียนจะไมแสดงรายละเอียดของคําสัง่ พืน้ ฐานตางๆ เพือ่ ประหยัดหนากระดาษ หากผูอ า นตอง การศึกษารายละเอียด ใหเปดแผน DVD-ROM ออกมาดูวิธีการใชงาน ซึ่งจะแสดงใหเห็นวิธีใชคําสั่ง ทุกคําสั่งอยางละเอียดทุกขัน้ ตอน

378. จากรูปที่ 12.132 (ซาย) เขียนทางเดิน(Path) โดยใชคําสัง่ Draw4Polyline เปด ) เปด # ปด ^ ปด _ เลือ่ นเคอรเซอรไป ยังจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร ใหเลือ่ นเคอรเซอรขนึ้ ในแนวดิง่ ไปตามทิศทาง ของจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏเวคเตอร ใหพมิ พ 1 แลวกดปุม Q เลือ่ น เคอรเซอรไปตามทิศทางของจุดที่ 3 เมื่อปรากฏเวคเตอร ให พิมพ 0.68 แลวกดปุม Q เลือ่ นเคอรเซอรไปตามทิศทางของจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏ เวคเตอร ใหพมิ พ 0.68 แลวกดปุม Q แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 12.132 (กลาง) 379. จากรูปที่ 12.132 (กลาง) หมุนหนาตัด(Profile) 90 องศา โดยใชคําสั่ง Modify4 Rotate เมื่อปรากฏ Select objects: คลิกเสนจุดที่ 5 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify base point: เปด # คลิกจุดที่ 6 เมือ่ ปรากฏ Specify rotation angle... พิมพคามุม 180 องศา กดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.132 (ขวา) 380. จากรูปที่ 12.132 (ขวา) แปลง Profile และ Path ใหเปน 3 มิติ โดยใชคําสัง่ Draw4 Modeling4Sweep เปด # เมื่อปรากฏขอความ Select objects to sweep: คลิกหนาตัดจุดที่ 7 เมือ่ ปรากฏ Select sweep path or ... พิมพตวั เลือก B เพือ่ กําหนดจุดสอดแทรก แลวคลิกจุดที่ 8 เมือ่ ปรากฏ Select sweep path or ... คลิกทาง เดินจุดที่ 9 จะปรากฏดังรูปที่ 12.133 (ซาย) 381. ใชคําสั่ง View4Zoom4Realtime ดังรูปที่ 12.133 (ขวา)

chap-12-3.PMD

342

และ View4Pan4Real Time

12/10/2549, 21:53

ใหปรากฏ

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

343

รูปที่ 12.133

Note

หากปูนปน มีหนาตัดเปนสีเ่ หลีย่ มผืนผา และอยูบ นระนาบ 2 มิติ เราสามารถใชคําสัง่ Draw4Modeling แทนคําสั่ง Draw4Modeling4Sweep ได เพราะเราไมตองเสียเวลาเขียน หนาตัดรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผาดังนี้

4Polysolid

382. จากรูปที่ 12.133 (ขวา) เขียนปูนปน ตอไป โดยใชคาํ สัง่ Draw4Modeling4Polysolid Specify start point... พิมพตวั เลือก H แลวกําหนดความสูง 0.05 พิมพตวั เลือก W แลว กําหนดความกวาง 0.1 พิมพตวั เลือก J แลวเลือกตัวเลือก L เพือ่ กําหนดใหจดั ชิดซาย เมือ่ ปรากฏขอความ Specify start point... ปด # เปด ^ เลือ่ นเคอรเซอรไป บนผิวผนาตรงจุดที่ 10 เมือ่ ผิวหนาดังกลาวปรากฏเปนเสนประ ใหเปด # แลว เลือ่ นเคอรเซอรไปตรงจุดที่ 11 แลวคลิกซาย (กอนคลิกซาย ตองแนใจวาผิวหนาจุดที่ 10 เปนเสนประ) คลิกจุดที่ 12 และ 13 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.134 (ซาย) รูปที่ 12.134

383. จากรูปที่ 12.134 (ซาย) รวมโซลิดปูนปนใหกลายเปนชิ้นเดียวกัน โดยใชคําสั่ง Modify4Solid Editing4Union เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects คลิกจุดที่ 14 และ 15 แลวคลิกขวา แลวใชคําสัง่ View4Pan4Real Time ใหปรากฏดังรูป ที่ 12.134 (ขวา) 384. จากรูปที่ 12.134 (ขวา) คัดลอกปูนปนแบบพลิกกลับ โดยใชคําสั่ง Modify43D Operations43D Mirror เปด # เมือ่ ปรากฏ Select objects: คลิกบนโซลิด จุดที่ 16 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify first point of mirror plane (3 points) or [Object/Last/Zaxis/View/XY/YZ/ZX/3points] <3points>: พิมพ ตัวเลื อก ZX

chap-12-3.PMD

343

12/10/2549, 21:53

344

เพือ่ ใชระนาบ ZX เปนระนาบในการพลิกกลับ เมือ่ ปรากฏ Specify point on ZX plane<0,0,0>: ¡ ´ »Ø Á S คางไว แลวคลิกขวา แลวเลือกคําสัง่ Mid Between 2 è Points เลื่ อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 17 เมื่อปรากฏมารคเกอร คลิกซาย เลื่อน เคอรเซอรไปยังจุดที่ 18 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย เมือ่ ปรากฏ Delete source objects? [Yes/No] : ใหคลิกขวาหรือกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.135 (ซาย)

2D Drafting

รูปที่ 12.135

385. ใชคําสั่ง View4Orbit4Contrained Orbit

ใหปรากฏดังรูปที่ 12.135 (ขวา)

386. จากรูปที่ 12.135 (ขวา) ตัดเฉือนปูนปน สวนทีย่ นื่ เขาไปในครัว โดยใชคําสัง่ Modify 43D Operations4Slice เมือ่ ปรากฏ Select objects to slice: คลิกบนปูนปน ตรง จุดที่ 1 แลวคลิกขวา เมื่อปรากฏ Specify start point of slicing plane or [planar Object/Surface/Zaxis/View/XY/YZ/ZX/3points] <3points>: ใหมองที่ ยูซีเอส ไอคอน เราจะสังเกตุวาระนาบ YZ ของยูซเี อสไอคอนขนานกับระนาบทีเ่ ราจะตัด ปูนปน ดังนั้น ใหพมิ พตัวเลือก YZ แลวกดปุม Q เมือ่ ปรากฏ Specify a point on the YZ-plane <0,0,0>: เลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย เมือ่ ปรากฏ Specify a point on desired side or [keep Both sides] : เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 3 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย ปูนปน สวนทีย่ นื่ เขา ไปในครัวจะถูกตัดทิง้ ไป รูปที่ 12.136

chap-12-3.PMD

387. ใชคําสั่ง View4Orbit4Contrained Orbit

344

ใหปรากฏดังรูปที่ 12.136

12/10/2549, 21:53

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

345

388. จากรูปที่ 12.136 เขียนทางเดิน(Path)ของปูนปน โดยใชคําสัง่ Draw43D Polyline เมือ่ ปรากฏขอความ Specify start point of polyline: เปด ) เปด # ปด ^ เปด _ เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏ มารคเกอร ใหเลือ่ นเคอรเซอรขนึ้ ในแนวดิง่ ไปตามทิศทางของจุดที่ 5 เมือ่ ปรากฏ เวคเตอร ใหพมิ พ 0.65 แลวกดปุม Q จะปรากฏจุดเริม่ ตนของ ปูนปน ตรงจุดที่ 6 เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 7 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร ใหเลือ่ น เคอรเซอรขนึ้ ในแนวดิ่งไปตัดกันตรงจุดที่ 8 เมื่อปรากฏ ให คลิกซาย คลิกจุดที่ 9 คลิกจุดที่ 10 เลือ่ นเคอรเซอรกลับไปยังจุดที่ 8 เมือ่ ปรากฏ ใหเลือ่ นเคอรเซอรไปตัดกันตรงจุดที่ 11 เมือ่ ปรากฏ ใหคลิก ซาย เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 12 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร ใหเลือ่ นเคอรเซอรขนึ้ ในแนวดิง่ เมือ่ ปรากฏ ใหพิมพ 0.85 แลวกดปุม Q จะปรากฏ เสนตรงจุดที่ 13 เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 14 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร ใหเลือ่ น ใหพิมพ 0.85 แลวกดปุม เคอรเซอรขึ้นในแนวดิ่ง เมื่อปรากฏ Q จะปรากฏเสนตรงจุดที่ 15 คลิกจุดที่ 16, 17, 18, 19 เลือ่ นเคอรเซอรไปยัง จุดที่ 20 เมื่อปรากฏมารคเกอร ใหเลื่อนเคอรเซอรขนึ้ ในแนวดิ่ง เมื่อปรากฏ ใหพมิ พ 0.85 แลวกดปุม Q จะปรากฏเสนตรงจุดที่ 21 คลิกจุด ที่ 22, 23, 24, 25, 26, 27, 28, 29 เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 30 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร ใหเลื่อนเคอรเซอรขนึ้ ในแนวดิง่ เมือ่ ปรากฏ ใหพมิ พ 0.85 แลว กดปุม Q จะปรากฏเสนตรงจุดที่ 31 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่

รูปที่ 12.137

chap-12-3.PMD

389. จากรู ปที่ 12.136 เขี ยนหน าตั ด(Profile)สี่ เหลี่ ยมผื นผ า โดยใช คําสั่ ง Draw4 Rectangle เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first corner point or ... เปด ^ เลือ่ นเคอรเซอรไปบนผิวหนาตรงจุดที่ 32 เมื่อผิวหนาปรากฏเปนเสนประ ใหคลิก ซายตรงจุดที่ 32 เมื่อปรากฏขอความ Specify other corner point or... ใหพิมพ @0.05,0.1 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.137

345

12/10/2549, 21:53

346

390. จากรูปที่ 12.137 แปลง Profile และ Path ใหเปน 3 มิติ โดยใชคําสั่ง Draw4 Modeling4Sweep เปด # เมื่อปรากฏขอความ Select objects to sweep: คลิกหนาตัดจุดที่ 33 เมือ่ ปรากฏ Select sweep path or ... พิมพตวั เลือก B เพื่อกําหนดจุดสอดแทรก แลวคลิกจุดที่ 34 เมื่อปรากฏ Select sweep path or ... คลิกทางเดินจุดที่ 35 จะปรากฏดังรูปที่ 12.138

2D Drafting

รูปที่ 12.138

Note

ในการใชคําสัง่ Sweep หากใชคําสั่งแลวไมปรากฏผลตามทีต่ อ งการใหเปลีย่ นจุด Base point หรือหมุน หนาตัด เราจึงจะสามารถควบคุมทิศทางการหันเหของหนาตัดได

Note

เนือ่ งจากการเขียนปูนปน สวนทีเ่ หลือทัง้ สวนทีอ่ ยูข า งบานและหลังบานมีขนั้ ตอนเหมือนกับการเขียนขอบปูน ปน ทีอ่ ยูห นาบาน ดังนัน้ เพือ่ ประหยัดหนากระดาษ ผูอ า นสามารถศึกษาวิธีการเขียนปูนปน สวนทีเ่ หลือ ทั้งสวนที่อยูขางบานและหลังบานอยางละเอียดไดจากแผน DVD-ROM มัลติมีเดียชวยสอนที่แนบ หนังสือคูมือเลม AutoCAD เลมนี้ อยางไรก็ตาม ผูเขียนจะอธิบายการเขียนปูนปนขอบเสาหนาบาน ตอไปอีกเล็กนอย แตกอ นอืน่ เขียนโคงเชือ่ มตอเสาหนาบาน โดยมีขนั้ ตอนดังนี้

รูปที่ 12.139

391. ใชคําสั่ง View43D Views4SE Isometric

จะปรากฏดังรูปที่ 12.140 (ซาย)

392. จากรูปที่ 12.140 (ซาย) ลบระนาบตัด(Section Plane) ที่เราไดสรางไวในขอ 235 โดยในขณะทีบ่ รรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ คลิกบนเสนขอบของระนาบ ตัดตรงจุดที่ 1 แลว กดปุม = บนคียบ อรด แลวใชคาํ สัง่ View4Orbit4Contrained

chap-12-3.PMD

346

12/10/2549, 21:53

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

347

Orbit หมุนมุมมองและใชคําสั่ง View4Zoom4Realtime Pan4Real Time ใหปรากฏดังรูปที่ 12.140 (ขวา)

และ View4

รูปที่ 12.140

393. จากรูปที่ 12.140 (ขวา) เขียนกลองสีเ่ หลีย่ มผืนผา โดยใชคําสัง่ Draw4Modeling4 ^ เปด Box เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first corner or [Center]: เปด # เลื่ อนเคอร เซอรไปบนผิ วหน าตรงจุดที่ 2 เมื่ อผิวหนาปรากฏเปน เสนประ ใหเลือ่ นเคอรเซอรไปตรงจุดที่ 3 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร ใหคลิกซาย (หากผิวหนาจุดที่ 2 ไมปรากฏเปนเสนประ ใหปด # ชัว่ คราว เมือ่ ผิวหนา ปรากฏเปนเสนประแลวจึงเปด #) เมื่อปรากฏขอความ Specify other corner or ... ใหพมิ พ @-1.7,-0.2 แลวกดปุม Q จะปรากฏขอความ Specify height or... ใหคลิกตรงจุดที่ 4 จะปรากฏดังรูปที่ 12.141 (ซาย) รูปที่ 12.141

394. จากรูปที่ 12.141 (ซาย) เขียนรูปทรงกระบอก โดยใชคําสั่ง Draw4Modeling4 Cylinder เมือ่ ปรากฏขอความ Specify center point of base or... เปด ^ เปด # เลือ่ นเคอรเซอรไปบนผิวหนาตรงจุดที่ 5 เมือ่ ผิวหนาปรากฏเปน เสนประ ใหเลือ่ นเคอรเซอรไปตรงจุดที่ 6 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร ใหคลิกซาย เมือ่ ปรากฏขอความ Specify base radius or ... คลิกจุดที่ 7 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify height or ... ใหพมิ พ -0.2 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.141 (ขวา)

chap-12-3.PMD

347

12/10/2549, 21:53

348

395. จากรูปที่ 12.141 (ขวา) หักลบโซลิด โดยใชคาํ สัง่ Modify4Solid Editing4Subtract เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract from .. Select objects: คลิก บนโซลิดจุดที่ 8 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกบนโซลิดจุดที่ 9 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.142 (ซาย)

2D Drafting

รูปที่ 12.142

396. จากรูปที่ 12.142 (ซาย) เปลีย่ นเลเยอรใหกบั โซลิดโคง โดยในขณะทีบ่ รรทัด Command: ไมปรากฏคําสั่งใดๆ คลิกบนโซลิดจุดที่ 1 แลวเลือกเลเยอร “เสาชั้นลางชั้นบน” จากแถบรายการควบคุมเลเยอร แลวกดปุม D เพือ่ ยกเลิกการเลือก 397. จากรูปที่ 12.142 (ซาย) รวมโซลิดใหกลายเปนชิน้ เดียวกัน โดยใชคาํ สัง่ Modify4Solid Editing4Union เมือ่ ปรากฏ Select objects คลิกจุดที่ 1, 2 และ 3 แลวคลิกขวา แลว ใชคาํ สัง่ View4Orbit4Contrained Orbit หมุนมุมมอง แลวใชคาํ สัง่ View4Zoom 4Realtime และ View4Pan4Real Time ใหปรากฏดังรูปที่ 12.142 (ขวา) 398. จากรูปที่ 12.142 (ขวา) คัดลอกขอบปูนปน โดยใชคาํ สัง่ Modify4Copy เมือ่ ปรากฏ ขอความ Select objects คลิกโซลิดจุดที่ 4 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify base point... เปด # คลิกตรงจุดฐานของเสาตรงจุดที่ 5 เมือ่ ปรากฏ Specify second point or... คลิกตรงจุดฐานของเสาตรงจุดที่ 6 แลวคลิกขวา แลวใชคําสัง่ View4Orbit4 Contrained Orbit หมุนมุมมอง ใหปรากฏดังรูปที่ 12.143 (ซาย) รูปที่ 12.143

chap-12-3.PMD

348

12/10/2549, 21:53

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

349

399. จากรู ปที่ 12.143 (ซ าย) ตั ดเฉื อนปูนป นส วนเกิ น โดยใชคําสั่ ง Modify 4 3D Operations4Slice เมือ่ ปรากฏ Select objects to slice: คลิกปูนปน จุดที่ 7 แลว คลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify start point of slicing plane or... ใหพมิ พตวั เลือก YZ แลวกดปุม Q เมือ่ ปรากฏ Specify a point on... คลิกจุดที่ 8 เมือ่ ปรากฏ Specify a point on desired side or... เลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 7 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย ปูนปน สวนทีย่ นื่ จะถูกตัดทิ้งไป 400. จากรูปที่ 12.143 (ซาย) ตัดเฉือนเพื่อแบงปูนป นออกเปน 2 สวน โดยคลิกขวา เพือ่ ทําซ้ําคําสั่ง Modify43D Operations4Slice เมือ่ ปรากฏ Select objects to slice: คลิกปูนปน จุดที่ 7 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify start point of slicing plane or... ใหพิมพตวั เลือก YZ แลวกดปุม Q เมือ่ ปรากฏ Specify a point on... คลิกจุดที่ 7 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify a point on desired side or... ใหกดปุม Q ปูนปน จะถูกแบงออกเปน 2 สวนดังรูปที่ 12.143 (ขวา) 401. จากรูปที่ 12.143 (ขวา) เคลือ่ นยายปูนปน ใหตรงแนวเสา โดยใชคาํ สัง่ Modify4Move เมือ่ ปรากฏ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 9 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify base point ... ปด _ ปด # คลิกจุดที่10 เมือ่ ปรากฏ Specify second point... เปด ) เลือ่ นเคอรเซอรไปทางขวาตามทิศทางของจุดที่ 11 เมือ่ ปรากฏเวคเตอร ใหพมิ พ 0.08 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.144 (ซาย) รูปที่ 12.144

402. จากรูปที่ 12.144 (ซาย) รวมโซลิดใหกลายเปนชิน้ เดียวกัน โดยใชคาํ สัง่ Modify4Solid Editing4Union เมือ่ ปรากฏ Select objects คลิกจุดที่ 12 และ 13 แลวคลิกขวา 403. จากรูปที่ 12.144 (ซาย) คัดลอกปูนปนแบบพลิกกลับ โดยใชคําสัง่ Modify4 3D Operations43D Mirror เปด # เมือ่ ปรากฏ Select objects: คลิกโซลิดจุดที่ 13 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify first point of mirror plane ... พิมพตวั เลือก YZ เมือ่ ปรากฏ Specify point on ... กดปุม S คางไว แลวคลิกขวา เลือกคําสัง่ Mid Between 2 Points เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 14 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 15 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย เมือ่ ปรากฏ Delete source objects? ... ใหคลิกขวา หรือกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.144 (ขวา)

chap-12-3.PMD

349

12/10/2549, 21:53

350

404. ใชคําสั่ง View4Zoom 4Realtime ดังรูปที่ 12.145 (ซาย) รูปที่ 12.145

และ View4Pan4Real Time

ใหปรากฏ

2D Drafting

405. จากรูปที่ 12.145 (ซาย) เขียนปูนปน โดยใชคาํ สัง่ Draw4Modeling4Polysolid Specify start point... พิมพตวั เลือก H แลวกําหนดความสูง 0.05 พิมพตวั เลือก W แลว กําหนดความกวาง 0.1 พิมพตวั เลือก J แลวเลือกตัวเลือก L เพือ่ กําหนดใหจดั ชิดซาย เมือ่ ปรากฏขอความ Specify start point... ปด # เปด ^ เลือ่ นเคอรเซอรไป บนผิวหนาตรงจุดที่ 1 เมือ่ ผิวหนาดังกลาวปรากฏเปนเสนประ ใหเปด # แลว เลือ่ นเคอรเซอรไปตรงจุดที่ 2 แลวคลิกซาย (กอนคลิกซาย ตองแนใจวาผิวหนาจุดที่ 10 เปนเสนประ) คลิกจุดที่ 3 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify next point or [Arc/Undo]: พิมพตวั เลือก A แลวกดปุม Q แลวคลิกจุดที่ 4 พิมพตวั เลือก L แลวกดปุม Q แลวคลิกจุดที่ 5 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.145 (ขวา) Note

ในระหวางใชคําสัง่ นี้ เราจะตองใชคําสัง่ View4Zoom4Window ควบคูก บั คําสัง่ View4Zoom4 Previous เพือ่ ขยายจุดที่ตอ งการกําหนดใหมขี นาดใหญเพียงพอ เพือ่ ปองกันการคลิกผิดพลาด

406. จากรูปที่ 12.145 (ขวา) รวมปูนปน ใหกลายเปนชิน้ เดียวกัน โดยใชคาํ สัง่ Modify4Solid Editing4Union เมือ่ ปรากฏ Select objects คลิกจุดที่ 6, 7 และ 8 แลวคลิกขวา 407. ใชคาํ สัง่ View4Orbit4Contrained Orbit หมุนมุมมอง แลวใชคาํ สัง่ View4Zoom 4Realtime และ View4Pan4Real Time ใหปรากฏดังรูปที่ 12.146 (ซาย) รูปที่ 12.146

chap-12-3.PMD

350

12/10/2549, 21:53

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

351

408. จากรูปที่ 12.146 (ซาย) ตัดเฉือนขอบปูนปนสวนเกิน โดยใชคําสั่ง Modify43D Operations4Slice เมือ่ ปรากฏ Select objects to slice: คลิกปูนปน จุดที่ 9 แลว คลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify start point of slicing plane or... ใหพมิ พตวั เลือก ZX แลวกดปุม Q เมือ่ ปรากฏ Specify a point on... คลิกจุดที่ 10 เมือ่ ปรากฏ Specify a point on desired side or... เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 11 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย ปูนปน สวนทีย่ นื่ จะถูกตัดทิง้ ไป จะปรากฏดังรูปที่ 12.146 (ขวา) 409. จากรูปที่ 12.146 (ขวา) ตัดเฉือนเพื่อแบงปูนปนออกเปน 2 สวน โดยคลิกขวา เพือ่ ทําซ้ําคําสั่ง Modify43D Operations4Slice เมือ่ ปรากฏ Select objects to slice: คลิกปูนปน จุดที่ 12 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify start point of slicing plane or... ใหพิมพตวั เลือก XY แลวกดปุม Q เมือ่ ปรากฏ Specify a point on... คลิกจุดที่ 13 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify a point on desired side or... ใหกดปุม Q ปูนปน จะถูกแบงออกเปน 2 สวน 410. ใชคาํ สัง่ View4Orbit4Contrained Orbit หมุนมุมมอง แลวใชคาํ สัง่ View4Zoom 4Realtime และ View4Pan4Real Time ใหปรากฏดังรูปที่ 12.147 (ซาย) รูปที่ 12.147

411. จากรูปที่ 12.147 (ซาย) คัดลอกขอบปูนปน โดยใชคาํ สัง่ Modify4Copy เมือ่ ปรากฏ ขอความ Select objects คลิกโซลิดจุดที่ 14 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify base point... ปด # คลิกจุดที่ 15 เมือ่ ปรากฏ Specify second point or... เปด ) เลือ่ นเคอรเซอรขนึ้ ในแนวดิง่ ตามทิศทางจุดที่ 16 เมือ่ ปรากฏเวคเตอร ใหพมิ พ 3.4 แลวกดปุม Q แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 12.147 (ขวา) 412. จากรูปที่ 12.147 (ขวา) รวมปูนปน ใหกลายเปนชิน้ เดียวกัน โดยใชคาํ สัง่ Modify4Solid Editing4Union เมือ่ ปรากฏ Select objects คลิกจุดที่ 17, 18 และ 19 แลวคลิกขวา Note

chap-12-3.PMD

เมือ่ เราเขียนปูนปน เสร็จทัง้ หมดแลว ตอไปเราจะยอนกลับไปเขียนสันครอบขอบหลังคาดังนี้

351

12/10/2549, 21:53

352

413. เปลี่ยนเลเยอร “หลังคา” เปนเลเยอรใชงาน แลวแชแข็งเลเยอรทั้งหมด รวมทั้ง เลเยอร 0 (ศูนย) แลวหมุนมุมมองใหปรากฏดังรูปที่ 12.148

2D Drafting

รูปที่ 12.148

414. จากรูปที่ 12.148 เขียนรูปทรงกระบอก โดยใชคาํ สัง่ Draw4Modeling4Cylinder # } {คลิกเมือ่ ปรากฏ ตรงจุดที่ 1} Specify base radius or [Diameter] <0.0000>: 0.075 {พิมพรศ ั มี 0.075 แลวกดปุม Q} Specify height or [2Point/Axis endpoint] <6.9080>: A {พิมพตวั เลือก A แลวกดปุม  Q} Specify axis endpoint: {คลิกเมือ ่ ปรากฏ ตรงจุดที่ 2} Command: _cylinder

{จากรูปที่ 12.148 เปด

Specify center point of base or [3P/2P/Ttr/Elliptical]:

415. จากรูปที่ 12.148 เขียนรูปทรงกระบอกตอไป โดยคลิกขวา เพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ Draw4 Modeling4Cylinder ตามวิธีในขอ 414 โดยใชจดุ ที่ 2-3, 2-4, 4-5, 5-6, 4-7, 6-8, 6-9, 10-11, 11-12, 11-13 จะปรากฏดังรูปที่ 12.149 รูปที่ 12.149

416. จากรูปที่ 12.149 เขียนรูปทรงกลม โดยใชคําสัง่ Draw4Modeling4Sphere

chap-12-3.PMD

352

12/10/2549, 21:53

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

353

{จากรูปที่ 12.149 เปด # } {คลิกเมือ่ ปรากฏ หรือ ตรงจุดที่ 14} Specify radius or [Diameter] <0.0750>: 0.075 {พิมพรศ ั มี 0.075 แลวกดปุม Q} Command: _sphere

Specify center point or [3P/2P/Ttr]:

417. จากรูปที่12.149 เขียนรูปทรงกลมตอไป โดยคลิกขวา เพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ Draw4Modeling 4Sphere ตามวิธีในขอ 416 โดยใชจดุ ที่ 14, 15, 16, 17, 18, 19, 20, 21, 22, 23, 24 และ 25 418. จากรูปที่ 12.149 รวมเฉพาะรูปทรงกระบอกและรูปทรงกลมเฉพาะทีส่ รางในขอ 414 ถึงขอ 417 ใหกลายเปนชิน้ เดียวกัน (ไมรวมหลังคาและเชิงชาย) โดยใชคาํ สัง่ Modify4 Solid Editing4Union เมือ่ ปรากฏ Select objects คลิกบนรูปทรงกระบอกและรูปทรง กลมทีส่ รางในขอ 414 ถึงขอ 417 ทัง้ หมด แลวคลิกขวา 419. ใชคาํ สัง่ View4Orbit4Contrained Orbit หมุนมุมมอง แลวใชคาํ สัง่ View4Zoom และ View4Pan4Real Time ใหปรากฏดังรูปที่ 12.150 (ซาย) 4Realtime

รูปที่ 12.150

420. จากรูปที่ 12.150 (ซ าย) ตั ดเฉือนสั นครอบหลั งคา โดยใช คําสั่ ง Modify4 3D Operations4Slice เมือ่ ปรากฏ Select objects to slice: คลิกจุดที่ 26 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify start point of slicing plane or... ใหพิมพตวั เลือก XY แลวกดปุม Q เมือ่ ปรากฏ Specify a point on... เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 27 เมื่อปรากฏ มารคเกอร ใหคลิกซาย เมื่อปรากฏ Specify a point on desired side or... ใช ออฟเจกทสแนป (Nearest) แลวคลิกจุดที่ 28 จะปรากฏดังรูปที่ 12.150 (ขวา) 421. จากรูปที่12.150 (ขวา) รวมเฉพาะสันครอบหลังคาและหลังคาเฉพาะสวนบนเขาดวยกัน โดยใชคาํ สัง่ Modify4Solid Editing4Union เมือ่ ปรากฏ Select objects คลิกจุดที่ 29 และ 30 แลวคลิกขวา 422. จากรูปที่ 12.150 (ขวา) สรางสวนโคงฟลเลทระหวางสันครอบของหลังคากับหลังคา โดยใชคาํ สัง่ Modify4Fillet Command: _fillet

{จากรูปที่ 12.150 ใหแนใจวา

Current settings: Mode = TRIM, Radius = 0.0000

chap-12-3.PMD

353

# และ ) อยูใ นสถานะปด} {ใหแนใจวา Mode = Trim}

12/10/2549, 21:53

354

{คลิกเสนขอบจุดที่ 31} 0.04 {พิมพคา รัศมี 0.04 แลวกดปุม Q } Select an edge or [Chain/Radius]: {คลิกบนเสนขอบทีต ่ อ งการสรางสวนโคงฟลเลท ณ ตําแหนงอืน่ ๆ ตอไป แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 12.151} Select first object or [Undo/Polyline/Radius/Trim/Multiple]: Enter fillet radius <0.0000>:

2D Drafting

รูปที่ 12.151

423. ละลาย(Thaw)เลเยอรทั้งหมด ยกเวนเลเยอร “Solid” เพียงเลเยอรเดียว 424. ลบเสนโครงลวด 2 มิตแิ ละ 3 มิติตา งๆ ทัง้ หมดทีม่ ไิ ดใชงานอีกตอไป โดยใชคําสัง่ Tools4Quick Select เมื่อปรากฏไดอะล็อค Quick Select คลิกแถบรายการ Object type แลวเลือก Polyline เลือก Select All ในแถบรากการ Operator แลวคลิก บนปุม OK จะปรากฏจุดกริป๊ สสนี า้ํ เงินบนวัตถุ ใหกดปุม = บนคียบ อรด เพือ่ ลบ วัตถุทงั้ หมด แลวใชคําสัง่ Tools4Quick Select อีกครัง้ เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Quick Select คลิกแถบรายการ Object type แลวเลือก 3D Polyline เลือก Select All ใน แถบรายการ Operator แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏจุดกริ๊ปสสีน้ําเงินบนวัตถุ ใหกดปุม = บนคียบอรด เพือ่ ลบทีถ่ กู เลือกทั้งหมด จะปรากฏดังรูปที่ 12.152 รูปที่ 12.152

chap-12-4.PMD

354

12/10/2549, 21:54

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม Note

355

เมือ่ เราสรางโมเดล 3 มิตขิ องรูปบานเสร็จเรียบรอยแลว ตอไปเราจะเริม่ สรางและกําหนดแมททีเรียลให กับวัตถุ 3 มิตติ า งๆ โดยมีขั้นตอนดังตอไปนี้

425. คลิกบนปุม ไอคอน Materials บนแดชบอรด เพือ่ เรียกหนาตาง Materials จะ ปรากฏดังรูปที่ 12.153 เราจะเห็นแมททีเรียลทีถ่ ูกนําเขามาพรอมๆ กับบล็อคประตู หนาตาง ใหคลิกขวาบนพืน้ ทีว่ างบนชองหนาตาง แสดงตัวอยาง แลวเลือกคําสัง่ Create New Material เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Create New Material ใหตงั้ ชือ่ “Dark Pink” ในอิดิทบอกซ Name แลวคลิกบนปุม OK โปรแกรมจะสร างแมทที เรี ยลใหม โดยใช Realistic เปนเทมเพล็ท แลวคลิกบนตลับสี Diffuse เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Select Color ใหกําหนดคาสี โดยพิมพ 230,205,197 เขาไปในอิดทิ บอกซ Color รูปที่ 12.153 แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏลูกทรงกลมแสดง ตัวอยางของสีที่เราไดกําหนดบนชองหนาตางแสดงตัวอยางแมททีเรียล สวนคา พารามิเตอรอื่นๆ ไมตองเปลี่ยนแปลงแตประการใด 426. ทําซ้ําตามวิธีในขอ 425 สรางแมททีเรียลใหม โดยตั้ งชื่อ “Light Yellow” แลว กําหนดสี Diffuse = 253,250,241 Note

สําหรับตัวบานมีสีที่ตองใชงานอยูทั้งหมด 3 สีคือ “Dark Pink” , “Light Yellow”, “White Color” สี “White Color” เราไมตองสรางใหม เพราะสีนี้มาจากบล็อคประตูหนาตาง เราสามารถนําไปใชเปน สีของปูนปน ไดทนั ที

427. เริม่ กําหนดแมททีเรียลใหกบั โซลิด โดยกอนอืน่ เปลีย่ นโหมดแสดงผล โดยคลิกบน ปุม ไอคอน หรือใชคําสัง่ View4Visual Styles4Realistic เพือ่ เปลีย่ นโหมด แสดงผลในวิวพอรทใหแสดงภาพเหมือนจริง 428. เริม่ กําหนดสี “Dark Pink” ใหกบั วัตถุทงั้ หมดทีอ่ ยูใ นเลเยอร “พืน้ ชัน้ ลาง”, “พืน้ ชัน้ บน”, “ผนังชัน้ ลาง”, “เสาชัน้ ลาง”, “เสาชัน้ ลางชัน้ บน” โดยเลือกวัตถุดวยใชคาํ สัง่ Tools4Quick Select เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Quick Select แลวกําหนด Object type =Multilple, Properties = Layer, Operator = Equals, Value = “พืน้ ชัน้ ลาง”, How to apply = Include in new selection set แลวคลิกบนปุม OK พืน้ ชัน้ ลางจะถูกเลือก 429. คลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสั่ง Tools4Quick Select ใชวธิ ีในขอ 428 เปลีย่ น Value = “พื้นชั้ นบน” คลิกใหปรากฏเครื่ องหมาย บนเช็คบอกซ Append to current selection set เพือ่ เลือกวัตถุใหมเพิ่มเขาไปในกลุมวัตถุที่ถกู เลือกเดิม

chap-12-4.PMD

355

12/10/2549, 21:54

356

430. คลิกขวาเพื่ อทําซ้ําคําสั่ ง Tools4 Quick Select ใช วิธี ในขอ 429 กั บเลเยอร “ผนังชัน้ ลาง”, “เสาชัน้ ลาง”, “เสาชัน้ ลางชัน้ บน” จนกระทั่ งโซลิดที่ อยู ในเลเยอร ดังกลาวถูกเลือกจนปรากฏเปนเสนประทัง้ หมดดังรูปที่ 12.154 (ซาย)

2D Drafting

Note

เราอาจจะใชเลเยอรเขามาควบคุมการปรากฏของโซลิดทีเ่ ราตองการเลือกเพือ่ นําไปกําหนดแมททีเรียล จะคอนขางสะดวกและรวดเร็วกวา ไดเชนเดียวกัน แตการใชคําสั่ง Tools4Quick Select รูปที่ 12.154

431. กําหนดแมททีเรียล “Dark Pink” ใหกบั วัตถุทถี่ กู เลือกทัง้ หมด โดยคลิกขวาบนรูปทรง กลมตัวอยางของแมททีเรียล Dark Pink แลวเลือกคําสัง่ Apply Material to Selection 432. เริม่ เลือกวัตถุตอ ไป โดยใชคําสัง่ Tools4Quick Select เลเยอรเปน Value = “ผนังชัน้ บน”

ใชวธิ ีในขอ 428 เปลีย่ น

433. คลิกขวาเพื่อทําซ้ําคําสั่ง Tools4Quick Select ใชวิธีในขอ 428 เปลี่ยนเลเยอร Value = “เสาชั้นบน” คลิกใหปรากฏเครื่องหมาย บนเช็คบอกซ Append to current selection set เพือ่ เลือกวัตถุใหมเพิม่ เขาไปในกลุม ทีถ่ ูกเลือกเดิมจนกระทัง่ โซลิดที่ อยู ในเลเยอร ดังกล าวถูกเลื อกและปรากฏเป นเส นประทั้ งหมดดั งรูปที่ 12.154 (ขวา) 434. กําหนดแมททีเรียล “Light Yellow” ใหกบั วัตถุทถี่ กู เลือกทัง้ หมด โดยคลิกขวาบนรูปทรง กลมตัวอยางของแมททีเรียล “Light Yellow” แลวเลือกคําสัง่ Apply Material to Selection 435. เริม่ เลือกวัตถุทอี่ ยูใ นเลยอร “ปูนปน ” โดยใชคาํ สัง่ Tools4Quick Select ใชวธิ ใี นขอ 428 เปลีย่ นเลเยอรเปน Value = “ปูนปน ” ปูนปน ทัง้ หมดจะปรากฏเปนเสนประ 436. กําหนดแมททีเรียล “White Color” ใหกบั ขอบปูนปน ทีถ่ กู เลือก โดยคลิกขวาบนรูปทรง กลมตัวอยางแมททีเรียล “White Color” แลวเลือกคําสัง่ Apply Material to Selection 437. เริม่ สรางแมททีเรียลสําหรับหลังคา บนหนาตาง Materials ดังรูปที่ 12.153 ใหคลิกขวา บนรู ปตั ว อย าง แล ว เลื อกคําสั่ ง Create New Material ให ตั้ งชื่ อ “Roof” ใน อิดิทบอกซ Name แลวคลิกบนปุม OK โปรแกรมจะสรางแมททีเรียลใหม โดยใช Realistic เปนเทมเพล็ท ไมตองกําหนดสี Diffuse ในโซน Diffuse map ใหแนใจวา

chap-12-4.PMD

356

12/10/2549, 21:54

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

357

Texture map ปรากฏในแถบรายการ แลวคลิกบนปุม Select Image จะปรากฏ ไดอะล็อคสําหรับเลือกไฟล ใหคนหาโฟลเดอร C:\Documents and Settings\All Users\Application Data\Autodesk\AutoCAD รูปที่ 12.155 2007\R17.0\enu\Textures แล วค นหาไฟล รู ปภาพ อิมเมจ Thermal - Moisture.Roof Tiles.Spanish.Red.jpg ดั ง รู ป ที่ 12.155 คลิ ก ชื่ อไฟล แล ว คลิ กปุ ม Open แลวคลิกบนปุม ไอคอน Adjust scale/tiling, offset, and rotation values of bitmap จะปรากฏไดอะล็อค Adjust Bitmap ใหแนใจวาปุม เรดิโอ Scale ถูกเลือก และปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Tile แลวเลือก Meters จากแถบรายการ Units กําหนดความกวาง Width = 2, ความสูง Height = 1.5 แลวคลิกบนปุม Close เพือ่ ออกจากไดอะล็อค เมือ่ กลับมายังหนาตาง Materials คลิกบนปุม Select Image ซึง่ อยูในโซน Bump map จะปรากฏไดอะล็อคสําหรับเลือกไฟล ใหคนหาไฟลรปู ภาพอิมเมจเดิม Thermal - Moisture.Roof Tiles.Spanish.Red.jpg ดังรูปที่ 12.155 คลิกชือ่ ไฟล แลวคลิกปุม Open แลวคลิกบนปุม ไอคอน Adjust scale/tiling, offset, and rotation values of bitmap จะปรากฏไดอะล็อค Adjust Bitmap ใหแนใจ วาปุม เรดิโอ Scale ถูกเลือก แลวเลือก Meters จากแถบรายการ Units กําหนดความ กวาง Width = 2, ความสูง Height = 1.5 แลวคลิกบนปุม Close เพือ่ ออกจากไดอะล็อค แลวปรับคา Bump map ประมาณ 300 แตไมจาํ เปนทีจ่ ะตองปรับแตงพารามิเตอรอนื่ ๆ 438. เริม่ เลือกวัตถุทอี่ ยูใ นเลยอร “หลังคา” ทัง้ หมด โดยใชคําสัง่ Tools4Quick Select ใชวธิ ีในขอ 428 เปลีย่ นเลเยอรเปน Value = “หลังคา” โซลิดหลังคาทัง้ หมดปรากฏ เปนเสนประ 439. กําหนดแมททีเรียล “Roof” ใหกบั หลังคาทีถ่ กู เลือกทัง้ หมด โดยคลิกขวาบนรูปทรง กลมตัวอยางแมททีเรียล “Roof” แลวเลือกคําสัง่ Apply Material to Selection จะปรากฏ ดังรูปที่ 12.156 440. จากรูปที่ 12.156 ใหเลื่อนเคอรเซอรไป คลิกบนเชิงชายตรงจุดที่ 1 จนกระทั่ง เชิ ง ชายปรากฏเป น เส น ประ แล ว กําหนดแมททีเรียล “White Color” ใหกบั เชิงชายทีถ่ กู เลือก โดยคลิกขวาบนรูปทรง กลมตัวอยางแมททีเรียล “White Color” แลวเลือกคําสัง่ Apply Material to Selection

รูปที่ 12.156

chap-12-4.PMD

357

12/10/2549, 21:54

358

441. จากรูปที่ 12.156 ใหเลือ่ นเคอรเซอรไปคลิกบนเชิงชายตรงจุดที่ 1 จนกระทัง่ เชิงชาย ปรากฏเปนเสนประ แลวเลือกเลเยอร 0 (ศูนย) จากแถบรายการควบคุมเลเยอร เพือ่ ยายเชิงชายไปอยูใ นเลเยอร 0 (ศูนย) แลวกดปุม D เพื่อยกเลิกการเลือก

2D Drafting

442. แลวเริม่ กําหนดแม็ปปง ใหกบั หลังคา โดยกอนอืน่ แชแข็งเลเยอรทงั้ หมด รวมทัง้ เลเยอร 0 (ศูนย) ยกเวนเลเยอร “หลังคา” แลวกําหนดใหเลเยอร “หลังคา” เปนเลเยอรใชงาน แลวใชคาํ สัง่ View4Orbit4Contrained Orbit หมุนมุมมองและใชคาํ สัง่ View4 Zoom4 Realtime และ View4Pan4Real Time ใหปรากฏดังรูปที่ 12.157 รูปที่ 12.157

443. จากรู ปที่ 12.157 กําหนดแม็ ปป งแบบ Planar โดยใช คําสั่ ง View4 Render4 Mapping4Planar Mapping เมือ่ ปรากฏขอความ Select faces or objects: แลวกด ปุม E คางไว เลือ่ นเคอรเซอรไปบนผิวหนาตรงจุดที่ 1 เมือ่ ผิวหนาปรากฏเปน เสนประ ใหคลิกซาย แลวคลิกขวา เมื่อปรากฏขอความ Accept the mapping or [Move/Rotate/reseT/sWitch mapping mode]: ใหพมิ พ T แลวกดปุม Q เพือ่ ปรับขนาดของ Mapping ไอคอนใหมขี นาดตามที่เราไดักําหนดไวในแมททีเรียล “Roof” จะปรากฏ Mapping icon ดังรูปที่ 12.158 (ซาย) เมือ่ ปรากฏขอความ Accept the mapping or... ใหคลิ กบนแกนสี เขี ยวที่ มุมซ ายล างตรงจุดที่ 10 จะปรากฏ เวคเตอรตามทิศทางของแกนสีเขียว ใหเลื่อนเคอรเซอรเพื่อเคลื่อนยาย Mapping icon ไปตามทิ ศทางของเวคเตอร เพื่ อให ขอบกระเบื้ องแผ นล า งสุ ดอยู ในแนว เดียวกันกับขอบหลังคาพอดี แลวคลิกซาย จะปรากฏดังรูปที่ 12.158 (ขวา) แลวกด ปุม Q เพือ่ ออกจากคําสัง่

chap-12-4.PMD

358

12/10/2549, 21:54

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

359

รูปที่ 12.158

444. ทําซ้ําขอ 443 กับจุดที่ 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, และ 9 ดวยวิธีเดียวกัน หากมุมมองไมชดั เจน ใหใชคําสั่ง View4Orbit4Contrained Orbit หมุนมุมมองตามความเหมาะสม จะปรากฏดังรูปที่ 12.159 สังเกตุวา ทิศทางการหันเหของกระเบือ้ งจะถูกปรับทิศทางให ถูกตองโดยอัตโนมัติ รูปที่ 12.159

Note

chap-12-4.PMD

การกําหนดแม็ปปงเพื่อจัดทิศทางการหันเหของรูปบิทแม็ปดวยวิธีนี้จัดวาเปนวิธีที่งายที่สุด แตก็พบ ปญหาบางเนือ่ งจากความไมสมบูรณของโปรแกรม ปญหาที่พบคือเมื่อไดบันทึกไฟลแบบแปลนแลว เปดออกมาใชงานใหม แม็ปปง จะถูก Reset กลับไปใชทศิ ทางการหันเหเดิม หากพบปญหาในลักษณะ ดังกลาว เราสามารถแกไขได 2 วิธีคือวิธีแรกนั้น กอนที่จะกําหนดแม็ปปงใหกับหลังคา เราจะระเบิด โซลิดหลังคาใหกลายเปนรีเจีย้ น(Region)เสียกอน แลวจึงใชวิธเี ดียวกันกับขอ 443 และ 444 แตไมตอ ง กดปุม E เมื่อเลือกรีเจี้ยน สวนอีกวิธีหนึ่ง ไมตองระเบิดโซลิด แตจะตองสรางแมททีเรียล Roof ขึ้นมา 2 เวอรชั่น โดยในเวอรชั่นหนึ่ง กําหนด Rotation = 0 องศา ( Adjust scale/tiling, offset, and rotation values of bitmap) แมททีเรียลอีกเวอรชนั่ หนึง่ กําหนด Rotation 90 องศา แลวนําแมททีเรียล ที่มี Rotaion = 0 องศาไปกําหนดใหกับหลังคาทั้งชิ้น แลวนําแมททีเรียลที่มี Rotation = 90 องศาไป กําหนดใหกับผิวหนาหลังคาเฉพาะดานที่ทํามุมตรงกันขาม ในการสรางแมททีเรียล 2 เวอรชั่น เมือ่ ได สรางแมททีเรียลเวอรชนั่ หนึ่งแลว เราสามารถคลิกขวาบนแมททีเรียล แลวเลือกคําสั่ง Copy แลวคลิก ขวา เลือกคําสั่ง Paste เพื่อสรางแมททีเรียลเวอรชั่นใหม แลวจึงเขาไปแกไข Rotation ไดตามตองการ

359

12/10/2549, 21:54

360

Note

เมือ่ สรางแมททีเรียลหลังคาและกําหนดแม็ปปง เรียบรอยแลว ตอไปเราจะปูพนื้ กระเบือ้ งทัง้ หมด โดยใช รูปบิทแมท floor-map-1.jpg ถึง floor-map-7.jpg และ Grass_1024.jpg ซึ่งอยูในโฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM แนบทายหนังสือคูมือฯ จากรูปที่ 12.160 สังเกตุวารูปบิทแม็ป floor-map-1.jpg ถึง floor-map-4.jpg มีขนาดพอดีกบั พืน้ ทีจ่ ะปูกระเบือ้ ง รูปบิทแม็ป Floor-map-5.jpg, Floor-map-6.jpg, Floor-map-7.jpg และ Grass_1024.jpg นัน้ มีขนาดไมพอดีกบั พืน้ ทีจ่ ะปูกระเบือ้ ง เราจะตองกําหนดสเกล ทีเ่ หมาะสม อนึง่ การสรางรูปบิทแม็ป floor-map-1.jpg ถึง floor-map-4.jpg นัน้ สรางมาจากการใชกลอง ถายรูปกระเบื้องจริงที่นํามาปูพื้น แลวใชโปรแกรม Photoshop ตัดกระเบื้องแตละแผนและสงไป สอดแทรกบนพืน้ ทีว่ าดภาพของ AutoCAD ดวยคําสัง่ Insert4Raster Image แลวจึงปรับกระเบือ้ ง แตละแผนมีขนาดที่ถกู ตองตามสเกลจริงดวยคําสัง่ Modify4Scale โดยเลือกตัวเลือก Reference แลว จึงจัดเรียงกระเบือ้ งแตละแผนลงบนแบบแปลน 2 มิตขิ องบานตามรูปแบบทีต่ อ งการ แลวจึงแปลง ใหเปนรูปบิทแม็ปเพือ่ นํามาใชงานในแบบฝกหัดนี้

2D Drafting

รูปที่ 12.160

Note

ในการสรางแมททีเรียลสําหรับรูปบิทแม็ป floor-map-1.jpg ถึง floor-map-4.jpg เราจะตองเลือกปุม เรดิโอ Fit to object เพือ่ ใหแมททีเรียลฟตพอดีกบั พืน้ 3 มิตทิ เี่ ราไดเตรียมไว สวนในการสรางแมททีเรียล สําหรับรูปบิทแม็ป floor-map-5.jpg และ Glass_1024.jpg นั้นเราจะตองเลือกปุมเรดิโอ Scale แลว กําหนดหนวยวัด Meters และกําหนดขนาดจริงที่ตองการ

445. สรางแมททีเรียลสําหรับพืน้ หนาบาน บนหนาตาง Materials ดังรูปที่ 12.153 ใหคลิก ขวาบนรูปตัวอยาง แลวเลือกคําสัง่ Create New Material ใหตงั้ ชือ่ “Floor-map-1” ในอิดทิ บอกซ Name แลวคลิกบนปุม OK โปรแกรมจะสรางแมททีเรียลใหม โดยใช Realistic เปนเทมเพล็ทในโซน Diffuse map ใหแนใจวา Texture map ปรากฏใน แถบรายการ แลวคลิกบนปุม Select Image จะปรากฏไดอะล็อคสําหรับเลือกไฟล ใหคน หาโฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM แลวคนหาไฟลรูปภาพอิมเมจ Floor-map-1.jpg ดังรูปที่ 12.160 คลิกชือ่ ไฟล แลวคลิกปุม Open แลวคลิกบนปุม ไอคอน Adjust scale/tiling, offset, and rotation values of bitmap จะปรากฏ ไดอะล็อค Adjust Bitmap คลิกปุม เรดิโอ Fit to object ใหแนใจวาปรากฏเครือ่ ง หมาย บนเช็คบอกซ Tile ใหแนใจวา U Tile = 1, V Tile = 1 แลวคลิกปุม Close

chap-12-4.PMD

360

12/10/2549, 21:54

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

361

เพือ่ ออกจากไดอะล็อค เมือ่ กลับมายังหนาตาง Materials คลิกบนปุม Select Image ซึง่ อยูในโซน Bump map จะปรากฏไดอะล็อคสําหรับเลือกไฟล ใหคนหาไฟลรปู ภาพอิมเมจ Floor-map-1-b.jpg คลิกชื่อไฟล แลวคลิกปุม Open แลวคลิกบนปุม ไอคอน Adjust scale/tiling, offset, and rotation values of bitmap จะปรากฏ ไดอะล็อค Adjust Bitmap คลิกปุม เรดิโอ Fit to object ใหแนใจวาปรากฏเครื่อง หมาย บนเช็คบอกซ Tile ใหแนใจวา U Tile = 1, V Tile = 1 แลวคลิกปุม Close เพือ่ ออกจากไดอะล็อค แลวปรับคา Bump map ประมาณ 10 Note

ในการกําหนดคา Bump เราสามารถเลื่อนเคอรเซอรไปบนสไลเดอรของ Bump map เพื่อใหสไลเดอร ถูกไฮไลทเปนสีขาว แลวคลิกซาย แลวใชปุม R หรือปุม T เพื่อปรับคาไดอยางละเอียด

446. ทําซ้าํ ขอ 445 สรางแมททีเรียลชือ่ “Floor-map-2” ใชรปู อิมเมจ Floor-map-2.jpg สําหรับ Diffuse map เลือกปุม เรดิโอ Fit to object และใชรปู อิมเมจ Floor-map-2-b.jpg สําหรับ Bump map เลือกปุม เรดิโอ Fit to object แลวปรับคา Bump map ประมาณ 10 447. ทําซ้าํ ขอ 445 สรางแมททีเรียลชือ่ “Floor-map-3” ใชรปู อิมเมจ Floor-map-3.jpg สําหรับ Diffuse map เลือกปุม เรดิโอ Fit to object และใชรปู อิมเมจ Floor-map-3-b.jpg สําหรับ Bump map เลือกปุม เรดิโอ Fit to object แลวปรับคา Bump map ประมาณ 10 448. ทําซ้าํ ขอ 445 สรางแมททีเรียลชือ่ “Floor-map-4” ใชรปู อิมเมจ Floor-map-4.jpg สําหรับ Diffuse map เลือกปุม เรดิโอ Fit to object และใชรปู อิมเมจ Floor-map-4-b.jpg สําหรับ Bump map เลือกปุม เรดิโอ Fit to object แลวปรับคา Bump map ประมาณ 150 449. ทําซ้าํ ขอ 445 สรางแมททีเรียลชือ่ “Floor-map-5” ใชรปู อิมเมจ Floor-map-5.jpg สําหรับ Diffuse map เลือกปุม เรดิโอ Scale กําหนด Units = Meters, Width = 0.3, Height = 0.3 และใชรปู อิมเมจ Floor-map-5-b.jpg สําหรับ Bump map เลือกปุม เรดิโอ Scale กําหนด Units = Meters, Width = 0.3, Height = 0.3 แลวปรับคา Bump map ประมาณ 240 Note

เนื่องจากเราตองใหกระเบื้องที่ปรากฏในรูปอิมเมจ Floor-map-5.jpg ดังรูปที่12.160 ซึง่ เปนรูปกระเบือ้ ง แผนเดียว โดยเราตองการใหกระเบือ้ งปรากฏมีขนาดเทากับ 0.30x0.30 เมตร เราจึงไมสามารถใช Fit to object ได เนือ่ งจากเราตองการใหรปู บิทแมปมีขนาดทีแ่ นนอน ดังนัน้ จึงตองเปลีย่ นมาเลือก Scale แลวกําหนดหนวย Meters ใหตรงกับหนวยของโมเดล แลวจึงกําหนดขนาดใน Width และ Height ไดตามตองการ

450. ทําซ้าํ ขอ 445 สรางแมททีเรียลชือ่ “Floor-map-6” เปลีย่ นเทมเพล็ทจาก Realistic เปน Advanced ในแถบรายการ Template เราจะใชรปู บิทแม็ปใน Diffuse map เทานัน้ โดย เลือกรูปอิมเมจ Floor-map-5.jpg แลวเลือกปุม เรดิโอ Scale กําหนด Units = Meters, Width = 1, Height = 1 แลวปรับคา Shininess ประมาณ 70 และ Reflection ประมาณ 25 เพือ่ สรางพืน้ ผิวทีแ่ สดงภาพสะทอน แบบกระจกเงา (ไมตอ งใช Bump map)

chap-12-4.PMD

361

12/10/2549, 21:54

362

451. ทําซ้าํ ขอ 445 สรางแมททีเรียลชือ่ “Floor-map-7” ใชรปู อิมเมจ Floor-map-7.jpg สําหรับ Diffuse map เลือกปุม เรดิโอ Scale กําหนด Units = Meters, Width = 0.4, Height = 0.4 และใชรปู อิมเมจ Floor-map-7.jpg สําหรับ Bump map เลือกปุม เรดิโอ Scale กําหนด Units = Meters, Width = 0.4, Height = 0.4 แลวปรับคา Bump map ประมาณ 90

2D Drafting

Note

เนือ่ งจากกระเบือ้ ง Floor-map-7.jpg ดังรูปที่ 12.160 มีจํานวน 2 แผนในแนวนอนและ 2 แผนในแนวตัง้ ซึ่งกระเบื้องจะตองปรากฏมีขนาดจริงเทากับ 0.20x0.20 เมตร ดังนัน้ เราจึงตองกําหนด Width = 0.20x2 = 0.4, Height = 0.20x2 = 0.4 จึงจะไดขนาดจริงซึ่งไดสเกลที่ถูกตอง

452. ทําซ้าํ ขอ 445 สรางแมททีเรียลชือ่ “Grass” ใชรปู อิมเมจ Grass_1024.jpg สําหรับ Diffuse map เลือกปุม เรดิโอ Scale กําหนด Units = Meters, Width = 4, Height = 4 และใชรปู อิมเมจ Grass_1024.jpg สําหรับ Bump map เลือกปุม เรดิโอ Scale กําหนด Units = Meters, Width = 4, Height = 4 แลวปรับคา Bump map ประมาณ 90 หนาตาง Materials จะปรากฏดังรูปที่ 12.161 (ซาย) รูปที่ 12.161

453. แชแข็ง(Freeze)เลเยอรทั้งหมด ยกเวนเลเยอร “พื้นชั้นลาง” และ “พื้นนอกบาน” แลวกําหนดให “พืน้ นอกบาน” เปนเลเยอรใชงาน จะปรากฏดังรูปที่ 12.161 (ขวา) 454. จากรูปที่ 12.161 เริม่ กําหนดแมททีเรียล “Floor-map-1” ใหกบั ผิวหนาตรงจุดที่ 1 โดยดับเบิล้ คลิกบนรูปตัวอยางของแมททีเรียล “Floor-map-1” เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects กดปุม E คางไว แลวเลือ่ นเคอรเซอรไปบนผิวหนาตรงจุดที่ 1 จนกระทั่ งผิวหนาเฉพาะดานบนปรากฏเปนเสนประ แลวคลิกซาย เมื่ อปรากฏ ขอความ Select objects or [Undo]: ใหคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ 455. จากรูปที่ 12.161 ทําตามวิธใี นขอ 453 ใชแมททีเรียล “Floor-map-2” กับผิวหนาจุดที่ 2 456. จากรูปที่ 12.161 ทําตามวิธใี นขอ 453 ใชแมททีเรียล “Floor-map-3” กับผิวหนาจุดที่ 3 457. จากรูปที่ 12.161 ทําตามวิธใี นขอ 453 ใชแมททีเรียล “Floor-map-4” กับผิวหนาจุดที่ 4 458. จากรูปที่ 12.161 ทําตามวิธใี นขอ 453 ใชแมททีเรียล “Floor-map-5” กับผิวหนาจุดที่ 5

chap-12-4.PMD

362

12/10/2549, 21:54

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

363

459. จากรูปที่ 12.161 ทําตามวิธใี นขอ 453 ใชแมททีเรียล “Floor-map-6” กับผิวหนาจุดที่ 6 460. จากรูปที่ 12.161 ทําตามวิธใี นขอ 453 ใชแมททีเรียล “Floor-map-7” กับผิวหนาจุดที่ 7 และ 8 461. จากรูปที่ 12.161 ทําตามวิธใี นขอ 453 ใชแมททีเรียล “Grass” กับผิวหนาจุดที่ 9, 10, 11, 12, 13 และ 14 จะปรากฏดังรูปที่ 12.162 (ซาย) รูปที่ 12.162

Note

เมื่อเราไดปูกระเบื้องบนพื้นทั้งหมดและปลูกหญาเสร็จเรียบรอยแลว ตอไป เราจะเริ่มสรางพื้นดิน สรางรูปหลังฉาก สรางดวงไฟ และสรางกลอง โดยมีขนั้ ตอนดังตอไปนี้

462. สรางพืน้ ดิน โดยกอนอืน่ ใชคําสัง่ Format4Layer สรางเลเยอรใหมชอื่ “พืน้ ดิน” แลวกําหนดรหั สสี 220,220,220 แล วกําหนดใหเปนเลเยอรใชงาน แลวละลาย (Thaw)เลเยอรทงั้ หมด แตแชแข็ง(Freeze)เลเยอร Solid เพียงเลเยอรเดียว คลิกบน ปุม ไอคอน บนทูลบาร 3D Modeling เพือ่ เปลีย่ นไปทํางานใน 4 วิวพอรท แลว คลิกบนปุมไอคอน เพื่อขยายภาพในทุกๆ วิวพอรท แลวคลิกวิวพอรท Top (มุมซายลาง) เพือ่ กําหนดใหเปนวิวพอรทใชงาน แลวสรางทรงกระบอกกลมขนาด ใหญ เพือ่ ใชเปนพืน้ ดิน โดยกําหนดใหผวิ หนาดานบนมีระดับเสมอกับระดับพืน้ ดิน โดยใชคําสัง่ Draw4Modeling4Cylinder ปด เมือ่ ปรากฏขอความ Specify center point... คลิกประมาณจุดศูนยกลางของตัวบานในวิวพอรท Top เมือ่ ปรากฏขอความ Specify base radius or... ปอนคารัศมี 40 หรือใหญกวา เมื่อปรากฏ ขอความ Specify height or... ปอนคาความสูงเทากับ -1 หนวย แลวคลิกบนปุม ไอคอน เพือ่ ขยายภาพในทุกๆ วิวพอรท แลวคลิกวิวพอรท Perspective (มุมขวา ลาง) แลวเรียกคืนมุมมองทีไ่ ดบนั ทึกไวในขอ 68 โดยคลิกบนปุม ไอคอน แลว ใชคําสั่ง View4Visual Styles4Realistic แลวคลิกบนปุมไอคอน เพื่อ บันทึกการเปลีย่ นแปลงรูปแบบวิวพอรท จะปรากฏดังรูป ที่ 12.162 (ขวา) 463. กําหนดภาพหลังฉาก เพือ่ ใชสําหรับเรนเดอรภาพนิง่ ดังนัน้ เราสามารถใชรปู อิมเมจ ทองฟาได โดยใชคําสั่ง View4Named Views เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค View

chap-12-4.PMD

363

12/10/2549, 21:54

364

Manager คลิกบนปุม New เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค New View พิมพชอื่ Sky เขาไปใน อิดทิ บอกซ Name แลวคลิกใหปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Override default background จะปรากฏไดอะล็อค Background ใหเลือก Image จากแถบรายการ Type แลวคลิกปุม Browse คนหารูป Aero Bliss.jpg หรือ SkyHorizon.jpg จาก โฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM ที่แนบมากับหนังสือคูม อื เลมนี้ คลิกบน ชือ่ ไฟลแลวคลิกบนปุม Open คลิกบนปุม Adjust Image แลวเลือก Stretch จากแถบ รายการ Image position แลวคลิกบนปุม OK คลิกปุม OK เพือ่ ออกจากไดอะล็อค Background คลิ กปุ ม OK เพื่ อออกจากไดอะล็ อค New View คลิกบนปุ ม Set Current แลวคลิกบนปุม Apply และ OK เพือ่ ออกจากไดอะล็อค View Manager

2D Drafting

Note

ในกรณีที่ตองการเรนเดอรภาพเคลื่อนไหว เราสามารถควรจะเลือก Gradient ในแถบรายการ Type แลวคลิกเพื่อปลดเครื่องหมาย ออกจากเช็คบอกซ Three color แลวคลิกบนตลับสี Top color จะ ปรากฏไดอะล็อค Select Color ใหพิมพรหัสสี 138,171,255 แลวคลิกปุม OK แลวคลิกบนตลับสี Top color จะปรากฏไดอะล็อค Select Color ใหพิมพรหัสสี 255,255,255 แลวคลิกบนปุม OK คลิกปุม OK เพื่อออกจากไดอะล็อค Background คลิกปุม OK เพื่อออกจากไดอะล็อค New View คลิกบนปุม Set Current แลวคลิกบนปุม Apply

464. เปดโหมดแสดงแสงอาทิตย โดยคลิกบนปุม ไอคอน Sun status บนแดชบอรด เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Viewport Lighting Mode .คลิกใหปรากฏเครือ่ งหมาย บน เช็คบอกซ Do not show me this again แลวคลิกบนปุม Yes เพือ่ ปดโหมดแสดงแสง ตามทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาใหโดยอัตโนมัติ เปดโหมดแสดงเงาเต็มรูปแบบ โดย คลิกบนปุม ไอคอน Full shadows บนแดชบอรด (หากการดแสดงผลสนับสนุน) ใหแนใจวาปุม ไอคอน Viewport lighting mode อยูใ นสถานะ User light/sun light กําหนดโซนของดวงอาทิตย โดยคลิกบนปุม ไอคอน Geography location บนแดชบอรด แลวกําหนด Region = Asia, Nearest city = Bangkok, Thailand แลว คลิกบนปุม OK แลวกําหนดวันที่ Date:15/10/2549 เวลา Time:15:30 น. โดยคลิก และลากสไลเดอรหรือคลิกบนปุมไอคอน Edit the sun บนแดชบอรดแลว เลือกวันและเวลาที่กําหนด 465. จากรูปที่ 12.162 (ขวา) สรางดวงไฟ Point light 1 ดวง เพือ่ จําลอง Sky light โดยคลิก บนปุมไอคอน หรือใชคําสั่ง View4Render4Light4New Point Light คลิกวิวพอรท Top เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค ใหคลิกบนปุม Yes เมือ่ ปรากฏ Specify source location <0,0,0>: คลิกประมาณจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏ Enter an option to change [Name/Intensity/Status/shadoW/Attenuation/Color/eXit] <eXit>: ให พิ ม พ ตัวเลือก I เมือ่ ปรากฏ Enter intensity... ใหพิมพ .3 เพือ่ ลดความเขมแสง เมื่อปรากฏ Enter an option to change... ใหพิมพตวั เลือก W เมือ่ ปรากฏ Enter shadow settings... ใหพิมพตัวเลือก O เพือ่ ปดโหมดแสดงเงา แลวกดปุม Q เพือ่ ออกจากคําสั่ง จะปรากฏดังรูปที่ 12.163 (ซาย)

chap-12-4.PMD

364

12/10/2549, 21:54

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

365

รูปที่ 12.163

Note

เนื่องจากในขอ 68 เราไดใชคําสั่ง View4Named Views เพื่อบันทึกมุมมองถึง 2 มุมมองแลว ในการบันทึกมุมมองดวยคําสัง่ ดังกลาวนีโ้ ปรแกรมจะสรางกลอง(Camera)มาให 1 ตัวตอ 1 มุมมองโดย อัตโนมัติ ดังนั้น เราจึงไมจําเปนตองสราง Camera ขึ้นมาใหม เพราะจะทําใหจอภาพยุงเหยิงไปโดย เปลาประโยชน อยางไรก็ตาม หากเราตองการสรางกลองเพิ่มขึ้นมาใหม เราสามารถใชคําสั่ง View4 เพื่อสรางกลองใหมเพิ่มไดตามตองการ ในที่นี้ เราจะนํากลองที่ถูกสรางดวย Create Camera คําสั่งView4Named Views มาเปลี่ยนเลนซและจัดมุมมองใหมดังนี้

Note

เราสามารถตรวจสอบจํานวนกลองไดจากคําสัง่ View4Named Views หรือมุมมอง View ใน Model Views ที่ไดบันทึกไว

แลวตรวจดูรายชือ่ กลอง

466. แสดงกลองที่ถกู ซอน โดยใชคําสั่ง View4Display4Cameras จะปรากฏดังรูปที่ 12.163 (ขวา) 467. จากรูปที่ 12.163 (ขวา) ปด ) ปด # ปด ^ ปด _ ในวิวพอรท Top คลิกกลองจุดที่ 1 ใหปรากฏจุดกริป๊ ส แลวคลิกขวา เลือกคําสัง่ Properties เปลีย่ นเลนซเปน 35 ม.ม. โดยพิมพ 35 ในอิดทิ บอกซ Lens length (mm) แลวคลิกบนจุด กริป๊ สเพือ่ ปรับตําแหนงมุมกลองใหม เมือ่ มุมกลองใหมปรากฏในหนาตาง Camera Preview ตามตองการแลว ใหคลิกวิวพอรท Perspective (มุมขวาลาง) แลวคลิกขวา ในวิวพอรท เลือกคําสัง่ Set Camera View จะปรากฏดังรูปที่ 12.164 (ซาย)

รูปที่ 12.164

chap-12-4.PMD

365

12/10/2549, 21:54

366

468. เริม่ เรนเดอรทดสอบ โดยกอนอืน่ คลิกปุม ไอคอน Advanced Render Settings บนแดชบอรด จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 11.71 โดยทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาให Global Illumination และ Final Gather จะอยูใ นสถานะปด ใหคลิกบนไอคอน ของ Global Illumination เพื่อเปดโหมดการเรนเดอรแบบ Global Illumination แลวลดคา Photon/Sample = 200, Use radius = On, Radius = 2 แลวใชคําสัง่ View4 Render4Render จะปรากฏดังรูปที่ 12.164 (ขวา)

2D Drafting

Note

ในการเรนเดอรทดสอบเพือ่ ตรวจสอบขอบกพรอง เราจะยังไมเปดโหมด Final Gather เพราะจะทําให โปรแกรมเรนเดอรเปนเวลานาน เราจะเปดโหมด Final Gather ในการเรนเดอรครัง้ สุดทายเทานัน้ อนึง่ การลดคา Photon/Sample จะทําใหคุณภาพลดลง แตจะทําใหโปรแกรมเรนเดอรเปนระยะเวลาสั้นลง แตเราเปดโหมด Use radius และกําหนด Radius เพือ่ ชดเชยคุณภาพดีขนึ้ เพียงพอทีจ่ ะใชเปนแนวทางใน การปรับแตงดวงไฟและแมททีเรียลได

469. จากรูปที่ 12.164 (ขวา) เราจะเห็นวาสวนโคงตางๆ ปรากฏเปนสันเหลีย่ ม ในขณะที่ บรรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ ใหพมิ พตวั แปรระบบ FACETRES แลวเปลีย่ น คา 0.5 ตามทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาใหเปนคา 5 เพือ่ ปรับใหสว นโคงปรากฏราบเรียบ Note

เราไมจําเปนตองรอไปปรับตัวแปรระบบ FACETRES ในการเรนเดอรครัง้ สุดทาย เพราะการใชคา 0.5 หรือใชคา 5 จะใชเวลาแตกตางกันเพียงวินาทีเดียวเทานั้น

470. ตอไปเริม่ ปลูกตนไม โดยกอนอืน่ ซอนกลองและซอนดวงไฟ โดยใชคําสัง่ View4 Display4Cameras และ View4Display4Lights แลวเขียนสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด ความกวางความสูงใกลเคียงกับขนาดของตนไมที่จะสราง โดยใชคําสั่ง Draw4 # Rectangle เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first corner point... ปด คลิกมุมซายลาง เมือ่ ปรากฏขอความ Specify other corner point... คลิกมุมขวาบน แลวใชคําสั่ง Tools4Options เลือกแถบคําสัง่ 3D Modeling เลือก Delete profile and path curves จากแถบรายการ Deletion control while creating 3D objects แลว ใชคําสัง่ Draw4Region แลวคลิกบนสีเ่ หลีย่ มผืนผา แลวคลิกขวา เพือ่ แปลง สีเ่ หลีย่ มผืนผาใหเปนรีเจีย้ น จะปรากฏดังรูปที่ 12.165 (ซาย) รูปที่ 12.165

chap-12-4.PMD

366

12/10/2549, 21:54

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

367

471. จากรูปที่ 12.165 (ซาย) เคลือ่ นยายรีเจีย้ นสีเ่ หลีย่ มผืนผาไปวางในตําแหนงทีต่ อ งการ โดยใชคาํ สัง่ Modify4Move เราควรปด # ในขณะใชคําสัง่ นีใ้ นการ เคลือ่ นยายรีเจีย้ น แลวคัดลอกรีเจีย้ นสีเ่ หลีย่ มผืนผา ไปวางอีกมุมหนึง่ ของภาพ โดยใช คําสัง่ Modify4Copy แลวใชคําสัง่ Modify4Rotate หมุนรีเจีย้ นสีเ่ หลีย่ มผืนผา ใหตงั้ ฉากกับมุมกลอง จะปรากฏดังรูปที่ 12.165 (ขวา) 472. ทําซ้าํ ขอ 445 สรางแมททีเรียลชือ่ “TreeAmurCork01” เปลีย่ นเทมเพล็ทจาก Realistic เปน Advanced ในแถบรายการ Template แลวคลิกบนตลับสี Specular ปอนรหัสสี 0,0,0 ในโซน Diffuse map ใหเลือกใชรปู ภาพอิมเมจ TreeAmurCork01.jpg จากโฟลเดอร \Exercise โดยเลือกปุม เรดิโอ Fit to object สวนใน โซน Opacity map ใหใชรปู อิมเมจ TreeAmurCork01-o.jpg โดยเลือกปุม เรดิโอ Fit to object แลวใหแนใจวาคา Opacity map เปน 100 473. ทําซ้าํ ขอ 445 สรางแมททีเรียลชือ่ “TreeAmurCork02” เปลีย่ นเทมเพล็ทจาก Realistic เปน Advanced ในแถบรายการ Template แลวคลิกบนตลับสี Specular ปอนรหัสสี 0,0,0 ในโซน Diffuse map ใหเลือกใชรปู ภาพอิมเมจ TreeAmurCork02.jpg จากโฟลเดอร \Exercise โดยเลือกปุม เรดิโอ Fit to object สวนใน โซน Opacity map ใหใชรปู อิมเมจ TreeAmurCork02-o.jpg โดยเลือกปุม เรดิโอ Fit to object แลวใหแนใจวาคา Opacity map เปน 100 474. จากรูปที่12.165 (ขวา) บนหนาตาง Materials เริม่ กําหนดแมททีเรียล “TreeAmurCork01” โดยดับเบิล้ คลิกบนรูปตัวอยางของแมททีเรียล “TreeAmurCork01” เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects บนรีเจีย้ นตรงจุดที่ 1 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ 475. จากรูปที่ 12.165 (ขวา) เริม่ กําหนดแมททีเรียล “TreeAmurCork02” โดยดับเบิล้ คลิก บนรูปตัวอยางของแมททีเรียล “TreeAmurCork02” เมื่ อปรากฏขอความ Select objects บนรีเจี้ยนตรงจุดที่ 2 แลวคลิกขวา เพื่อออกจากคําสั่ง จะปรากฏดังรูปที่ 12.166 (ซาย)

รูปที่ 12.166

chap-12-4.PMD

367

12/10/2549, 21:54

368

476. เรนเดอรทดสอบ โดยใชคา Global Illumination เดิมทีไ่ ดกําหนดไวในขอ 468 โดย ใชคําสั่ง View4Render4Render จะปรากฏดังรูปที่ 12.166 (ขวา)

2D Drafting

Note

จากรูปที่ 12.166 (ขวา) ถาพิจารณาดูรูป เรนเดอรอยางละเอียด เราจะเห็นขอบกพรองตรงจุดแนว เสาชัน้ บน เนือ่ งจากผนังชัน้ บนและเสาชัน้ บนนัน้ มีสแี ตกตางกัน แตเสาและผนังซอนกันพอดี จึงเห็นสี ของเสาปรากฏอยูบนผนังชั้นบนบางสวน ซึ่งเราไมตองการใหเปนเชนนั้น ปญหานี้สามารถแกไขได โดยการตัดแบงเสาในเลเยอร “เสาชัน้ ลางชั้นบน” ออกเปน 2 สวน แลวจึงสามารถกําหนดแมททีเรียล ใหแตกตางกัน โดยมีขนั้ ตอนดังตอไปนี้

477. บันทึกมุมมองกลองในวิวพอรท Perspective โดยคลิกวิวพอรท Perspective (มุม ลางขวา) แลวคลิกบนปุม ไอคอน เพือ่ เก็บมุมมองไวเรียกกลับคืนมาใชงาน 478. กําหนดใหเลเยอร “เสาชั้นลางชั้นบน” เปนเลเยอรใชงาน แลวแชแข็ง(Freeze) เลเยอรอนื่ ๆ ทัง้ หมด ยกเวนเลเยอร “เสาชัน้ ลางชัน้ บน” , “เสาชัน้ ลาง” , “เสาชัน้ บน” และ ”เลเยอรพื้นชัน้ บน” 479. คลิกวิวพอรท Perspective (มุมขวาลาง) แลวคลิกบนปุมไอคอน เพื่อขยาย วิ ว พอร ท แล วป ดโหมดเปอร สเปคที ฟ โดยคลิ กบนปุ มไอคอน Parallel Projection บนแดชบอรด แลวใชคําสัง่ View43D Views4SE Isometric แลว คลิกบนปุม ไอคอน บนทูลบาร 3D Modeling จะปรากฏดังรูปที่ 12.167 (ซาย) รูปที่ 12.167

480. จากรูปที่ 12.167 (ซาย) ตัดเฉือนเพือ่ แบงเสาออกเปน 2 สวน โดยใชคําสัง่ Modify4 3D Operations4Slice เมือ่ ปรากฏ Select objects to slice: คลิกเสาจุดที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Specify start point of slicing plane or... ให พิมพตัวเลือก XY แลวกดปุม Q เมือ่ ปรากฏ Specify a point on... คลิกจุดที่ 10 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify a point on desired side or... ใหกดปุม Q เสาจะ ทัง้ หมดทีถ่ กู เลือกจะถูกแบงออกเปน 2 สวน แตเราจะไมเห็นการเปลี่ยนแปลงใดๆ จนกวาเราจะเลือ่ นเคอรเซอรไปบนเสาแตละตน เมือ่ เสาปรากฏเปนเสนประ เราจึง จะทราบวาเสาทัง้ หมดถูกแบงออกเปน 2 สวนแลวหรือไม

chap-12-4.PMD

368

12/10/2549, 21:54

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางภาพ เหมือนจริงในงานสถาปตยกรรม

369

481. จากรูปที่ 12.167 (ซาย) บนหนาตาง Materials กําหนดแมททีเรียล “Light Yellow” โดยดับเบิล้ คลิกบนรูปตัวอยางของแมททีเรียล “Light Yellow” เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects บนเสาตรงจุดที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ 482. ยายเสาจุดที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 ใหไปอยูใ นเลเยอร “เสาชัน้ บน” โดยในขณะทีบ่ รรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ คลิกบนเสาจุดที่1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 ใหปรากฏจุดกริป๊ ส แลวเลือกเลเยอร “เสาชัน้ บน” จากแถบรายการควบคุมเลเยอร แลวกดปุม D 483. เรียกสถานะเลเยอรเดิมกลับมาใชงาน โดยคลิกบนปุม ไอคอน Layer previous หรือ ละลาย(Thaw)เลเยอรทั้งหมด แตแชแข็ง(Freeze)เลเยอร Solid เพียงเลเยอรเดียว แลวกําหนดใหเลเยอร “พื้นดิน” เปนเลเยอรใชงาน 484. เรียกคืนมุมกลองที่ไดบนั ทึกไวในขอ 478 โดยคลิกบนปุม ไอคอน ดังรูปที่ 12.166 (ซาย)

จะปรากฏ

485. เรนเดอรทดสอบ โดยใชคา Global Illumination เดิมทีไ่ ดกําหนดไวในขอ 468 โดย ใชคําสั่ง View4Render4Render จะปรากฏดังรูปที่ 12.167 (ขวา) Note

จากรูปที่ 12.167 (ขวา) เราจะเห็นวาจุดบกพรองทีเ่ กิดขึน้ ระหวางเสากับผนังชัน้ บนไดหายไปเรียบรอยแลว เปนอันวา เราไดสรางภาพนิง่ เสร็จเรียบรอยแลว ในการเรนเดอรขนั้ สุดทาย ใหคลิกบนปุม ไอคอน Advanced Render Settings บนแดชบอรด กําหนดคา Photon/Sample = 500, Use radius = Off แลวเปด โหมด Final Gather โดยคลิกบนไอคอน ของ Final Gather โดยไมตอ งปรับแตงพารามิเตอรใดๆ ภาพเรนเดอรในขัน้ สุดทายจะสวางกวาภาพทีเ่ ราทดลองเรนเดอร เนือ่ งจากมีการสะทอนของแสงมากขึน้ ดังนั้น เราอาจจะตองยอนกลับไปลดคา Internsity ของดวงอาทิตย Sun light และดวงไฟ Point light ลงเล็กนอย เพื่อใหไดภาพที่สมบูรณ ไมมีแสงสวางจนเกินไป(Overexpose)ปรากฏใหเห็น

Advanced Render Settings บน 486. เรนเดอรขนั้ สุดทาย โดยกอนอืน่ คลิกปุม ไอคอน แดชบอรด แลวกําหนดคา Photon/Sample = 500, Use radius = Off แลวเปดโหมด Final Gather โดยคลิกบนไอคอน ของ Final Gather โดยไมตอ งปรับแตงพารามิเตอรใดๆ โดยใชคาํ สัง่ View4Render4Render จะปรากฏดังรูปที่ 12.168 (ซาย) รูปที่ 12.168

chap-12-4.PMD

369

12/10/2549, 21:54

370

Note

จากรูปที่ 12.168 (ซาย) เราจะเห็นวา เมื่อเปดโหมด Final Gather มีการสะทอนแสงภายในฉากขึ้นจน กระทั่งทําใหบางสวนของภาพนั้นมีแสงจา(Overexpose)มากเกินไป เราสามารถแกไขไดโดยลดคา Intensity ของดวงอาทิตยหรือลดคา Intensity ของดวงไฟ Point light ซึ่งเราใชในการจําลอง Sky light นอกจากคาลดคา Intensity แลว เรายังสามารถเคลือ่ นยายตําแหนงของดวงไฟ Point light ไปยังตําแหนง ใหมที่เหมาะสมมากกวา

2D Drafting

Edit the sun แลวลดคา 487. แกไขคาความเขมแสงของดวงอาทิตย โดยคลิกบนปุม Intensity ใหเหลือ 0.8 แลวเรนเดอรครั้งสุดทาย แลวเคลื่อนยายตําแหนงดวงไฟ Point light ไปทางดานซายบนเล็กนอยดังรูปที่ 12.168 (ขวา) โดยใชคําสัง่ View4 Render4Render โดยใชคา พารามิเตอรตา งๆ เดิมทัง้ หมด จะปรากฏดังรูปที่ 12.169 รูปที่ 12.169

เปนอันวาเราไดทําแบบฝกหัดนีม้ าครบถวนทั้งหมดแลว ผูเขียนมั่นใจวาหากผูอ านไดศึกษาขั้นตอน ต างๆ ในการสร างบ านในแบบฝ กหั ดนี้ แล ว ผู อานจะสามารถสร างโมเดลบ าน 3 มิ ติ แบบอื่ นๆ ดวยตนเองไดเชนเดียวกัน อยางไรก็ตาม ผูเ ขียนยังมิไดแสดงขัน้ ตอนการสรางบันไดและการสรางภาพ เคลือ่ นไหวแบบ Walk-through เนือ่ งจากเนือ้ ทีใ่ นหนังสือคูม อื เลมนี้มจี าํ กัด อีกทัง้ การแสดงขัน้ ตอน การสรางบันไดและการสรางภาพเคลือ่ นไหวในหนังสือจะสิน้ เปลืองหนากระดาษคอนขางมาก ดังนัน้ ผูเ ขียนจึงเลือกทีจ่ ะแสดงวิธกี ารสรางภาพเคลือ่ นไหวไวในแบบฝกหัดบนแผน DVD-ROM มัลติมเี ดีย ชวยสอนแทน ผูอ า นสามารถดูวธิ ีการและขัน้ ตอนในการสรางภาพเคลือ่ นไหว เพือ่ นํามาเปนตัวอยาง ในการสรางภาพเคลือ่ นไหวดวยตนเองได ******************************

chap-12-4.PMD

370

12/10/2549, 21:54

Related Documents

3d Autocad 2007
June 2020 7
Autocad 2007 3d Chap-15
November 2019 10
Autocad 2007 3d Chap-03
November 2019 12
Autocad 2007 3d Chap-16
November 2019 7
Autocad 2007 3d Chap-12
November 2019 4
Autocad 2007 3d Chap-04
November 2019 5