Autocad 2006 2d Chap-19

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Autocad 2006 2d Chap-19 as PDF for free.

More details

  • Words: 4,359
  • Pages: 20
แบบฝกหัดที่ 3 งานเขียนแบบเครื่องกล I

ในแบบฝกหัดงานเขียนแบบเครือ่ งกล I นี้ เราจะเริ่มเขียนชิน้ สวนเครื่องกล Bell crank ทีม่ ีรูปทรงแบบงายๆ ดังรูปที่ 19.1 แตจะชวยใหเราสามารถเขาใจและรูจักวิธีการเริม่ ตนเขียนแบบแปลนดวย AutoCAD ตามหลักการที่ถกู ตอง โดยเริม่ ตนจากการเขียนชิน้ งานบน พืน้ ทีโ่ มเดลสเปสดวยขนาดจริง(Full scale)หรือใชมาตราสวน 1:1 โดยกําหนด หนวยวัดเปน 1 หนวยเทากับ 1 มิลลิเมตร เมือ่ เขียนชิน้ งานเสร็จเรียบรอยแลว เราจะเขียนเสนบอกขนาดและตัวอักษรบน พืน้ ทีโ่ มเดลสเปสเชนเดียวกับชิน้ งาน แลวนําตารางรายการแบบขนาด A4 หนวยมิลลิเมตรทีส่ รางไวในแบบฝกหัดบทที่ 17 เขามาจัดหนากระดาษสรางวิวพอรทและกําหนดมาตราสวน เพือ่ เตรียมพรอมในการพิมพแบบแปลนลงบนกระดาษ รูปที่ 19.1

chap-19.PMD

Note

ในแบบฝกหัดนีเ้ ราจะยังไมใช Sheet Set Manager เปนเครือ่ งมือในการจัดหนากระดาษและกําหนดสเกล เนื่องจากมีจุดประสงคเพื่อใหผูอานรูจักวิธีพื้นฐานในการจัดกระดาษและกําหนดสเกลใน AutoCAD หากผูอ า นไดรบั แบบแปลนทีเ่ ขียนดวยวิธนี มี้ าจากหนวยงานอืน่ ๆ จะสามารถแกไขเพิม่ ไดอยางถูกตอง

Note

วิธกี ารเขียนชิน้ งาน เขียนเสนบอกขนาด เขียนตัวอักษรหรือขอความบนพืน้ ทีโ่ มเดลสเปสในแบบฝกหัด นีเ้ ปนวิธีเกาทีเ่ ริ่มใชงานใน AutoCAD 2000 และยังสามารถใชไดจนมาถึง AutoCAD 2006 ในปจจุบนั

609

13/10/2549, 1:39

610 ในแบบฝกหัดนี้ เราจะได ศึกษาคําสัง่ พืน้ ฐานการกําหนดขอบเขตลิมติ (Limits) การสรางเลเยอร(Layer) การกําหนดรูปแบบ(Linetype)และความหนาเสน(Lineweight) การสราง Template file ตนแบบสําหรับ เก็บคาเริ่มตนเพื่อใช ในการเขียนแบบแปลนอื่นๆ คําสั่งในการเขียนเสน อาทิ เชน Line, Circle คําสั่ง ในการแกไขเสน อาทิ เชน Trim, Fillet, Break คําสั่งในการเขียนเสนบอกขนาด(Dimensions)แบบ ตางๆ รวมทัง้ คําสัง่ ทีเ่ กีย่ วของกับการสอดแทรกตารางรายการแบบ การจัดกระดาษ การกําหนดสเกลและ การเตรียมพิมพแบบแปลน

Note

2D Drafting

Note

ถึงแมวา แบบฝกหัดนีแ้ ละแบบฝกหัดอืน่ ๆ อาจจะไมตรงตามสายงานทีผ่ อู า นกําลังศึกษาหรือทํางานอยู แตผู อานก็ไมควรที่จะมองขาม เนื่องจากในงานเขียนแบบทุกประเภทมีเทคนิคการใชคําสั่งตางๆ เหมือนๆ กัน หากเรามีความสามารถเขียนแบบในงานประเภทใดประเภทหนึ่งไดแลว เราก็จะสามารถ เขียนแบบงานประเภทอื่นๆ ไดไมยากนัก เพียงแตศึกษาหลักการเขียนแบบของงานประเภทนั้นๆ อีก เล็กนอยเทานั้น

Note

เมื่อลองพิจารณาดูรูปชิ้นงานดังรูปที่ 19.1 เราจะสามารถแยกประเภทเสนไดทั้งหมดเปน 3 ประเภท คือเสนขอบของชิ้นงาน เสนศูนยกลางและเสนบอกขนาด ดังนั้น เราจะแยกเสนออกเปน 3 เลเยอร คือเลเยอร Profile, Center และ Dim เมื่อเขียนชิ้ นงานแยกตามเลเยอรเสร็จเรียบรอยแลว เราจะ เขียนเสนบอกขนาดลงบนชิ้นงานบนพื้นที่โมเดลสเปส แลวจึงนําตารางรายการแบบเขามารวมกับ ชิ้นงานและกําหนดมาตราสวน(Scale) แลวจึงกําหนดคาตางๆ เพื่อเตรียมพรอมสําหรับการสงแบบ แปลนไปยังเครือ่ งพิมพ

1.

Note

เริ่มแบบแปลนใหม โดยใชคําสั่ง File4New จะปรากฏไดอะล็อค Select template ใหเลือกไฟลตน แบบ Acadiso.dwt โปรแกรมจะนําเราไปสูพ น้ื ทีว่ าดภาพโมเดลสเปสในระบบ เมตริก โดยใชรหัสสีควบคุมคุณสมบัตแิ ละความหนาเสน(Color dependent plot style) กอนทีจ่ ะทําแบบฝกหัดนี้ เราควรทีจ่ ะตัง้ คาเริม่ ตนตางๆ ใหตรงกันเสียกอน โดยใชคําสัง่ Tools4Options

ð User Preferences ð ใหแนใจวาปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซ Shortcut menu in drawing area ðใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย หนาเช็คบอกซ Turn on time-sensitive right-click แลวคลิก

แถบคําสัง่ Display ใหแนใจวา Crosshair size = 100 เปอรเซนตและใชคําสั่ง Tools4Drafting Settings ð Object Snap กําหนดโหมดออฟเจกทสแนปใชงานคือ Endpoint, Midpoint, Center, Intersection และ Extension รวมทั้งใหแนใจวาบรรทัดแสดงสถานะปรากฏ SNAP = ปด(OFF), GRID = ปด, ORTHO = ปด, POLAR = เปด, OSNAP = เปด(ON), OTRACK = ปด, DYN = เปด, LWT = ปด

2.

chap-19.PMD

สรางเลเยอรใหม 3 เลเยอรคอื เลเยอร Profile, Center และเลเยอร Dim โดยใชคําสัง่ Format4 Layer จะปรากฏไดอะล็อค Layer Properties Managers ใหคลิกบนปุม New Layer 3 ครัง้ แลวคลิก Layer1 ชาๆ 2 ครั้ง เมือ่ ปรากฏแถบสีน้ําเงินบนชื่อ Layer1 ใหตงั้ ชื่อเลเยอร Profile คลิกบน Lineweight ของเลเยอร Profile แลวเลือกความหนาเสน 0.35 mm ตอไปคลิก Layer2 ชาๆ 2 ครัง้ เมือ่ ปรากฏแถบสีนา้ํ เงินบนชือ่ Layer2 ตัง้ ชือ่ เลเยอร Center คลิกบนตลับสี White ของเลเยอร Center เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Select Color พิมพรหัสสีหมายเลข 5 (สีนา้ํ เงิน) เขาไปในอิดิทบอกซ Color แลวคลิกปุม OK คลิกบนเสน Continuous ของเลเยอร Center เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Select Linetype ใหคลิกบนปุม Load เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Load or Reload Linetypes ใหคน หาและคลิกเสนประ CENTER แลวคลิกบนปุม OK เมือ่ กลับไปยังไดอะล็อค Select linetype ใหคลิกบนเสนประ CENTER แลวคลิกปุม OK เพือ่ กลับไปยัง Layer Properties Managers จะปรากฏชือ่ เสนประ CENTER บนเลเยอร Center แลวคลิกบน Lineweight ของ เลเยอร Center แลวเลือกความหนาเสน 0.13 mm ตอไปคลิก Layer3 ชาๆ 2 ครั้ง เมื่อปรากฏ แถบสีนา้ํ เงินบนชือ่ Layer3 ตัง้ ชือ่ เลเยอร Dim คลิกบนตลับสี White ของเลเยอร Dim เมือ่ ปรากฏ

610

13/10/2549, 1:39

แบบฝกหัดที่ 3 งานเขียนแบบเครื่องกล I

611

ไดอะล็อค Select Color พิมพรหัสสีหมายเลข 1 (สีแดง) เขาไปในอิดทิ บอกซ Color แลวคลิกปุม OK แลวคลิกบน Lineweight ของเลเยอร Dim เลือกความหนาเสน 0.18 mm กําหนดใหเลเยอร Center เปนเลเยอรใชงาน โดยคลิกชือ่ เลเยอร Center แลวคลิกบนปุม Set Current ไดอะล็อค Layer Properties Managers จะปรากฏดังรูปที่ 19.2 แลวคลิกปุม OK เพือ่ ออกจากไดอะล็อค ซึง่ แสดงเลเยอรใชงาน แถบรายการควบคุมเลเยอรจะปรากฏ รูปที่ 19.2

Note

จากรูปที่ 19.2 สังเกตุวาบนไดอะล็อค Layer Properties Manager เฉพาะเลเยอรชื่อ Center เราจะตอง กําหนดใหรูปแบบเสนของเลเยอรนี้เปนเสนประ CENTER สวนเลเยอรอื่นๆ รูปแบบเสนยังคงเปน Continuous ตามทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาให แลวสังเกตุอีกอยางหนึ่งวา ชือ่ เลเยอร Center ไปปรากฏบน Current Layer ซึ่งเปนเลเยอรใชงานดวย

3.

Note

หากตองการใชฟอนท .shx ภาษาไทย ใหคัดลอกฟอนท Angsana.shx และ Cordia.shx จากโฟลเดอร \Thai fonts ในแผน DVD-ROM แนบทายหนังสือคูมือเลมนี้ไปไวในโฟลเดอร C:\Program Files\ AutoCAD 2006\Fonts แลวออกจากโปรแกรม AutoCAD และกลับเขา AutoCAD ใหม เราจึงจะ สามารถใชงานฟอนทภาษาไทยในการเขียนเสนบอกขนาดและเขียนตัวอักษรได

4.

chap-19.PMD

สรางสไตลตัวอักษร โดยใชคําสั่ง Format4Text Style จะปรากฏไดอะล็อค Text Style ดังรูปที่ 7.5 คลิกบนปุม New จะปรากฏไดอะล็อค New Text Style ดังรูปที่ 7.6 พิมพชอื่ สไตล Simplex ในอิดิทบอกซ Style name คลิกปุม OK เลือกฟอนท จาก แถบรายการ Font name คลิกบนปุม Apply เพื่อกําหนดใหเปนสไตลใชงานและปุม Close แถบรายการควบคุมสไตลตวั อักษรจะปรากฏ ซึง่ แสดงสไตลตวั อักษรใชงาน

สรางสไตลเสนบอกขนาด โดยใชคําสัง่ Format4Dimension Style จะปรากฏไดอะล็อค ดังรูปที่ 8.3 สังเกตุวา สไตล ISO-25 เปนสไตลใชงาน ใหคลิกบนปุม New จะปรากฏไดอะล็อค Create New Dimension Style ดังรูปที่ 8.4 (ซาย) ใหพมิ พชื่อสไตล Mechanical ใหแนใจวา แถบรายการ Used for ปรากฏ All dimensions แลวคลิกบนปุม Continue จะปรากฏไดอะล็อค ดังรูปที่ 8.7 แสดงแถบคําสัง่ Line ในฟลด Dimension lines กําหนด Color = ByLayer, Linetype = ByLayer, Lineweight = ByLayer, Baseline spacing = 6 ในฟลด Extension lines กําหนด Color = ByLayer, Linetype ext line 1 = ByLayer, Linetype ext line 2 = ByLayer, Lineweight = ByLayer,แลวคลิกแถบคําสัง่ Symbol and Arrow ในฟลด Arrow heads กําหนด First = , Second = , Arrow size = 2.5 คลิกแถบคําสั่ง Text คลิกบนปุม ของแถบรายการ Text style แลวเลือกสไตล Simplex ใหปรากฏบนแถบรายการ Text Style กําหนดให Text color = Magenta, Text height = 2.5, Vertical = Center, Text Alignment = Horizontal เลือกแถบคําสัง่ Fit กําหนดให Fit Options = Arrow ใหแนใจวา Use overall scale of = 1 (หากชิน้ งานและตารางรายการแบบมีหนวยเปนมิลลิเมตรใหกาํ หนดคา เทากับ 1 หากชิน้ งานและตารางรายการแบบมีหนวยเปนเมตร ใหกาํ หนดคาเทากับ 0.001) แลวคลิกใหปรากฏเครือ่ งหมาย หนาเช็คบอกซ Place text manually ซึง่ เราจะสามารถกําหนด ตําแหนงตัวเลขบอกขนาดตามตําแหนงทีเ่ ราตองการไดอยางอิสระ เลือกแถบคําสัง่ Primary Units ในฟลด Linear dimensions ใหแนใจวา Unit format = Decimal, Precision = 0.00 , Decimal Seperator = ‘.’ (Period) ใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Trialing ใน

611

13/10/2549, 1:39

612

ฟลด Zero supression เพือ่ ระงับเลข 0 (ศูนย) หลังจุดทศนิยม แลวคลิกปุม OK เพือ่ กลับไปยัง ไดอะล็อค Dimension Style Manager ใหคลิกเพือ่ เลือกสไตล Mechanical แลวคลิกบนปุม Set Current เพือ่ กําหนดใหเปนสไตลเสนบอกขนาดใชงานและคลิกบนปุม Close เพือ่ ออกจาก ซึ่งแสดง ไดอะล็อคแถบรายการควบคุมสไตลเสนบอกขนาดจะปรากฏ สไตลเสนบอกขนาดใชงาน

2D Drafting

5.

เมื่อเราไดสรางเลเยอรและเปดโหมดแสดงจุดกริดเรียบรอยแลว เราสามารถเก็บบันทึกชื่อเลเยอรและ คาตางๆ ทัง้ หมดทีเ่ ราไดกําหนดไวในไฟลตน แบบ .dwt เพื่อทีจ่ ะไดไมตอ งเสียเวลาในการสรางเลเยอร และกําหนดคาตางๆ ใหม เมือ่ มีการสรางไฟลแบบแปลนเพือ่ เขียนชิน้ งานอืน่ ๆ ทีม่ โี ครงสรางเหมือนกัน เมือ่ มีการใชคําสัง่ File4New แลวเลือกไฟลตน แบบ .dwt ทีเ่ ราไดสรางขึน้ เลเยอร สไตลตวั อักษร และสไตลเสนบอกขนาด จะตามไปอยูใ นไฟลแบบแปลนใหมโดยอัตโนมัติ

Note

6.

บันทึกไฟลตน แบบ โดยใชคาํ สัง่ File4Save หรือคําสัง่ File4Save As เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Save Drawing As ใหเลือก Drawing Template File (*.dwt) ในแถบรายการ Files of type แลวตัง้ ชือ่ My_Project_Template คลิกบนปุม Save จะปรากฏไดอะล็อค Template Description เราสามารถพิมพคําอธิบายไฟลตนแบบหรือคลิกบนปุม OK เพื่อบันทึกไฟลตนแบบ .dwt แลวใชคําสัง่ File4Close เพือ่ ปดเทมเพล็ทไฟล

Note

หากตอไป มีการสรางสไตลเสนบอกขนาด สไตลตัวอักษรอื่นๆ เพิ่มเติมขึ้นมาภายหลัง เราสามารถ เปดไฟล My_Project_Template.dwt ออกมา แลวใชคําสัง่ Tools4DesignCenter แลวคลิกและลาก Dimstyle และ Textstyle จากไฟลอื่นๆ เขาไปเพิ่มเติมเขาไปในไฟลตนแบบได

Note

เมื่อบันทึกไฟลตนแบบ My_Project_Template.dwt แลว ไฟลดังกลาวนี้จะถูกเก็บไวในโฟลเดอร C:\ Documents and Settings\User name\Local Settings\Application Data\Autodesk\AutoCAD 2006\ R16.2\enu\Template ในขณะนี้ ถาหากเราเริ่มตนเขียนชิ้นงานและใชคําสั่ง File4Save จะทําให ชิ้นงานเขาไปอยูในไฟลตนแบบ ทุกครั้งที่ใชคําสั่ง File4New แลวเลือกไฟลตนแบบ .dwt นี้ ชิน้ งานจะตามไปปรากฏในไฟลแบบแปลนใหมดว ย ซึง่ เราไมตอ งการใหเปนเชนนัน้ ดังนัน้ เราจะตอง ใชคําสั่ง File4Save As เพื่อบันทึกไฟลแบบฝกหัดนี้ในฟอรแมต .dwg ใหมเสียกอน

7.

Note

chap-19.PMD

กดปุม ฟงชัน่ คีย & เพื่อเปดโหมดแสดงจุดกริด กดปุมฟงชั่นคีย ( เพือ่ เปดโหมดแสดงการ กระโดดของเคอรเซอร แลวขยายขอบเขตของจุดกริดใหเต็มพืน้ ทีว่ าดภาพ โดยใชคาํ สัง่ View4 Zoom4All

เริ่มแบบแปลนใหม โดยใชคําสั่ง File4New เมื่อปรากฏไดอะล็อค Select template คนหาไฟล My_Project_Template.dwt แลวคลิกบนปุม OK พืน้ ทีว่ าดภาพจะปรากฏไฟลแบบ แปลนใหม มีการตัง้ คาเลเยอร สไตลตวั อักษรและสไตลเสนบอกขนาดเหมือนกับทีอ่ ยูใ นเทมเพล็ท ไฟลดงั กลาวทุกประการดังรูปที่ 19.3 (ซาย) โดยที่โปรแกรมกําหนดมาให หากเราเขาสู AutoCAD 2006 ดวยไฟลตนแบบ Acadiso.dwt (ระบบ เมตริก) หากเราใชคําสัง่ View4Zoom4All พืน้ ที่วาดภาพจะแสดงขอบเขตลิมิต(Limits) เทากับ 420,297 หนวย ซึง่ ถาเปรียบเทียบกับชิ้นงานดังรูปที่ 19.1 ซึ่งมีขนาด 50x40 หนวยโดยประมาณ ถาเรา เขียนชิน้ งานเขาไปบนพืน้ ทีว่ าดภาพในขณะนีซ้ งึ่ มีลิมติ (Limits)เทากับ 420,297 หนวย จะทําใหชนิ้ งาน ปรากฏบนพืน้ ทีว่ าดภาพมีขนาดเล็กมากจนไมสามารถเริม่ เขียนภาพได ดังนัน้ เราควรกําหนดขอบเขต ลิมติ ใหมใหเหมาะสมกับชิน้ งานดังนี้

612

13/10/2549, 1:39

แบบฝกหัดที่ 3 งานเขียนแบบเครื่องกล I

613 รูปที่ 19.3

8.

เริม่ กําหนดขอบเขตลิมติ โดยใชคําสัง่ Format4Drawing Limits จะปรากฏขอความดังนี้ {กดปุม Q เพือ่ ยอมรับคา 0,0} 100,80 {กําหนดขอบเขตลิมติ โดยพิมพคา 100,80 ประมาณสองเทาของขนาดชิน้ งานทีจ่ ะเขียน}

Specify lower left corner or [ON/OFF] <0.0000,0.0000>: Specify upper right corner <420.0000,297.0000>:

Note

100,80 ไดมาจากขนาดของชิน้ งานในรูปที่ 19.1 ซึง่ อันทีจ่ ริงชิน้ งานมีความยาวประมาณ 50 กวาๆ สวน ความสูงของชิ้นงานประมาณไมเกิน 40 หนวย ดังนั้น ชิ้นงานจึงมีขนาดประมาณ 50x40 หนวยโดย ประมาณ แตถาเรานําคาดังกลาวไปกําหนดเปนขอบเขตลิมิต พื้นที่วาดภาพก็จะมีขนาดฟตพอดีกับ ชิน้ งาน ยากตอการเริม่ ตน เพราะจะไมมพี นื้ ทีข่ อบเหลืออยูแ มแตนอ ย ดังนัน้ เราจึงกําหนดขอบเขตลิมติ ใหมคราวๆ โดยใชคา 100,80 ซึง่ มีขนาดใหญกวาชิน้ งานประมาณ 2 เทาของชิน้ งาน ซึง่ จะทําใหมีพนื้ ที่ ขอบเหลือเพียงพอที่จะเริ่มตนเขียนชิน้ งานไดอยางสะดวก อยางไรก็ตาม การกะขนาดเผือ่ พื้นที่ขอบนี้ ควรใชขนาดคราวๆ เพื่อความรวดเร็วที่สุด ไมตองถึงขนาดที่จะตองใชเครื่องคิดเลขเขามาชวย เรา สามารถมองดูขนาดบนชิน้ งานคราวๆ ก็เพียงพอ เนื่องจากเราใชขอบเขตลิมิตเฉพาะชวงที่เริม่ ตนเขียน ชิ้นงานเทานั้น หลังจากที่ไดเริ่มเขียนชิ้นงานไปแลว เราจะไมไดใชขอบเขตลิมิตในจุดประสงคอื่นๆ ตอไปอีกเลย ดังนั้น การใชลิมิตประมาณ 2 เทาของขนาดชิ้นงานเปนวิธีป ระมาณขนาดลิมิตที่งาย และเร็วทีส่ ุด

9.

Note

ใชคําสัง่ View4Zoom4All เพือ่ แสดงขอบเขตลิมติ ใหม จุดกริดซึง่ ใชอา งอิงขนาดและการ กระโดดของเคอรเซอรสแนป จึงมีระยะหางเพิม่ มากขึน้ ดวย เนือ่ งจากโดยทีโ่ ปรแกรมกําหนด มาใหระยะหางของจุดกริดในระบบเมตริกมีคา เทากับ 10 หนวยดังรูปที่ 19.3 (ขวา) ขอใหจดจําไวเสมอวา หลังจากทีม่ ีการเปลีย่ นแปลงขอบเขตลิมติ ดวยคําสัง่ Format4Drawing Limits แลว เราจะตองใชคําสัง่ View4Zoom4All ตามทันทีทกุ ครัง้ เพือ่ ทําใหขอบเขตของพืน้ ทีว่ าดภาพ เปลีย่ นแปลงไปตามขอบเขตลิมิตใหม

10. แกไขการกําหนดกริด(Grid)และระยะกระโดดของเคอรเซอร(Snap)ใหมใหเหมาะสมกับขอบ เขตลิมติ โดยใชคําสัง่ Tools4Drafting Settings หรือคลิกขวาบน ปุม หรือปุม แลวเลือกคําสัง่ Settings จะปรากฏไดอะล็อค Drafting Settings ใหเลือกแถบคําสัง่ Snap and Grid แลวกําหนด Snap X Spacing, Snap Y Spacing เทากับ 5 หนวยและกําหนด Grid X Spacing, Grid Y Spacing เทากับ 0 (ศูนย) แลวคลิกปุม OK เพือ่ ออกจากไดอะล็อค ขอบเขตลิมติ จะปรากฏดังรูปที่ 19.4 (ซาย) 11. ใหแนใจวาเลเยอร Center เปนเลเยอรใชงาน 12. เปดโหมด Ortho เพือ่ บังคับใหเสนอยูใ นแนวนอนหรือแนวตัง้ โดยกดปุม ฟงชัน่ คีย * หรือคลิก บนปุม บนบรรทัดแสดงสถานะ

chap-19.PMD

613

13/10/2549, 1:39

614 รูปที่ 19.4

2D Drafting

13. เขียนเสนตรงในแนวนอนใหอยูป ระมาณคอนไปทางดานลางของพืน้ ทีว่ าดภาพเล็กนอยและอีก เสนหนึง่ ใหคอ นไปดานขวาของพืน้ ทีว่ าดภาพโดยใชสายตากะตําแหนงและความยาวทีเ่ หมาะสม (ดูตําแหนงจากรูปที่ 19.1) โดยใชคําสัง่ Draw4Line ใหปรากฏดังรูปที่ 19.4 (ขวา) Note

ในการเขียนเสนในแนวนอนและแนวตัง้ ถาปุม SNAP, ORTHO หรือ POLAR ปุม ใดปุม หนึง่ ไมไดเปด อยู โอกาสที่เราจะเขียนเสนผิดพลาดคอนขางสูง โดยเสนจะเอียงออกจากแนวนอนหรือแนวตั้งไดงา ย ดังนัน้ เมื่อใดก็ตามที่ตอ งการเขียนเสนในแนวนอนหรือแนวตั้ง จึงควรมั่นใจวาเราไดใชปุม ORTHO, SNAP หรือ POLAR เปนตัวบังคับเสนไมใหหนีออกนอกแนวนอนและแนวตั้ง

รูปที่ 19.5

คาของเสนประเซ็นเตอรที่กําหนดไวในไฟล Acadiso.lin

14. ปดโหมดบังคับการกระโดดของเคอรเซอร โดยกดปุม ฟงชัน่ คีย ( และปดโหมดบังคับ เสนแนวนอนและแนวตัง้ โดยกดปุม ฟงชัน่ คีย * และปดโหมดการแสดงจุดกริด โดยกดปุม ฟงชัน่ คีย & 15. ปรับสเกลเสนประใหมคี วามถีม่ ากขึน้ โดยพิมพ LTS หรือ LTSCALE ผานคียบ อรด แลวปอนคา 0.2 จะปรากฏดังรูปที่ 19.5 (ซาย)

chap-19.PMD

Note

สังเกตุวาเสนตรงทั้งสองเสนที่เราเขียนขึ้นมาอยูในเลเยอร Center ซึ่งเราไดกําหนดใหเลเยอร Center นีเ้ ปนเสนประเซ็นเตอรไลน CENTER แตเนือ่ งจากชิน้ งานมีขนาดเล็กมาก สเกลแฟคเตอรรวมของเสน ประทัง้ หมด(Global linetype scale)ทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาใหมคี า เทากับ 1 ซึง่ เทียบกับขนาดของชิน้ งาน แลวเสนประจึงมีขนาดใหญมาก หากชิน้ งานมีขนาดเล็กมากกวานี้ จะทําใหความถีข่ องเสนประนอยมาก จนกระทั่งอาจจะปรากฏเปนเสนเต็มก็เปนได

Note

ตามทีโ่ ปรแกรมกําหนดให เมือ่ เริม่ แบบแปลนใหม ดวยเพล็ทไฟล Acadiso.dwt โปรแกรมจะโหลดไฟล Acadiso.lin ซึง่ บรรจุรปู แบบเสนประแบบตางๆ จากโฟลเดอร C:\Documents and Settings\User name\ Application Data\Autodesk\AutoCAD 2006\R16.2\enu\Support เสนประ CENTER ทีเ่ รากําลังใชงาน อยูนั้นก็ถูกกําหนดคาเริ่มตนไวในไฟล Acadiso.lin เชนเดียวกัน หากเราเปดไฟล Acadiso.lin ออกมา แลวคนหาเสนประ CENTER จะปรากฏดังรูป ที่ 19.5 (ขวา) เราจะพบวาเสนขีดยาวของเสนประ เซ็นเตอรมคี วามยาวเทากับ 31.75 หนวย นัน่ หมายถึง ถาเรากําหนด LTSCALE = 1 ขีดยาวของเสนประ CENTER จะมีความยาว 31.75 หนวย หากเรากําหนด LTSCALE = 0.2 จะทําใหเสนขีดยาวของเสนประ CENTER มีความยาวเทากับ 31.75x0.2 = 6.35 หนวยบนพื้นที่วาดภาพ

614

13/10/2549, 1:39

แบบฝกหัดที่ 3 งานเขียนแบบเครื่องกล I

615

Note

ในการโหลดเสนประออกมาใชงาน เราจะต องแนใจวาได เลื อกเสนประ CENTER ไมควรเลือก CENTER2 หรือ CENTERX2 เนื่องจากคาที่โปรแกรมกําหนดมาใหมีความยาวครึ่งหนึ่งหรือสองเทา ของเสนประ CENTER หากนําไปใชงานจะมีความยุงยากในการกําหนดสเกล โดยเฉพาะอยางยิ่ง หามมิใหโหลดเสนประ CENTER ไปใชงานรวมกับเสนประอื่นๆ ที่ลงทายดวย ...2 หรือ ...X2 เพราะ เสนประดังกลาวมีสเกลทีแ่ ตกตางกันไมสามารถกําหนด LTSCALE ใหเปลีย่ นแปลงสเกลสัมพันธกนั ได

Note

หากเราตองการตรวจสอบวาหลังจากที่เราไดกําหนด LTSCALE = 0.2 แลว เสนขีดยาวของเสนประ เซ็นเตอรจะมีคาประมาณ 6.35 จริงหรือไม เราสามารถใชคําสั่ง Tools4Inquiry4Distance เพื่อ วัดระยะขีดยาวของเสนประเซ็นเตอร แตเราจะตองปดโหมด # เสียกอน มิฉะนัน้ โปรแกรม อาจจะสแนปเขาที่ปลาย(End point)หรือกลาง(Mid point)เสนซึ่งจะรายงานความยาวไมถูกตอง

16. จากรูปที่ 19.5 (ซาย) สรางเสนคูข นานทีร่ ะยะหาง 21 หนวย โดยใชคําสัง่ Modify4Offset Command: _offset

{จากรูปที่ 19.5 (ซาย) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด}

Current settings: Erase source=No Layer=Source OFFSETGAPTYPE=0

{ปอนระยะหาง 21 หนวย} Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1} Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกตรงจุดที่ 2} Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกขวาหรื อกดปุม Q เพื่ อออกจากคําสั่ง} Specify offset distance or [Through/Erase/Layer] :

17. จากรูปที่ 19.5 (ซาย) เขียนเสนตรงยาว 50 หนวยทํามุมเอียง 202 องศาจากแนวแกน X โดย # อยูใ นสถานะเปด ใชคําสั่ง Draw4Line ใหแนใจวา {เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 3 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย} @50<202 {พิมพคา รีเลทีฟคอรออรดเิ นท @50<202} Specify next point or [Undo]: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q จะปรากฏดังรูปที่ 19.6 (ซาย)} Command: _line Specify first point:

Specify next point or [Undo]:

รูปที่ 19.6

Note

chap-19.PMD

ถาพิจารณารูปที่ 19.1 เราจะเห็นวา ขณะนี้ เราไดจุดตัดซึ่งจะใชเปนจุดศูนยกลางของวงกลมเสนผา ศูนยกลาง 20 หนวยและจุดตัดซึ่งจะใชเปนจุดศูนยกลางของวงกลมรัศ มี 5.5 หนวยซึ่งอยูดานบน แตยงั ขาดจุดตัดซึ่งจะใชเปนจุดศูนยกลางของวงกลมรัศมี 5.5 หนวยซึ่งอยูดานลาง อันทีจ่ ริง เราทราบ ระยะหางและคามุมของจุดศูนยกลางของวงกลมอยูแลวคือ 35 หนวยมุม 202 องศาจากแนวแกน X ดังนั้น เราสามารถเขียนวงกลมตางๆ ดังตอไปนี้

615

13/10/2549, 1:39

616

18. จากรูปที่ 19.6 (ซาย) เริม่ เขียนวงกลม โดยกอนอืน่ เปลีย่ นเลเยอร เลเยอรใชงาน โดยใชคําสัง่ Draw4Circle4Center, Radius

2D Drafting

# อยูใ นสถานะเปด} Specify center point for circle or [3P/2P/Ttr (tan tan radius)]: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร หรือ คลิกซาย } Specify radius of circle or [Diameter]: D {พิมพ D แลวกดปุม  Q เพือ่ กําหนดเสนผาศูนยกลาง} Specify diameter of circle <0.0000>: 10 {พิมพคา เสนผาศูนยกลาง 10 หนวย แลวกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ } Command: _circle

{จากรูปที่ 19.6 (ซาย) ใหแนใจวา

เปน

19. จากรูปที่ 19.6 (ซาย) คลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ หรือใชคาํ สัง่ Draw4Circle4Center, Radius เขียนวงกลมเสนผาศูนยกลาง 20 หนวย โดยมีจดุ ศูนยกลางอยูต รงจุดที่ 1 โดยตามวิธใี นขอ 18 20. จากรูปที่ 19.6 (ซาย) คลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ หรือใชคาํ สัง่ Draw4Circle4Center, Radius เขียนวงกลมเสนผาศูนยกลาง 5.5 หนวย โดยมีจดุ ศูนยกลางอยูต รงจุดที่ 2 โดยตามวิธใี นขอ 18 21. จากรูปที่ 19.6 (ซาย) คลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ หรือใชคําสัง่ Draw4Circle4Center, Radius เขียนวงกลมรัศมี 5.5 หนวย โดยมีจุดศูนยกลางอยูต รงจุดที่ 2 โดยตามวิธีในขอ 18 แตไม ตองเลือกตัวเลือก D เพราะสามารถกําหนดรัศมีไดทนั ที 22. จากรูปที่ 19.6 (ซาย) เขียนวงกลมตอไป โดยใชคําสัง่ Draw4Circle4Center, Radius # อยูใ นสถานะเปด} {คลิกบนปุม (From)} Base point: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร หรือ คลิกซาย } : @35<202 {พิมพคา รีเลทีฟคอรออรดเิ นท @35<202} Specify radius of circle or [Diameter]: D {พิมพ D แลวกดปุม  Q เพือ่ กําหนดเสนผาศูนยกลาง} Specify diameter of circle <0.0000>: 5.5 {พิมพคา เสนผาศูนยกลาง 5.5 หนวย แลวกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ } Command: _circle

{จากรูปที่ 19.6 (ซาย) ใหแนใจวา

Specify center point for circle or [3P/2P/Ttr (tan tan radius)]:

23. เปดโหมดแสดงความหนาเสนบนพืน้ ทีว่ าดภาพ โดยคลิกบนปุม จะปรากฏดังรูปที่ 19.6 (ขวา)

บนบรรทัดแสดงสถานะ

24. จากรูปที่ 19.6 (ขวา) คลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ หรือใชคําสัง่ Draw4Circle4Center, Radius เมือ่ ปรากฏขอความ Specify center point for circle เลือ่ นเคอรเซอรไปบนเสนจุดที่ 3 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย เมือ่ ปรากฏขอความ Specify radius of circle or [Diameter]: พิมพคา รัศมี 5.5 หนวย จะปรากฏดังรูปที่ 19.7 (ซาย) รูปที่ 19.7

25. จากรูปที่ 19.7 (ซาย) เขียนเสนตรงสัมผัสสวนโคง โดยใชคําสัง่ Draw4Line

chap-19.PMD

616

13/10/2549, 1:39

แบบฝกหัดที่ 3 งานเขียนแบบเครื่องกล I

617

{คลิกบนปุม (Tangent) หรือกดปุม S แลวคลิกขวา เลือก Tangent แลวคลิกซาย เมือ่ ปรากฏมารคเกอร ตรงจุดที่ 1 } (Tangent) แลวคลิกซาย เมือ่ ปรากฏมารคเกอร Specify next point or [Undo]: {คลิกบนปุม  ตรงจุดที่ 2 } Specify next point or [Undo]: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ } Command: _line Specify first point:

26. จากรูปที่ 19.7 (ซาย) คลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ LINE เขียนเสนตรงสัมผัสสวนโคง ตามวิธใี นขอ 24 โดยใชออฟเจกทสแนป (Tangent) กับจุดที่ 3 และใชออฟเจกทสแนป (Tangent) กับจุดที่ 4 แลวคลิกขวา เพื่อออกจากคําสั่ง 27. จากรูปที่ 19.7 (ซาย) คลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ LINE เขียนเสนตรงสัมผัสสวนโคง ตามวิธใี นขอ 24 โดยใชออฟเจกทสแนป (Tangent) กับจุดที่ 5 และใชออฟเจกทสแนป (Tangent) กับจุดที่ 6 แลวคลิกขวา เพื่อออกจากคําสั่ง 28. จากรูปที่ 19.7 (ซาย) คลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ LINE เขียนเสนตรงสัมผัสสวนโคง ตามวิธใี นขอ 24 โดยใชออฟเจกทสแนป (Tangent) กับจุดที่ 7 และใชออฟเจกทสแนป (Tangent) กับจุดที่ 8 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 19.7 (ขวา) 29. จากรูปที่ 19.7 (ขวา) ตัดเสนทีไ่ มตอ งการ โดยใชคําสัง่ Modify4Trim Command: _trim

{จากรูปที่ 19.7 (ขวา) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด}

Current settings: Projection=UCS, Edge=None

{เลือกขอบตัด} Select objects or <select all>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 9, 10, 11 และ 12 เพือ ่ ใชเปนขอบตัด} Select objects: {คลิกขวาหรือ Q เพือ ่ ออกจากโหมดการเลือกขอบตัด} Select cutting edges ...

Select object to trim or shift-select to extend or [Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]:

{คลิกบนเสนตรงจุดที่ 13 และ 14}

Select object to trim or shift-select to extend or [Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]:

จะปรากฏดังรูปที่ 19.8 (ซาย) }

{คลิกขวาหรือ Q เพื่อออกจากคําสัง่

รูปที่ 19.8

30. จากรูปที่ 19.8 (ซาย) ขยายภาพ โดยใชคําสัง่ View4Zoom4Window และ 2 จะปรากฏดังรูปที่ 19.8 (ขวา)

แลวคลิกจุดที่ 1

31. จากรูปที่ 19.8 (ขวา) สรางสวนโคงฟลเลท โดยไมตดั (Trim)เสน โดยใชคําสัง่ Modify4Fillet

chap-19.PMD

617

13/10/2549, 1:39

618 Command: _fillet

{จากรูปที่ 19.8 (ขวา) ใหแนใจวา

# อยูใ นสถานะปด}

Current settings: Mode = TRIM, Radius = 0.0000 Select first object or [Undo/Polyline/Radius/Trim/Multiple]:

เพือ่ เปลีย่ นโหมดในการตัดเสน} Enter Trim mode option [Trim/No trim] :

โหมดไมตดั เสน}

2D Drafting

T {ใหพมิ พ T เพือ่ เลือก Trim

N {ใหพมิ พ N เพือ่ เลือก No trim เพือ่ เปลีย่ น

{คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1 } {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 2 } Select first object or [Undo/Polyline/Radius/Trim/Multiple]: R {ใหพม ิ พ R เพือ่ เลือก Radius เพือ่ กําหนดรัศมี} Specify fillet radius <0.000>: 7.5 {ใหพม ิ พคา รัศมี 7.5 } Select first object or [Undo/Polyline/Radius/Trim/Multiple]: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 3 } Select second object or shift-select to apply corner: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 4 จะปรากฏ ดังรูปที่ 19.9 (ซาย)} Select first object or [Undo/Polyline/Radius/Trim/Multiple]: Select second object or shift-select to apply corner:

รูปที่ 19.9

32. จากรูปที่ 19.9 (ซาย) ตัดเสนตรงออกเปน 2 สวน โดยใชคาํ สัง่ Modify4Break ปุม ไอคอน (Break at point) Command: _break Select object:

เปด แลวคลิกบนเสนตรงจุดที่ 1}

{จากรูปที่ 19.9 (ซาย) ใหแนใจวา

หรือคลิกบน

# อยูใ นสถานะ

{พิมพ F เพือ่ กําหนดจุดเริม่ ตัดใหม} {เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย } Specify second break point: @ {พิมพ @ เพือ ่ ใชจดุ เริม่ ตัดกับจุดสิน้ สุดการตัดเปนจุดเดียวกัน} Specify second break point or [First point]: _f

Specify first break point:

33. จากรูปที่ 19.9 (ซาย) ตัดเสนตรงตอไป โดยคลิกขวาเพื่อทําซ้ําคําสัง่ BREAK หรือคลิกบนปุม ไอคอน (Break at point) ตามวิธีในขอ 32 แลวแทนที่จดุ ที่ 1 ดวยจุดที่ 3 และแทนทีจ่ ุดที่ 2 ดวยจุดที่ 4 จะปรากฏดังรูปที่ 19.9 (ขวา) ซึง่ เราจะไมเห็นการเปลีย่ นแปลงใดๆ Note

chap-19.PMD

หลังจากตัดเสนแลว เราจะไมเห็นสิ่งใดเปลี่ยนแปลงบนเสนที่ถูกตัด เนื่องจากเสนถูกแบงออกเปน 2 เสนติดตอกัน เราสามารถตรวจสอบได โดยคลิกใหปรากฏจุดกริ๊ปส แลวกดปุม D

618

13/10/2549, 1:39

619

แบบฝกหัดที่ 3 งานเขียนแบบเครื่องกล I

34. จากรูปที่ 19.9 (ขวา) เปลี่ยนเลเยอรใหกบั เสน โดยในขณะที่บรรทัด Command: ไมปรากฏ คําสัง่ ใดๆ คลิกบนเสนจุดที่ 5 และคลิกบนเสนจุดที่ 6 ใหปรากฏจุดกริป๊ สสนี ้ําเงิน เลือกเลเยอร จากแถบรายการควบคุมเลเยอร ในขณะทีย่ งั คงปรากฏจุดกริป๊ สของ เสนตรงทัง้ สอง แลวคลิกแถบรายการควบคุมรูปแบบเสนประ ใหเลือกเสนเต็ม Continuousจาก แถบรายการ เพือ่ เปลีย่ นคุณสมบัตเิ สนใหกลายเปนเสนเต็ม โดย ไมใชคณ ุ สมบัตเิ สนประทีก่ าํ หนดไวในเลเยอร Center แลวกดปุม D เพือ่ ยกเลิกการเลือกวัตถุ 35. จากรูปที่ 19.9 (ขวา) ลดความยาวเสน โดยใชคําสัง่ Modify4Lengthen #} DE {พิมพตวั เลือก DE เพือ่ เลือก DElta} Enter delta length or [Angle] <0.0000>: -2 {กําหนดคา -2 แลวกดปุม  Q} Select an object to change or [Undo]: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 5, 6, 7 และ 8} Select an object to change or [Undo]: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏ ดังรูปที่ 19.10 (ซาย)} Command: _lengthen

{จากรูปที่ 19.9 (ขวา) ปด

Select an object or [DElta/Percent/Total/DYnamic]:

รูปที่ 19.10

36. กลับไปยังจอภาพเดิม โดยใชคาํ สัง่ View4Zoom4Previous

จะปรากฏดังรูปที่ 19.10 (ขวา)

37. จากรูปที่ 19.10 (ขวา) คัดลอกเสนประเซ็นเตอรและหมุน 90 องศา โดยใชคาํ สัง่ Modify4Rotate Command: _rotate

{จากรูปที่ 19.10 (ขวา) ใหแนใจวา

# อยูใ นสถานะเปด}

Current positive angle in UCS: ANGDIR=counterclockwise ANGBASE=0

{คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1 } Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ} Specify base point: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร ใหคลิกซาย } Specify rotation angle or [Copy/Reference] <0>: C {ใหพม ิ พ C เพือ่ เลือก Copy} Rotating a copy of the selected objects. {หมุนวัตถุทถ ี่ กู เลือกพรอมกับคัดลอกวัตถุดว ย} Specify rotation angle or [Copy/Reference] <0>: 90 {ใหพม ิ พคา มุม 90 องศา จะปรากฏ ดังรูปที่ 19.11 (ซาย)} Select objects: 1 found

38. จากรูปที่ 19.11 (ซาย) ตัดเสนประเซ็นเตอร โดยใชคําสัง่ Modify4Break ปดโหมด # แลวคลิกเสนตรงจุดที่ 1 และคลิกจุดที่ 2 คลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ BREAK คลิกเสนจุดที่ 3 คลิกจุดที่ 4 คลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ BREAK คลิกเสนจุดที่ 5 คลิกจุดที่ 6 คลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ BREAK คลิกเสนจุดที่ 7 คลิกจุดที่ 8 คลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ BREAK คลิกเสนจุดที่ 9 คลิกจุดที่ 10 คลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ BREAK คลิกเสนจุดที12 ่ คลิกจุดที่11 คลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ BREAK คลิกเสนจุดที่ 13 คลิกจุดที่ 14 จะปรากฏดังรูปที่19.11 (ขวา)

chap-19.PMD

619

13/10/2549, 1:39

620 รูปที่ 19.11

2D Drafting

39. จากรูปที่ 19.11 (ขวา) เริม่ เขียนเสนบอกขนาดลงบนชิน้ งานในโมเดลสเปสโดยตรง โดยใหแนใจ วา เปนไดเมนชัน่ สไตลใชงาน แลวเปลีย่ นเลเยอร เปน เลเยอรใชงาน แลวใชคําสัง่ Dimension4Radius {จากรูปที่ 19.11 (ขวา) ปด # } {คลิกบนสวนโคงตรงจุดที่ 15} Dimension text = 5.5 {โปรแกรมรายงานคาตัวเลขบอกขนาด} Specify dimension line location or [Mtext/Text/Angle]: {คลิกบนพืน ้ ทีว่ างตรงจุดที่ 16 เพือ่ กําหนดตําแหนงตัวเลขบอกขนาด จะปรากฏดังรูปที่ 19.12 (ซาย)}

Command: _dimradius Select arc or circle:

รูปที่ 19.12

Note

จากรูปที่ 19.12 เนื่องจากในไดเมนชั่นสไตลมีการกําหนด Use overall scale of ไวเทากับ 1 ดังนั้น ตัวเลขบอกขนาดและหัวลูกศรจึ งปรากฏมี ขนาดความสูงเท ากับ 2.5 หน วยบนพื้ นวาดภาพพอดี แตความสูง 2.5 นั้นใหญเกินไปไมเหมาะสมกับขนาดของชิ้นงาน ดังนั้น เราจะตองปรับลดสเกล แฟคเตอรใน Use overall scale of ใหเหลือประมาณ 60 เปอรเซนตจากขนาดเดิม เราสามารถกําหนดคา Use overall scale of ใหเหลือ 0.6 การกําหนดสเกลแฟคเตอรของไดเมนชัน่ สไตลนี้เปนการกําหนดไว ชัว่ คราว เพราะเรายังไมทราบวาจะใชมาตราสวนวิวพอรทเทาใดจึงจะเหมาะสมกับกระดาษเลเอาทใน เปเปอรสเปส เราจึงยังไมสามารถคํานวณสเกลแฟคเตอรที่จะนํามากําหนดใน Use overall scale of

40. ปรับสเกลแฟคเตอรของเสนบอกขนาด โดยใชคาํ สัง่ Format4Dimension Style เลือกสไตล Mechanical แลวคลิกปุม Modify คลิกแถบคําสัง่ Fit ปอนคา 0.6 ในอิดิทบอกซ Use overall scale of แลวคลิกบนปุม OK และ Close ตามลําดับ ตัวเลขบอกขนาดและหัวลูกศรจะมีขนาด เล็กลงเหมาะสมกับขนาดของชิน้ งานดังรูปที่ 19.12 (ขวา)

chap-19.PMD

620

13/10/2549, 1:39

แบบฝกหัดที่ 3 งานเขียนแบบเครื่องกล I

621

41. เขียนเสนบอกขนาดแบบรัศมีลงบนชิน้ งานตอไป โดยใชคําสัง่ Dimension4Radius ตาม วิธีในขอ 39 โดยดูตําแหนงของเสนบอกขนาดจากรูปที่ 19.1 ใหปราดังรูปที่ 19.13 (ซาย) รูปที่ 19.13

42. จากรูปที่ 19.13 (ซาย) เขียนเซ็นเตอรมารค โดยใชคําสัง่ Dimension4Center Mark ปรากฏขอความ Select arc or circle: คลิกบนสวนโคงตรงจุดที่ 1 Note

เมือ่

หากเราใชคําสัง่ นีแ้ ลวปรากฏเปนเซ็นเตอรไลน(Center line)แทนที่เซ็นเตอรมารค เราสามารถใชคําสัง่ Format4Dimension Style เลือกสไตล Mechanical แลวคลิกปุม Modify คลิกแถบคําสัง่ Symbol and Arrow เปลี่ยนปุมเรดิโอจาก Line เปนปุมเรดิโอ Mark

43. จากรูปที่ 19.13 (ซาย) แกไขตัวเลขบอกขนาดใหแสดงเครือ่ งหมายเสนผาศูนยกลางและแกไข คาตัวเลขใหเปนเสนผาศูนยกลาง โดยใชคําสั่ง Modify4Object4Text4Edit หรือพิมพ คําสัง่ ยอ ED จะปรากฏขอความ Select an annotation object or [Undo]: คลิกบนตัวเลขบอก ขนาดตรงจุดที่ 2 แลวคลิกขวาบนตัวเลขบอกขนาด จะปรากฏช็อทคัทเมนู ใหเลือกคําสัง่ Symbol 4Diameter เครือ ่ งหมาย จะถูกสอดแทรก แลวพิมพคา 20 เขาไปแทนที่ แลวคลิกบนตัวเลข บอกขนาดตรงจุดที่ 3 แลวคลิกขวาบนตัวเลขบอกขนาด จะปรากฏช็อทคัทเมนู ใหเลือกคําสัง่ Symbol4Diameter เครือ่ งหมาย จะถูกสอดแทรก แลวพิมพคา 10 เขาไปแทนที่ จะปรากฏ ดังรูปที่ 19.13 (ขวา) 44. จากรูปที่ 19.13 (ขวา) เขียนเสนลีดเดอรไลน โดยใชคําสัง่ Dimension4Leader Command: _qleader

{จากรูปที่ 19.13 (ขวา}

{คลิกบนปุม (Nearest) หรือกดปุม S คางไวแลวคลิกขวา เลือกออฟเจกทสแนป Nearest แลวเลือ่ นเคอรเซอรไปบนเสนตรงจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย } Specify next point: {ปด # แลวคลิกพืน้ ทีว่ า งจุดที่ 5} Specify next point: {เปด * แลวคลิกพืน้ ทีว่ า งจุดที่ 6} Specify text width <0>: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ยอมรับคาความกวางของตัวอักษร} Enter first line of annotation text <Mtext>: {พิมพ 5.5 Drill 2 Holes แลวกดปุม  Q} Enter next line of annotation text: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏ ดังรูปที่ 19.14 (ซาย)} Specify first leader point, or [Settings] <Settings>:

45. จากรูปที่ 19.14 (ซาย) เขียนเสนบอกขนาดแบบเอียงตามระนาบที่ใหขนาด โดยใชคําสั่ง Dimension4Aligned (สามารถใชแทนคําสัง่ Dimension4Linear ได)

chap-19.PMD

621

13/10/2549, 1:39

622 รูปที่ 19.14

2D Drafting

Command: _dimaligned

{จากรูปที่ 19.14 (ซาย) เปดโหมด

Specify first extension line origin or <select object>:

เมือ่ ปรากฏมารคเกอร

คลิกซาย }

#} {เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 1

{เลือนเคอร ่ เซอรไปยังจุดที่ 2 เมือปรากฏมาร ่ คเกอร คลิกซาย } # คลิกจุดที่ 3} {ปด Dimension text = 21 {โปรแกรมรายงานคาตัวเลขบอกขนาด} Specify second extension line origin:

Specify dimension line location or [Mtext/Text/Angle]:

Note

เนือ่ งจากจุดที่ 1, 2 และ 4 มีเสนบอกขนาดแบบรัศมีทับซอนจุดตัดของเสนเซ็นเตอรไลนทเี่ ราตองการ กําหนดตําแหนงเสนบอกขนาด หากเราใชออฟเจกทสแนป Intersect เสนบอกขนาดทีไ่ ดจะไมยดึ ติด กับชิ้ นงาน ซึ่ งจะปรากฏขอความ Non-associative dimension created. เราจึงตองเปลี่ ยนไปใช ออฟเจกทสแนป Center แทน เพื่อทําใหเสนบอกขนาดยึดติดกับชิ้นงานเสมอ

Note

หากเลื่อนเคอรเซอรไปบนจุดที่ 1 หรือ 2 หรือ 4 แตไมปรากฏออฟเจกทสแนป Center เราสามารถ คลิกบนปุม (Center) แลวเลือ่ นเคอรเซอรไปบนสวนโคงของวงกลมซึง่ มีจุดศูนยกลางอยูต รงจุดที่ 1 หรือ 2 หรือ 4 เพื่อเรียกออฟเจกทสแนป Center ออกมาใชงานดวยตนเอง

46. จากรูปที่ 19.14 (ซาย) คลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ Dimension4Aligned ตามวิธใี นขอ 45 เลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 2 เมื่อปรากฏมารคเกอร คลิกซาย เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย ปด # แลวคลิกจุดที่ 5 เพือ่ กําหนดตําแหนง 47. จากรูปที่ 19.14 (ซาย) เขียนเสนบอกขนาดเชิงมุม โดยใชคําสัง่ Dimension4Angular {จากรูปที่ 19.14 (ซาย) ปดโหมด # } Select arc, circle, line, or <specify vertex>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 6 } Select second line: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 7 } Specify dimension arc line location or [Mtext/Text/Angle]: {คลิกจุดที่ 8} Dimension text = 22 {โปรแกรมรายงานคามุมตัวเลขบอกขนาด จะปรากฏดังรูปที่ 19.14 (ขวา)} Command: _dimangular

48. จากรูปที่ 19.14 (ขวา) เราจะสังเกตุเห็นวา สวนตอ(Extension lines)ของเสนบอกขนาดซอนทับ เสนประเซ็นเตอรไลน ดังนัน้ เราจะตองซอนสวนตอของเสนบอกขนาด โดยเรียกคําสัง่ Modify4 Properties แลวคลิกบนเสนบอกขนาดจุดที่ 9 ใหปรากฏจุดกริ๊ปสสนี ้ําเงิน คลิกบน ของหัวขอ Line & Arrows แลวเลือก Off จากแถบรายการ Ext Line 1 และเลือก Off จาก แถบรายการ Ext Line 2 แลวกดปุม D เพือ่ ยกเลิกการเลือก เสนตอเสนบอกขนาดจะถูกซอน

chap-19.PMD

622

13/10/2549, 1:39

แบบฝกหัดที่ 3 งานเขียนแบบเครื่องกล I

623

49. จากรูปที่ 19.14 (ขวา) ซอนเสนสวน ตอของเสนบอกขนาด โดยในขณะที่ ยั งคงปรากฏหน าต าง Properties คลิกบนเส นบอกขนาดจุดที่ 10 ให ปรากฏจุดกริ๊ปสสนี ้ําเงิน ใหเลือก Off จากแถบรายการ Ext Line 1 ในหัวขอ Line & Arrows แลวกดปุม D เพือ่ ยกเลิ กการเลื อก แล ว ป ดหน าต าง Properties

รูปที่ 19.15

50. จากรูปที่ 19.14 (ขวา) ตอเสนประ เซ็นเตอร ให ยาวไปถึงปลายสวนตอ ของเส น บอกขนาดเชิ ง มุ ม โดยใน ขณะทีบ่ รรทัด Command: ไมปรากฏ คําสั่งใดๆ คลิกบนเสนประเซ็นเตอร # อยู ตรงจุดที่ 11 จน กระทั่งเสนประเซ็นเตอรปรากฏจุดกริป๊ สสนี ้ําเงิน ใหแนใจวา ในสถานะเปด แลวเปดโหมด * คลิกจุดกริ๊ปสที่อยูใกลกบั จุดที่ 11 เลื่อนเคอรเซอร

ไปยังจุดที่ 12 เมื่อปรากฏมารคเกอร ใหคลิกซาย จะปรากฏดังรูปที่ 19.15 สังเกตุวาสวนตอ (Extension lines)ของเสนบอกขนาดเชิงมุมที่ซอนทับกับเสนเซ็นเตอรไลนจะถูกซอนโดยอัตโนมัติ 51. สรางเลเยอรใหมคอื เลเยอร Text โดยใชคําสัง่ Format4 Layer

จะปรากฏไดอะล็อค Layer New Layer เมือ่ ปรากฏแถบสีนา้ํ เงินบนชือ่ Layer1 Properties Managers ใหคลิกบนปุม ใหตงั้ ชื่อเลเยอร Text คลิกบนตลับสีของเลเยอร Text เมื่อปรากฏไดอะล็อค Select Color พิมพรหัสสี 6 หรือ Magenta (สีมว ง) เขาไปในอิดิทบอกซ Color แลวคลิกปุม OK คลิกบน Lineweight ของเลเยอร Text เลือกความหนาเสน 0.18 mm กําหนดใหเลเยอร Text เปนเลเยอร ใชงาน โดยคลิกชือ่ เลเยอร Text แลวคลิกบนปุม Set Current แลวคลิกปุม Apply และ OK

52. จากรูปที่ 19.15 เขียนตัวอักษร โดยใหแนใจวาสไตลตัวอักษรใชงาน ปรากฏในแถบ รายการควบคุมสไตลตัวอักษร ใหแนใจวา เปนเลเยอรใชงาน เริ่มเขียน ตัวอักษร โดยใชคําสัง่ Draw4Text4Single Line Text Command: _dtext

{จากรูปที่ 19.15 ปดโหมด

# }

Current text style: "Simplex" Text height: 2.5000

J {พิมพ J เพือ่ เลือก Justify จัดตัวอักษรชิดซายขวา} MC {พิมพ MC เพือ่ เลือกจัดตัวอักษรชิดกลางทัง้ ในแนวนอนและในแนวตัง้ } Specify middle point of text: {คลิกจุดที่ 1 เพือ ่ กําหนดตําแหนงจุดสอดแทรกของตัวอักษร} Specify height <2.5000>: 2 {กําหนดคาความสูง 2 หนวย} Specify rotation angle of text <0>: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q} BELL CRANK {ใหพมิ พ BELL CRANK แลวกดปุม Q สองครัง้ จะปรากฏดังรูปที่ 19.16 (ซาย)} Specify start point of text or [Justify/Style]:

Enter an option [Align/Fit/Center/Middle/Right/TL/TC/TR/ML/MC/MR/BL/BC/BR]:

Note

chap-19.PMD

เนือ่ งจากตัวอักษรอยูในโมเดลสเปส ความสูง 2 หนวยทีก่ ําหนดใหกบั ตัวอักษรไมใชความสูงจริงทีจ่ ะ พิมพลงกระดาษ เพราะความสูงของตัวอักษรจะขึ้นอยูกับสเกลของวิวพอรทในเลเอาทเปเปอรสเปส ซึ่งเรายังไมทราบวาเทาใด หลังจากที่กําหนดสเกลใหกับวิวพอรท เราจะสามารถแกไขความสูงของ ตัวอักษรได ดังนั้น ความสูงที่กําหนดนี้ จึงเปนความสูงที่กําหนดไวชวั่ คราวเทานั้น

623

13/10/2549, 1:39

624

2D Drafting

รูปที่ 19.16

Note

เปนอันวาเราไดเขียนชิน้ งาน เสนบอกขนาดและตัวอักษรในโมเดลสเปสเรียบรอยแลว ตอไปเราจะเริม่ จัดหนากระดาษ 2 แผนโดยใชเลเอาท ISO-A4-MM และเลเอาท ISO-A3-MM ซึ่งเราไดสรางเก็บไวใน บทที่ 17 เขามาใชในการจัดหนากระดาษ

หรือแถบ 53. เริม่ นําตารางรายการแบบ ISO-A4-MM เขามาใชงาน โดยคลิกขวาบนแถบ หรือแถบ แลวเลือกคําสัง่ From Tempate จากช็อทคัทเมนู จะปรากฏ ไดอะล็อค Select Template From File ใหคน หาเทมเพล็ทไฟล MySheetSetTemplate.dwt ซึง่ เรา ไดบันทึกไวในแบบฝกหัดในบทที่ 17 คลิกชือ่ ไฟล แลวคลิกบนปุม Open จะปรากฏไดอะล็อค ดังรูปที่ 19.16 (ขวา) ใหเลือก ISO-A4-MM แลวคลิกบนปุม OK 54. ลบเลเอาท โดยคลิกขวาบนเลเอาท ตอไป โดยคลิกขวาบนเลเอาท ปรากฏ

เลือกคําสัง่ Delete คลิกบนปุม OK ลบเลเอาท เลือกคําสัง่ Delete คลิกบนปุม OK แถบเลเอาทจะ

55. คลิกบนเลเอาท ISO-A4-MM เพือ่ กําหนดใหเปนเลเอาท ใชงาน จะปรากฏดังรูปที่ 19.17 (ซาย) รูปที่ 19.17

Note

chap-19.PMD

ทดลองเลื่อนเคอรเซอรไปตรงกลางของพืน้ ทีว่ างของตารางรายการแบบ แลวทดลองดับเบิล้ คลิก หาก มีการสรางวิวพอรทมากอน เสนกรอบของวิวพอรทจะเปลีย่ นเปนเสนหนาทึบ เมื่อเมื่อทดลองดับเบิ้ล คลิกแลวไมมสี งิ่ ใดเปลีย่ นแปลง แสดงวาทัง้ ตารางรายการแบบ ISO-A4-MM มิไดมกี ารสรางวิวพอรท ไวกอน ซึ่งเราก็ทราบดีอยูแลว จึงยังไมปรากฏชิ้นงานบนตารางรายการแบบ เหตุที่เราตองทดลอง ดับเบิ้ลคลิกบนพื้นที่วางในตารางรายการแบบก็เพื่อใหแนใจวาเราจะไมสรางวิวพอรทใหมเซอนทับ วิวพอรทที่มีอยูแลว เราจะตองจําไวเสมอวาหามมิใหสรางวิวพอรทซอนทับวิวพอรท

624

13/10/2549, 1:39

แบบฝกหัดที่ 3 งานเขียนแบบเครื่องกล I

625

56. สรางเลเยอรใหมคือเลเยอร Viewport โดยใชคําสัง่ Format4 Layer จะปรากฏไดอะล็อค New Layer เมือ่ ปรากฏแถบสีน้ําเงินบนชือ่ Layer Properties Managers ใหคลิกบนปุม Layer1 ใหตงั้ ชือ่ เลเยอร Viewport คลิกบนตลับสีของเลเยอร Viewport เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Select Color พิมพรหัสสี 4 หรือ Cyan (สีฟา แกมเขียว) เขาไปในอิดทิ บอกซ Color แลวคลิกปุม OK กําหนดสถานะไมพมิ พ โดยคลิกบนไอคอนเครือ่ งพิมพใหปรากฏ แลวกําหนดใหเลเยอร Viewport เปนเลเยอรใชงาน โดยคลิกชือ่ เลเยอร Viewport แลวคลิกบนปุม Set Current แลวคลิก ปุม Apply และ OK Note

อันทีจ่ ริง ถึงแมวา เราจะกําหนดสีใหกบั เลเยอร Viewport สีจะไมมผี ลตอการพิมพ เนือ่ งจากเราไดกําหนด สถานะไมพิมพใหกับเลเยอรนี้ไว แตการกําหนดสีที่แตกตางจะมีประโยชนอยูบางคือชวยใหเรามอง เห็นเสนกรอบวิวพอรทอยางชัดเจน อยางไรก็ตาม เราจะตองแชแข็ง(Freeze)วิวพอรทนี้ เมือ่ เขียนแบบ แปลนเสร็จเรียบรอยแลว เพือ่ บันทึกแบบแปลนลงดิสค

57. จากรูปที่ 19.17 (ซาย) สรางวิวพอรท โดยกอนอื่น ใหแนใจวา เปนเลเยอรใชงาน แลวใชคําสั่ง View4Viewports41 Viewport เมือ่ ปรากฏขอความ Specify corner of viewport... ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด คลิกจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏ ขอความ Specify opposite corner คลิกจุดที่ 2 จะปรากฏวิวพอรทดังรูปที่ 19.17 (ขวา) 58. จากรูปที่ 19.17 (ขวา) เริม่ กําหนดสเกลใหกบั วิวพอรท แตกอ นอืน่ เราควรปรับขนาดชิน้ งานให ปรากฏมีขนาดที่เหมาะสมกับกระดาษเลเอาทเสียกอน โดยเขาสูโหมดฟลอสติ้งโมเดลสเปส โดยคลิกปุม บนบรรทัดแสดงสถานะหรือดับเบิล้ คลิกภายในขอบเขตวิวพอรท แลวใช คําสัง่ View4Zoom4Realtime และคําสัง่ View4Pan4Real Time ปรับขนาดและตําแหนง ชิน้ งานใหมขี นาดเหมาะสมกับกระดาษ กลับสูโ หมดเลเอาทเปเปอรสเปส โดยคลิกปุม บนบรรทัดแสดงสถานะหรือดับเบิล้ คลิกนอกขอบเขตวิวพอรท จะปรากฏดังรูปที่ 19.18 (ซาย) รูปที่ 19.18

59. จากรูปที่ 19.18 (ซาย) ตรวจสอบสเกลปจจุบนั ของวิวพอรท โดยใชคําสัง่ Express4Layout tools4List Viewport Scale จะปรากฏขอความ Select objects คลิกเสนกรอบวิวพอรทจุดที่ 1 โปรแกรมจะรายงานสเกลปจจุบนั ของวิวพอรทคือ PS:MS == 2.0582:1 ดังนัน้ เราก็จะทราบวา สเกลทีเ่ หมาะสมและใกลเคียงทีส่ ดุ ของวิวพอรทคือ 2:1 60. จากรูปที่ 19.18 (ซาย) เริม่ กําหนดสเกลใหกับวิวพอรท โดยใชคําสัง่ Modify4Properties จะปรากฏหนาตาง Properties ดังรูปที่ 19.18 (ขวา) ในขณะทีบ่ รรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ ใหคลิกเสนกรอบวิวพอรทตรงจุดที่ 1 แถบรายการบนหนาตาง Properties จะปรากฏ Viewport และจะปรากฏรายละเอียดของวิวพอรทบนหนาตาง Properties เลือกสเกล 2:1 จาก แถบรายการ Standard scale ขนาดของชิ้นงานในวิวพอรทจะเปลีย่ นแปลงเล็กนอย เมือ่ ปรับ สเกลวิวพอรทเรียบรอยแลว ล็อควิวพอรท โดยเลือก Yes จากแถบรายการ Display Locked เพือ่ ปองกันมิใหววิ พอรทเปลีย่ นสเกล หากมีการใชคําสัง่ ZOOM ในโหมดฟลอสติง้ โมเดลสเปส แลวกดปุม D เพือ่ ยกเลิกการเลือกวิวพอรท จะปรากฏดังรูปที่ 19.19 (ซาย)

chap-19.PMD

625

13/10/2549, 1:39

626

Note

ในการเลือกเสนกรอบวิวพอรทบางครัง้ เราอาจจะคลิกพลาดไปโดนเสนกรอบของตารางรายการแบบซึง่ ซอนทับอยูในแนวเดียวกันกับ เสนกรอบวิวพอรท เราจึงไมสามารถเลือกเสนกรอบวิวพอรท ได ในการเลือกวิวพอรททีซ่ อ นทับกับวัตถุอนื่ มีอยู 3 วิธคี อื วิธที ี่ (1) ใหกดปุม E คางไวแลว คลิกซายบน เสนกรอบวิวพอรท หากเสนกรอบวิวพอรทยังไมปรากฏเปนเสนประ อยาปลอยปุม E ใหคลิกซาย ตอไปจนกระทั่งเสนกรอบวิวพอรทเปนเสนประ แลวกดปุม Q เสนกรอบวิวพอรทก็จะถูกเลือก วิธีที่ (2) ใชคําสั่ง Tools4Quick Select แลวกําหนดให Apply to = Entire drawing, Objec type = Viewport, Operator = Select All, How to apply = Include in new selection set แลวคลิกบนปุม OK เสนกรอบวิวพอรทจะถูกเลือก วิธที ี่ (3) ในขณะทีบ่ รรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ คลิกเพือ่ ลอมกรอบวัตถุทงั้ หมดทีป่ รากฏบนพื้นทีว่ าดภาพแบบ Window หรือแบบ Crossing โดยไมตอ งสนใจ วามีวตั ถุใดบางถูกเลือก แตขอใหแนใจวาวิวพอรทถูกเลือกไปดวย แลวใชคําสั่ง Modify4Properties เลือก Viewport (1) จากแถบรายการของหนาตาง Properties

2D Drafting

รูปที่ 19.19

61. ปรับสเกลเสนประใหม โดยพิมพ LTS หรือ LTSCALE ผานบรรทัด Command: แลวกําหนดคา 0.314 เสนขีดยาวของเสนประเซ็นเตอรจะมีความยาวประมาณ 10 มิลลิเมตรพอดี จะปรากฏ ดังรูปที่ 18.78 (ซาย) Note

คา 0.314 เปนคามาตรฐานซึ่งจะทําใหขดี ยาวของเสนประเซ็นเตอรมีคา เทากับ 10 หนวย เนือ่ งจากเสน ขีดยาวคาที่ระบุในไฟล Acadiso.lin มีคาเทากับ 31.75 หนวย หากตองการใหเสนขีดยาวของเสนประ CENTER ปรากฏมีความยาว 10 หนวยหรือ 10 มิลลิเมตร เราสามารถนํา 10 ตั้งแลวหารดวย 31.75 ซึ่ง จะมีคาเทากับ 0.314 นั่นเอง

62. ปรับตัวเลขบอกขนาดใหพมิ พลงบนกระดาษแลวมีความสูงเทากับ 2.5 มิลลิเมตร โดยกอนอืน่ คํานวณคาสเกลแฟคเตอรของเสนบอกขนาดสําหรับมาตราสวน 2:1 ตามสูตรในหัวขอ 8.24.1 Overall scale = Textsize/(Scale factor*2.5) เมือ่ แทนคาสูตร 2.5/(2*2.5) เราจะได Overall scale =0.5 เราสามารถนําคานีไ้ ปกําหนดใน Use overall scale of ไดทนั ที 63. เขาสูโหมดเขาสูโหมดฟลอสติ้งโมเดลสเปส โดยคลิกปุม บนบรรทัดแสดงสถานะหรือ ดับเบิ้ลคลิกภายในขอบเขตวิวพอรท เริม่ ปรับสเกลแฟคเตอรของเสนบอกขนาด โดยใชคําสัง่ Format4Dimension Style เลือกสไตล Mechanical แลวคลิกปุม Modify คลิกแถบคําสัง่ Fit ปอนคา 0.5 ซึง่ คํานวณไดจากขอ 62 ในอิดทิ บอกซ Use overall scale of แลวคลิกบนปุม OK และ Close ตามลําดับ ตัวเลขบอกขนาดและหัวลูกศรจะปรับตัวมีขนาด 2.5 มิลลิเมตรโดย อัตโนมัติ จะปรากฏดังรูปที่ 19.20 (ซาย) Note

chap-19.PMD

หากเสนบอกขนาดไมปรับตัวโดยอัตโนมัติ เนือ่ งจากเราไมไดเขาไปอยูใ นโหมดฟลอสติง้ โมเดลสเปส เราจะตองใชคําสั่ง Dimension4Update แลวเลือกเสนบอกขนาดทั้งหมด แลวคลิกขวา

626

13/10/2549, 1:39

แบบฝกหัดที่ 3 งานเขียนแบบเครื่องกล I Note

627

อันที่จริง เราไมจําเปนที่จะตองคํานวณ Overall scale ของเสนบอกขนาดก็ได เราสามารถใชคําสั่ง Format4Dimension Style เลือกสไตล Mechanical แลวคลิกปุม Modify คลิกแถบคําสั่ง Fit แลวเลือกปุม เรดิโอ Scale dimensions to layout จะคอนขางสะดวกกวา เพราะไมตอ งเสียเวลาคํานวณ Overall scale เหตุผูเขียนเลือกใช Overall scale ก็เพราะวาตองการใหผอู านเขาใจวิธกี ารคํานวณเทานัน้ จะเลือกใชวธิ ใี ดก็ได อยางไรก็ตาม การใชปมุ เรดิโอ Scale dimensions to layout คอนขางจะไดเปรียบใน กรณีทมี่ ีหลายๆ เลเอาทในไฟล .dwg เดียวกัน เพราะเราสามารถปรับความสูงของตัวเลขบอกขนาดให ปรากฏมีความสูงเทาๆ กันในทุกๆ เลเอาททําใหเราไมตองสรางไดเมนชั่นสไตลขึ้นมาหลายๆ สไตล รูปที่ 19.20

64. คํานวณหาความสูงของตัวอักษร BELL CRANK ซึง่ ตองการใหพมิ พลงบนกระดาษมีความสูง เทากับ 3.5 มิลลิเมตรเนือ่ งจากความสูงของตัวอักษรขึน้ อยูก บั สเกลของวิวพอรทซึง่ เราไดกาํ หนด 2:1 ดังนัน้ จึงตองคํานวนความสูงของตัวอักษร ตามสูตรText height = Print text size/Viewport scale ในหัวขอ 7.13.2 แทนคาสูตร 3.5/2 เราจะไดความสูงเทากับ 1.75 หนวย 65. คํานวณหาความสูงตัวอักษรของเสนลีดเดอร 5.5 Drill 2 Holes ซึง่ ตองการใหพมิ พลงบนกระดาษ มีความสูงเทากับ 2.5 มิลลิเมตรเนือ่ งจากความสูงของตัวอักษรขึ้นอยูก ับสเกลของวิวพอรทซึง่ เราไดกาํ หนด 2:1 ดังนัน้ จึงตองคํานวนความสูงของตัวอักษร ตามสูตรText height = Print text size/Viewport scale ในหัวขอ 7.13.2 แทนคาสูตร 2.5/2 เราจะไดความสูงเทากับ 1.25 หนวย 66. จากรูปที่ 19.20 (ซาย) แกไขความสูงตัวอักษร ใหแนใจวาเรายังอยูใ นโหมดฟลอสติง้ โมเดลสเปส แลวใชคําสั่ง Modify4Properties จะปรากฏหนาตาง Properties ในขณะที่บรรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ และไมมีวตั ถุใดถูกเลือกอยูก อ น ใหคลิกบนตัวอักษรตรงจุดที่ 1 แลวแกไขความสูงในอิดทิ บอกซ Height ใหเปนคา 1.75 แลวกดปุม Q แลวกดปุม D เพื่อยกเลิกการเลือก คลิกบนตัวอักษรตรงจุดที่ 2 แลวแกไขความสูงในอิดิทบอกซ Height ใหเปนคา 1.25 แลวกดปุม Q แลวกดปุม D เพือ่ ยกเลิกการเลือก แลวกลับสูโ หมดเลเอาท เปเปอรสเปส โดยคลิกปุม บนบรรทัดแสดงสถานะหรือดับเบิ้ลคลิกนอกขอบเขต วิวพอรท จะปรากฏดังรูปที่ 19.20 (ขวา) 67. ซอนเสนกรอบวิวพอรท โดยเลือกเลเยอร 0 (ศูนย) จากแถบรายการควบคุมเลเยอร เพือ่ เปลีย่ น เลเยอร 0 เปนเลเยอรใชงาน แลวคลิกบนไอคอน ของเลเยอร Viewport เพือ่ แชแข็งเลเยอร Viewport แลวเลือกเลเยอร 0 เปนเลเยอรใชงานเชนเดิม เสนกรอบวิวพอรทจะถูกซอน เลเอาท ISO-A4-MM จะปรากฏดังรูปที่ 19.21 Note

chap-19.PMD

หากเราตองการตรวจสอบวาหลังจากทีเ่ ราไดแกไขความสูงของตัวอักษรแลว ตัวอักษร BELL CRANK มีความสูง 3.5 หนวยและตัวอักษร 5.5 Drill 2 Holes มีความสูง 2.5 หนวยจริงหรือไม เราสามารถใช คําสัง่ Tools4Inquiry4Distance เพือ่ ความสูงของตัวอักษร แตเราจะตองปดโหมด # เสียกอน มิฉะนั้น โปรแกรมอาจจะรายงานความสูงของตัวอักษรออกมาไมถูกตอง

627

13/10/2549, 1:40

628

2D Drafting

รูปที่ 19.21

68. จากรูปที่ 19.21 กรอกขอมูลตัวอักษรเขาไปในตารางรายการแบบ โดยดับเบิล้ คลิกบนเสนกรอบ หรือตัวอักษรทีป่ รากฏในกรอบตารางรายการแบบ จะปรากฏไดอะล็อค Enhanced Attribute Editor ดังรูปที่ 19.22 (ซาย) หรือพิมพคําสั่ง ATTEDIT ผานบรรทัด Command: จะปรากฏ ไดอะล็อค Edit Attribute ดังรูปที่ 19.22 (ขวา) เราสามารถใชไดอะล็อคทัง้ สองในการปอนขอมูล ตัวอักษรเขาไปในตารางรายการแบบได

รูปที่ 19.22

เปนอันเสร็จสิ้นการเขียนชิ้นงาน เขียนเสนบอกขนาดและเขียนตัวอักษรในโมเดลสเปสและจัดหนากระดาษและ กําหนดสเกลในเลเอาทเปเปอรสเปส เราจะเห็นไดวา การเขียนเสนบอกขนาดและตัวอักษรในโมเดลสเปสนัน้ มีความ ยุง ยากมากกวาการเขียนเสนบอกขนาดและตัวอักษรในเลเอาทเปเปอรสเปสโดยตรง การเขียนเสนบอกขนาดและ ตัวอักษรในโมเดลสเปสมีขอ เสียคือเราตองเสียเวลากําหนดสเกลเสนบอกขนาดไวชวั่ คราวในโมเดลเปส แลวจึงแกไข สเกลเสนบอกขนาดใหถูกตองเมื่อจัดกระดาษกําหนดสเกลของวิวพอรทเรียบรอยแลว การกําหนดความสูงของ ตัวอักษรในโมเดลสเปสก็มคี วามยุง ยากพอๆ กัน เพราะจะตองกําหนดความสูงชัว่ คราวไวกอ น จนกวาจะจัดกระดาษ กําหนดสเกลใหกับวิวพอรท จึงจะสามารถปรับตัวอักษรใหมีความสูงทีต่ องการได ในแบบฝกหัดตอไปเราจะเขียน ชิ้นงานในโมเดลสเปส แตจะเขียนเสนบอกขนาดและตัวอักษรบนเลเอาทเปเปอรสเปส เพื่อใหผูอานสามารถที่จะ เปรียบเทียบขอดีขอ เสียกับแบบฝกหัดนี้ เพือ่ ทีจ่ ะสามารถเลือกวิธกี ารทีเ่ หมาะสมไปใชในงานเขียนแบบของตนเอง *********************************************************** chap-19.PMD

628

13/10/2549, 1:40

Related Documents

Autocad 2d
June 2020 26
Autocad 2d
August 2019 28
Autocad 2006 2d Chap-14
November 2019 2
Autocad 2006 2d Chap-12
November 2019 4
Autocad 2006 2d Chap-04
November 2019 4
Autocad 2006 2d Chap-18
November 2019 4