Autocad 2006 2d Chap-18

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Autocad 2006 2d Chap-18 as PDF for free.

More details

  • Words: 13,911
  • Pages: 60
แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

ในการเขียนแบบสถาปตยกรรมในบานเรานิยมใชระบบเมตริก หลายๆ องคกรหรือหลายๆ หนวยงานใชวธิ ีการ เขียนแบบโดยกําหนด 1 หนวยบนพืน้ ทีว่ าดภาพของ AutoCAD เทากับ 1 เมตร บางองคกรใช 1 หนวยเทากับ 1 มิลลิเมตร (แตใช Scale factor ของเสนบอกขนาดเพื่อแปลงคาออกมาเปนเมตร) โดยสวนใหญจะนิยมใช 1 หนวยเทากับ 1 เมตร อยางไรก็ตาม ไมวา เราจะเขียนแบบชิน้ งานดวยหนวยวัดใด หนวยของชิน้ งานในโมเดลสเปสจะตองเปนหนวย เดียวกันกับหนวยวัดของกระดาษเลเอาทเปเปอรสเปส หากมีการเขียนชิน้ งาน 1 หนวยเทากับ 1 เมตร เราจะตองนํา ชิน้ งานไปใชกบั เลเอาทหรือตารางรายการแบบทีม่ หี นวยเปนเมตร หากมีการเขียนชิน้ งาน 1 หนวยเทากับ 1 มิลลิเมตร เราจะตองนําชิ้นงานไปใชกบั เลเอาทหรือตารางรายการแบบทีม่ ีหนวยเปนมิลลิเมตรเชนเดียวกัน ทั้งนี้ เพื่อใหการ กําหนดสเกลสามารถทําไดอยางตรงไปตรงมาไมมขี นั้ ตอนทีย่ งุ ยากซับซอน จุดประสงคของแบบฝกหัดนี้ เพือ่ ใหผอู า นสามารถนําแนวทางปฏิบตั ใิ นการเขียนชิน้ งานเบือ้ งตน การกําหนดหนวยวัด ของชิน้ งาน การรวมชิ้นงานเขากับตารางรายการแบบ การสรางวิวพอรทแสดงภาพฉาย การกําหนดสเกลใหกับ ภาพฉายและการพิมพแบบแปลนไปใชงานรวมกับ Sheet Set Manager ซึง่ เปนเครือ่ งมือชวยอํานวยความสะดวกใน การจัดการกับแบบแปลนตางๆ ที่มีอยูจ าํ นวนมากในโครงการหนึ่งๆ การใชงาน Sheet Set Manager นั้นมีขอดีคือ หากมีการแกไขขอมูลคุณสมบัตขิ อง Sheet Set Manager ขอมูลตัวอักษรบนตารางรายการแบบ ชีททุกแผนทีอ่ ยูใ น ชีทเซทจะเปลีย่ นแปลงตามไปดวยโดยอัตโนมัติ นอกจากนี้ Sheet Set Manager ยังชวยในการคนหาภาพฉายหรือ แบบแปลนไดอยางรวดเร็ว ชวยใหเราสามารถเปดภาพฉายหรือแบบแปลนออกมาใชงานไดอยางสะดวกและยัง สามารถสั่งพิมพแบบแปลนหรือชีททุกๆ แผนไดในครั้งเดียว ซึ่งจะชวยประหยัดเวลาในการจัดการแบบแปลน จํานวนมากไดเปนอยางดี ในแบบฝกหัดนี้ เราจะเขียนแบบบานเดีย่ ว 2 ชัน้ ดังรูปที่ 18.1 ซึง่ เปนแบบแปลนสถาปตยกรรม ในการเขียนแบบดวย AutoCAD เราจะตองเขียนแบบชิน้ งานดวยขนาดจริง 1:1 หรือ Full scale (จะตองไมมกี ารทดสเกลเหมือนกับการเขียน แบบดวยมือบนโตะเขียนแบบ) โดยทั่วไป แบบสถาปตยกรรมนิยมกําหนดหนวยวัดเปนเมตร โดยจะกําหนดให 1 หนวยของชิน้ งานบนพืน้ ทีว่ าดภาพของ AutoCAD เทากับระยะ 1 เมตร ในกรณีนี้ เราจะตองนําชิน้ งานไปใชกบั ตาราง รายการแบบหรือเลเอาททมี่ หี นวยวัดเปนเมตรเทานัน้ เพราะถาหนวยวัดชิน้ งานกับกระดาษไมตรงกัน เราจะไมสามารถ ใชคําสั่ง Modify4Properties เพือ่ กําหนดสเกลใหกบั วิวพอรทและไมสามารถใชคําสัง่ Place on Sheet ของ Sheet Set Manager เพื่อสรางภาพฉายแสดงชิน้ งานในสเกลที่ถกู ตองได หลังจากที่เราเขียนแบบบานและบันทึก มุมมอง(Views)ภาพฉายตางๆ เสร็จเรียบรอยแลว เราจะใช Sheet Set Manager นําตารางรายการแบบ ISO-A3-M ขนาด A3 ทีม่ หี นวยเปนเมตรซึง่ ถูกสรางขึน้ ในแบบฝกหัดทีแ่ ลว มาจัดหนากระดาษและสรางภาพฉายดวยคําสัง่ ตางๆ ของ Sheet Set Manager เราไมสามารถนําเทมเพล็ทไฟลตา งๆ ของ AutoCAD มาใชงานได เนือ่ งจากเทมเพล็ทไฟล เหลานั้นมีหนวยวัดเปนมิลลิเมตร อีกทั้งยังมิไดออกแบบมาเพื่อใชงานรวมกับ Sheet Set Manager จึงไมสามารถ นํามาใชงานได

chap-18.PMD

549

13/10/2549, 1:38

550

รูปที่ 18.1

2D Drafting

chap-18.PMD

Note

ถึงแมวาแบบแปลนในแบบฝกหัดนี้เปนงานเขียนแบบสถาปตยกรรม แตผูอานที่ตองการศึกษาการ เขียนแบบเครื่องกล งานเขียนแบบไฟฟาหรืองานเขียนแบบประเภทอื่นๆ ก็สามารถนําแนวทางใน แบบฝกหัดนีไ้ ปใชกบั แบบแปลนในงานเขียนแบบประเภทอืน่ ๆ ไดเชนเดียวกัน เพราะในแบบฝกหัด นีม้ ีเทคนิคตางๆ ที่สอดแทรกไว สามารถนําไปประยุกตใชงานเขียนแบบประเภทอื่นๆ ไดเชนเดียวกัน

Note

แบบฝกหัดนี้จะใชการเขียนแบบในโหมด Color dependent plot style โดยใชรหัสสีเขามาควบคุม ความหนาและคุณสมบัตเิ สน

Note

หากมีตารางรายการแบบที่มหี นวยวัดเปนมิลลิเมตร แตไมมีตารางรายการแบบที่มหี นวยเปนเมตร เรา สามารถเขียนชิ้นงานโดยกําหนดให 1000 หนวยบนพืน้ ที่วาดภาพเทากับ 1 เมตร เพื่อที่จะนําไปใชกับ ตารางรายการแบบทีม่ หี นวยเปนมิลลิเมตร เมือ่ ตองการเขียนเสนบอกขนาดโปรแกรมจะรายงานออกมา โดยมีหนวยวัดเปนมิลลิเมตร แตเราสามารถกําหนดสเกลแฟคเตอร 0.001 ใหกับสไตลเสนบอกขนาด เพือ่ บังคับใหเสนบอกขนาดรายงานออกมามีหนวยเปนเมตร ถึงแมวา ชิน้ งานจะมีหนวยเปนมิลลิเมตร ก็ตาม แตวิธีนี้ไมคอยสะดวกในการทํางาน จึงนิยมใช 1 หนวยเทากับ 1 เมตร แลวนําไปใชกับตาราง รายการแบบทีม่ หี นวยเปนเมตรเชนเดียวกัน เพือ่ ชวยใหการกําหนดสเกลตรงไปตรงมาไมตอ งเสียเวลา กดเครือ่ งคิดเลขคํานวณหาสเกลทีต่ อ งการ

Note

กอนทีจ่ ะทําแบบฝกหัดนี้ เราควรทีจ่ ะตัง้ คาเริม่ ตนตางๆ ใหตรงกันเสียกอน โดยใชคําสัง่ Tools4Options ð User Preferences ð ใหแนใจวาปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซ Shortcut menu in drawing area ðใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย หนาเช็คบอกซ Turn on time-sensitive right-click แลวคลิก แถบคําสัง่ Display ใหแนใจวา Crosshair size = 100 เปอรเซนตและใชคําสั่ง Tools4Drafting Settings ð Object Snap กําหนดโหมดออฟเจกทสแนปใชงานคือ Endpoint, Midpoint, Center, Intersection และ Extension รวมทั้งใหแนใจวาบรรทัดแสดงสถานะปรากฏ SNAP = ปด(OFF), GRID = ปด, ORTHO = ปด, POLAR = เปด, OSNAP = เปด(ON), OTRACK = ปด, DYN = เปด, LWT = ปด

550

13/10/2549, 1:38

551

แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม 1.

เริม่ แบบแปลนใหม โดยใชคาํ สัง่ File4New จะปรากฏไดอะล็อค Select template ใหเลือก ไฟลตน แบบ Acadiso.dwt โปรแกรมจะนําเราไปสูพ น้ื ทีว่ าดภาพโมเดลสเปสระบบเมตริกในโหมด Color dependent plot style

2.

กดปุม ฟงชัน่ คีย ( เพือ่ เปดโหมดสแนป(Snap)และปุม & เพือ่ เปดโหมดแสดงจุดกริด(Grid) แลวใชคําสัง่ View4Zoom4All ขยายขอบเขตลิมติ ใหปรากฏเต็มพืน้ ทีว่ าดภาพ

3.

กําหนดขอบเขตลิมติ ใหม โดยใชคําสัง่ Format4Drawing Limits จะปรากฏขอความดังนี้

Specify lower left corner or [ON/OFF] <0.0000,0.0000>:

เทากับ 0,0 เสมอ} Specify upper right corner <420.0000,297.0000>:

20,15}

Note

20,15 {กําหนดมุมขวาบนขอบเขตลิมติ

20,15 ไดมาจากขนาดคราวๆ ของชิน้ งานในรูปที่ 18.1 ซึง่ ชิน้ งานมีความยาวประมาณ 12 หนวย (เมตร) มีความสูงประมาณ 9 หนวย (เมตร) ดังนั้น เราสามารถกําหนดขอบเขตลิมิตใหมคราวๆ โดยใชคา 20,15 ซึง่ มีขนาดใหญกวาชิน้ งานประมาณสองเทา อยางไรก็ตาม เราใชขอบเขตลิมติ เพือ่ ปรับขนาดของ พื้นที่วาดภาพใหเหมาะสมกับขนาดของชิน้ งาน ซึ่งจะใชเฉพาะตอนเริ่มตนเขียนชิ้นงานเทานั้น

4.

ใชคาํ สัง่ View4Zoom4All วาดภาพ

เพือ่ ขยายขอบเขตลิมติ ทีเ่ ราไดกาํ หนดใหมขี นาดใหญเต็มพืน้ ที่

Note

สั งเกตุ วาเคอรเซอรครอสแฮร สามารถเลื่ อนไปมาได ไม สะดวก เพราะระยะกระโดด(Snap)ของ เคอรเซอรนั้นหางมากจนเกินไป จนไมสามารถเลื่อนเคอรเซอรได เนื่องจากระยะกระโดด Snap ใน แนวแกน X และ Y ของเคอรเซอรที่โปรแกรมกําหนดมาใหมีคาเทากับ 10 หนวย ซึ่งมีระยะประมาณ ครึ่งหนึ่งของขอบเขตลิมิต 20,15 ดังนั้น เคอรเซอรครอสแฮรจึงไมสามารถเลื่อนไปมาไดอยางอิสระ นอกจากเราจะกดปุมฟงชั่นคีย ( เพื่อปดโหมดสแนปหรือปรับระยะกระโดดของสแนป ใหมให เหมาะสม

Note

ทุกครัง้ ทีใ่ ชคําสัง่ Format4Drawing Limits เราจะตองใชคําสัง่ View4Zoom4All ตอไปในทันที แลวทดลองตรวจสอบขอบเขตลิมติ โดยเลือ่ นเคอรเซอรไปทีม่ มุ ขวาดานบนของขอบเขตลิมติ บนพืน้ ที่ วาดภาพ ถาอานคาบนบรรทัดแสดงสถานะได ประมาณหรือใกลเคียงกับ 20,15 หนวยแสดงวาถูกตอง

5. รูปที่ 18.2

ปรับระยะสแนปและกริด(Grid)ใหมใหเหมาะสมกับขอบเขตลิมติ โดยคลิกขวาบนปุม บนบรรทัดแสดงสถานะ แลวเลือกคําสัง่ Settings หรือใชคําสัง่ Tools4Drafting Settings จะปรากฏไดอะล็อค Drafting Settings ใหเลือกแถบคําสัง่ Snap and Grid แลวกําหนด Snap X Spacing, Snap Y Spacing เทากับ 0.5 หนวยและกําหนด Grid X Spacing, Grid Y Spacing เทากับ 0 (ศูนย) แลวคลิก OK เพือ่ ออกจากไดอะล็อค เคอรเซอรครอสแฮรจะสามารถ เลือ่ นไดอยางอิสระ พรอมทัง้ ปรากฏจุดกริดและขอบเขตลิมติ ดังรูปที่ 18.2 6.

chap-18.PMD

{กดปุม Q เพือ่ ใชคา มุมซายลาง

551

ใชคําสั่ง Format4Layer แลวคลิกบนปุม สราง เลเยอรใหมชื่อ Outline รหัสสี Color = White (สีขาว), Linetype = Continuous, Lineweight = 0.25 mm. เพือ่ เก็บ เสนแนวเสาและแนวพืน้ ตางๆ แลวคลิกบนปุม กําหนดให

13/10/2549, 1:38

552

เลเยอร Outline เปนเลเยอรใชงาน(Current layer) ดังรูปที่ 18.3 รูปที่ 18.3

7.

2D Drafting จากรูปที่ 18.2 เขียนเสนตรงกําหนดแนวพืน้ โดยใหแนใจวาเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน เขียนเสนตรงในแนวนอน โดยใชคําสัง่ Draw4Line เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first point: คลิกหรือพิมพจุดคอรออรดิเนท 2,3 เพือ่ กําหนดจุดเริ่มตน เมื่อปรากฏ ขอความ Specify next point or [Undo]: เปดโหมดออรโธ * เพือ่ บังคับใหเสนอยูใ นแนวนอน และแนวตัง้ เลือ่ นเคอรเซอรไปทางขวาในแนวนอน แลวพิมพ 15 กดปุม Q 2 ครัง้ จะปรากฏ ดังรูปที่ 18.4 (ซาย) รูปที่ 18.4

อันที่จริง เราไมจําเปนตองใชจุดคอรออรดเิ นท 2,3 เปนจุดเริม่ เขียนเสนตรง เราจะใชจุดอื่นๆ ก็ได แต ควรจะเปนจุดทีค่ อนไปทางดานซายลางของขอบเขตลิมิต

Note 8.

ใชคําสั่ง Format4Layer แลวคลิกบนปุม สรางเลเยอรใหมชื่อ CenterLine รหัสสี Color = Blue (สีนา้ํ เงิน), Linetype = CENTER (คลิกบนเสน Continuous คลิกปุม Load เลือกเสน CENTER คลิกปุม OK คลิกเสน CENTER คลิกปุม OK), Lineweight = 0.13 mm. แลวคลิกบนปุม กําหนดใหเลเยอร CenterLine เปนเลเยอรใชงาน(Current layer) ดังรูปที่ 18.4 (ขวา)

9.

ใหแนใจวา เปนเลเยอรใชงาน เริม่ เขียนเสนเซ็นเตอรกําหนดแนว ดานซายของบาน โดยใชคําสัง่ Draw4Line เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first point: ปด โหมด OSNAP # คลิกหรือพิมพจุดคอรออรดิเนท 4,3 เพื่อกําหนดจุดเริ่มตน เมื่อปรากฏ ขอความ Specify next point or [Undo]: เปดโหมดออรโธ * เลือ่ นเคอรเซอรขน้ึ ในแนวดิง่ แลวพิมพคา 10 และกดปุม Q 2 ครั้ง เพื่อออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.5 (ซาย) รูปที่ 18.5

10. กดปุม ฟงชัน่ คีย * เพือ่ ปดโหมดออรโธ(Ortho) กดปุม ฟงชัน่ คีย ( เพือ่ ปดโหมดสแนป(Snap) และปุม & เพือ่ ปดโหมดแสดงจุดกริด(Grid)

chap-18.PMD

552

13/10/2549, 1:38

แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

553

11. ปรับสเกลแฟคเตอรของเสนประ โดยพิมพ LTSCALE หรือ LTS ผานบรรทัด Command: เมือ่ ปรากฏขอความ Enter new linetype scale factor <1.0000>: พิมพคา 0.03 จะปรากฏดังรูปที่ 18.5 (ขวา) Note

โดยทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาให หากกําหนดสเกลแฟคเตอร LTSCALE = 1 ชวงขีดยาวของเสนเซ็นเตอร ไลนที่กําหนดไวในไฟล Acadiso.lin มีคาเทากับ 31.75 ซึ่งทําใหเสนประเซ็นเตอรไมปรากฏเปนเสน ประ หลังจากที่เราไดเปลี่ยนสเกลแฟคเตอร 0.03 จะทําใหขีดยาวของเสนประเซ็นเตอรมีความยาว เทากับ 0.03x31.75 = 0.9525 หรือประมาณ 1 หนวย

12. จากรูปที่ 18.5 (ขวา) เริม่ สรางเสนคูขนาน หางจากเสนจุดที่ 1 ไปทางขวาที่ระยะ 0.55, 3.75, 5.95, 8.95, 9.65, 10.95 โดยใชคําสัง่ Modify4Offset Command: _offset

{จากรูปที่ 18.5 (ขวา) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด}

Current settings: Erase source=No Layer=Source OFFSETGAPTYPE=0

{ปอนระยะหาง 0.55 หนวย} Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1} Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกตรงจุดที่ 2} Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ } Command: {จากรูปที่ 18.5 (ขวา) คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ OFFSET} Specify offset distance or [Through/Erase/Layer] :

OFFSET Current settings: Erase source=No Layer=Source OFFSETGAPTYPE=0

{ปอนระยะหาง 3.75 หนวย} {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1} Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกตรงจุดที่ 2} Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ Command: {จากรูปที่ 18.5 (ขวา) คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ OFFSET} Specify offset distance or [Through/Erase/Layer] <0.5500>: Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>:

OFFSET Current settings: Erase source=No Layer=Source OFFSETGAPTYPE=0

{ปอนระยะหาง 5.95 หนวย} {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1} Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกตรงจุดที่ 2} Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ แลวคลิกขวาหรือกดปุม Q เพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ OFFSET ตอไปโดยกําหนดระยะออฟเซทเทากับ 8.95, 9.65 และ 10.95 ตามลําดับ โดยใชเสนจุดที่ 1 ในบรรทัดขอความ Select object to offset... และใชจดุ ที่ 2 ในบรรทัด Specify point on side to offset... เชนเดิม จนกระทัง่ ปรากฏ ดังรูปที่ 18.6 (ซาย) Specify offset distance or [Through/Erase/Layer] <3.7500>: Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>:

รูปที่ 18.6

chap-18.PMD

553

13/10/2549, 1:38

554

13. จากรูปที่ 18.6 (ซาย) เปลีย่ นเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน สรางเสนคู ขนานในแนวดิง่ เพือ่ กําหนดแนวเสาและผนังระยะหาง 0.1, 0.05 และ 0.5 หนวยกําหนดใหเสนคู ขนานยายเขาไปอยูใ นเลเยอรใชงาน โดยใชคําสั่ง Modify4Offset

2D Drafting

Command: _offset

{จากรูปที่ 18.6 (ซาย) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด}

Current settings: Erase source=No Layer=Source OFFSETGAPTYPE=0

L {พิมพตวั เลือก L} C {พิมพตวั เลือก C เพือ่ สรางเสนคูข นานเขาไปอยูใ นเลเยอรใชงาน ไมใชเลเยอรของวัตถุตน ฉบับ} Specify offset distance or [Through/Erase/Layer] : .1 {กําหนดระยะหาง 0.1} Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1 } Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกจุดที่ 2 } Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 3 } Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกจุดที่ 4 } Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 5 } Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกจุดที่ 2 } Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 6 } Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกจุดที่ 4 } Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 7 } Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกจุดที่ 4 } Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 8 } Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกจุดที่ 4 } Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 9 } Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกจุดที่ 2 } Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ } Command: {จากรูปที่ 18.6 (ซาย) คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ OFFSET} Specify offset distance or [Through/Erase/Layer] :

Enter layer option for offset objects [Current/Source] <Source>:

OFFSET Current settings: Erase source=No Layer=Current OFFSETGAPTYPE=0

{ใหแนใจวา Layer = Current เนือ่ งจากเราตองการใหเสนคูข นานยายไปอยูใ นเลเยอรใชงาน } .05 {กําหนดระยะหาง 0.05} Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1 } Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกจุดที่ 4 } Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ Command: {จากรูปที่ 18.6 (ซาย) คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ OFFSET} Specify offset distance or [Through/Erase/Layer] <0.1000>:

OFFSET Current settings: Erase source=No Layer=Current OFFSETGAPTYPE=0

{ใหแนใจวา Layer = Current เนือ่ งจากเราตองการใหเสนคูข นานยายไปอยูใ นเลเยอรใชงาน } Specify offset distance or [Through/Erase/Layer] <0.1000>: .5 {กําหนดระยะหาง 0.5} Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 5 } Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกจุดที่ 4 } Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ Command: {จากรูปที่ 18.6 (ซาย) คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ OFFSET} OFFSET Current settings: Erase source=No Layer=Current OFFSETGAPTYPE=0

{ใหแนใจวา Layer = Current เนือ่ งจากเราตองการใหเสนคูข นานยายไปอยูใ นเลเยอรใชงาน } .5 {กําหนดระยะหาง 0.5} Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 9 } Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกจุดที่ 4 } Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.6 (ขวา)} Specify offset distance or [Through/Erase/Layer] <0.1000>:

chap-18.PMD

554

13/10/2549, 1:38

แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

555

14. จากรูปที่ 18.6 (ขวา) แชแข็งเลเยอร CenterLine โดยคลิกแถบรายการควบคุมเลเยอร แลว คลิกบน ไอคอน ของเลเยอร CenterLine จนกระทัง่ ปรากฏเปนรูปไอคอน แลวกําหนดให เปนเลเยอรใชงานเชนเดิม จะปรากฏดังรูปที่ 18.7 (ซาย) รูปที่ 18.7

15. สรางเลเยอรใหม เพือ่ ใชเก็บเสนพืน้ และขอบปูนปน โดยใชคําสัง่ Format4Layer แลวคลิก บนปุม สรางเลเยอรใหมชอื่ Decor รหัสสี Color = 30 (สีสม), Linetype = Continuous, กําหนดใหเลเยอร Decor เปนเลเยอรใชงาน Lineweight = 0.25 mm. แลวคลิกบนปุม (Current layer) ดังรูปที่ 18.7 (ขวา) รูปที่ 18.8

16. จากรูปที่ 18.7 (ซาย) ใหแนใจวาเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน สราง เสนคูข นานในแนวนอน เพื่อกําหนดแนวพื้นและขอบ ปูนปน โดยใชคําสั่ง Modify 4Offset ตามวิธีใน ขอที่ 12 ใหแนใจวา Layer = Current เพื่อกําหนดให เสนคูข นานยายเขาไปอยูใ นเลเยอร ใชงาน แลวกําหนด ระยะหาง 0.4, 0.5, 0.95, 1, 1.1, 2.95, 3.05, 3. 55, 3.6, 3.7, 4.55, 4.65, และ 6.2 หนวย โดยสรางเสนคู ขนานในแนวนอนหางจากเสนจุดที่ 1 ขึน้ ดานบน โดย คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1 ในบรรทัด Select object to offset... แลวคลิกจุดที่ 2 ในบรรทัด Specify point on side to offset... แลวคลิกขวา ใหปรากฏดังรูปที่ 18.8 17. จากรูปที่ 18.8 ตัดเสนทีไ่ มตอ งการ โดยใชคําสัง่ Modify4Trim Command: _trim

{จากรูปที่ 18.8 ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด}

Current settings: Projection=UCS, Edge=None

{เลือกขอบตัด} {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1, 4 และ 5 เพือ่ ใชเปนขอบตัด} Select objects: {คลิกขวาหรือ Q เพือ ่ ออกจากโหมดการเลือกขอบตัด} Select cutting edges ...

Select objects or <select all>:

Select object to trim or shift-select to extend or

F {พิมพตวั เลือก F เพือ่ กําหนดโหมดการเลือก แบบ Fence ซึง่ จะเลือกตัดเสนไดหลายๆ เสน} Specify first fence point: {คลิกตรงจุดที่ 2} Specify next fence point or [Undo]: {คลิกตรงจุดที่ 3} Specify next fence point or [Undo]: {คลิกขวาหรือ Q เพือ ่ ออกจากโหมด Fence} [Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]:

Select object to trim or shift-select to extend or [Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]:

{คลิกบนเสนตรงจุดที่ 6, 7, 8, และ 9}

Select object to trim or shift-select to extend or [Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]:

จะปรากฏดังรูปที่ 18.9 }

chap-18.PMD

555

{คลิกขวาหรือ Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ Trim

13/10/2549, 1:38

556 รูปที่ 18.9

2D Drafting

18. จากรูปที่ 18.9 ตัดเสนทีไ่ มตอ งการ โดยใชคาํ สัง่ Modify4Trim ตามวิธใี นขอ 17 ใหแนใจวา OSNAP # อยูในสถานะปด เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects or <select all>: คลิกบน เสนขอบตัดจุดที่ 1, 2, 3, 4, 5 และ 6 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ... เลือกตัวเลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 7 และ 8 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ... เลือกตัวเลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 9 และ 10 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ... เลือกตัวเลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 11 และ 12 แลว คลิกขวา เมื่อปรากฏขอความ Select object to trim ... เลือกตัวเลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 13 และ 14 แลวคลิกขวา แลวคลิกขวาอีกครัง้ เพือ่ ออก จากคําสัง่ 19. จากรูปที่ 18.9 ตัดเสนทีไ่ มตอ งการตอไป โดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ TRIM หรือใชคาํ สัง่ Modify ตามวิธีในขอ 17 ใหแนใจวา OSNAP # อยูในสถานะปด เมื่อปรากฏขอความ 4Trim Select objects or <select all>: คลิกบนเสนขอบตัดจุดที่ 2, 3, 4 และ 5 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ ขอความ Select object to trim ... เลือกตัวเลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 15 และ 16 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ... เลือก ตัวเลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 17 และ 18 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ... เลือกตัวเลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 19 และ 20 แลวคลิกขวา แลวคลิกขวาอีกครัง้ เพือ่ ออกจากคําสัง่ 20. จากรูปที่ 18.9 ตัดเสนทีไ่ มตอ งการตอไป โดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ TRIM หรือใชคาํ สัง่ Modify 4Trim ตามวิธีในขอ 17 ใหแนใจวา OSNAP # อยูในสถานะปด เมื่อปรากฏขอความ Select objects or <select all>: คลิกบนเสนขอบตัดจุดที่ 1, 21, 2, 3, 22, และ 6 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ ขอความ Select object to trim ... เลือกตัวเลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 16 และ 23 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ... เลือกตัวเลือก F เมื่อปรากฏขอความ Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 24 และ 25 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ... เลือกตัวเลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 26 และ 27 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ... เลือกตัวเลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 20 และ 28 แลวคลิกขวา แลวคลิกขวาอีกครัง้ เพือ่ ออกจากคําสัง่ 21. จากรูปที่ 18.9 ตัดเสนทีไ่ มตอ งการตอไป โดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ TRIM หรือใชคาํ สัง่ Modify 4Trim ตามวิธีในขอ 17 ใหแนใจวา OSNAP # อยูในสถานะปด เมื่อปรากฏขอความ Select objects or <select all>: คลิกบนเสนขอบตัดจุดที่ 2, 3, 22, 4 และ 29 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ ขอความ Select object to trim ... เลือกตัวเลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 30 และ 31 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ...

chap-18.PMD

556

13/10/2549, 1:38

แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

557

เลือกตัวเลือก F เมื่อปรากฏขอความ Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 32 และ 33 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ... เลือกตัวเลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 28 และ 34 แลวคลิกขวา แลวคลิกขวาอีกครัง้ เพือ่ ออก จากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.10 รูปที่ 18.10

22. จากรูปที่ 18.10 ตัดเสนทีไ่ มตอ งการตอไป โดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ TRIM หรือใชคาํ สัง่ Modify ตามวิธีในขอ 17 ใหแนใจวา OSNAP # อยูในสถานะปด เมื่อปรากฏขอความ 4Trim Select objects or <select all>: คลิกบนเสนขอบตัดจุดที่ 1 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ... คลิกบนเสนจุดที่ 2 และ 5 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ 23. จากรูปที่ 18.10 ตัดเสนทีไ่ มตอ งการตอไป โดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ TRIM หรือใชคาํ สัง่ Modify 4Trim ตามวิธีในขอ 17 ใหแนใจวา OSNAP # อยูในสถานะปด เมื่อปรากฏขอความ Select objects or <select all>: คลิกบนเสนขอบตัดจุดที่ 3 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ... คลิกบนเสนจุดที่ 4 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ 24. จากรูปที่ 18.10 ตัดเสนทีไ่ มตอ งการตอไป โดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ TRIM หรือใชคาํ สัง่ Modify 4Trim ตามวิธีในขอ 17 ใหแนใจวา OSNAP # อยูในสถานะปด เมื่อปรากฏขอความ Select objects or <select all>: คลิกบนเสนขอบตัดจุดที่ 6 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ... คลิกบนเสนจุดที่ 7 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ เปนเลเยอรใชงาน สรางเสนคู 25. จากรูปที่ 18.10 ใหแนใจวาเลเยอร ขนานในแนวดิ่ง สรางเสนขอบปูนปน โดยใชคําสัง่ Modify4Offset ตามวิธีในขอที่ 12 ใหแนใจวา Layer = Current เพื่อกําหนดใหเสนคูขนานยายเขาไปอยูในเลเยอรใชงาน แลว กําหนดระยะหาง 0.1 หนวย โดยคลิกบนเสนตรงจุดที่ 8 ในบรรทัด Select object to offset... แลวคลิกจุดที่ 9 ในบรรทัด Specify point on side to offset... แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.11 (ซาย) รูปที่ 18.11

chap-18.PMD

557

13/10/2549, 1:38

558

26. จากรูปที่ 18.11 (ซาย) ตัดเสนใหบรรจบกัน โดยใชคําสัง่ Modify4Fillet {จากรูปที่ 18.11 (ซาย) ใหแนใจวา

2D Drafting

# อยูใ นสถานะปด} Current settings: Mode = TRIM, Radius = 0.0000 {ใหแนใจวา Mode=Trim และ Radius = 0.000 หากตองการเปลีย่ น Mode ใหพมิ พตวั เลือก T แลวเลือกตัวเลือก Trim หากตองการเปลียน คารัศมี ใหพมิ พตวั เลือก R แลวปอนคารัศมี 0 (ศูนย) ทีต่ อ งการ} Select first object or [Undo/Polyline/Radius/Trim/Multiple]: M {ใหพม ิ พ M เพือ่ เลือก Multiple เพือ่ ใหคาํ สัง่ ทํางานอยางตอเนือ่ ง} Select first object or [Undo/Polyline/Radius/Trim/Multiple]: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1 } Select second object or shift-select to apply corner: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 2 } Select first object or [Undo/Polyline/Radius/Trim/Multiple]: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 2 } Select second object or shift-select to apply corner: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 3 } Select first object or [Undo/Polyline/Radius/Trim/Multiple]: {คลิกขวาหรือกดปุม Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.11 (ขวา)} Command: _fillet

27. จากรูปที่ 18.11 (ขวา) ตอเสนขอบปูนปน โดยใชคําสัง่ Modify4Lengthen #} DE {พิมพตวั เลือก DE เพือ่ เลือก DElta} Enter delta length or [Angle] <0.0000>: 0.1 {กําหนดคา 0.1 แลวกดปุม  Q} Select an object to change or [Undo]: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 4, 5, 6, 7, 8 และ 9} Select an object to change or [Undo]: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ } Command: _lengthen

{จากรูปที่ 18.11 (ขวา) ปด

Select an object or [DElta/Percent/Total/DYnamic]:

28. จากรูปที่ 18.11 (ขวา) คลิกขวาหรือ Q เพื่อทําซ้ําคําสัง่ LENGTHEN ตามวิธีในขอ 27 เลือกตัวเลือก DE กําหนดคา 0.05 แลวคลิกบนเสนตรงจุดที่ 10 และ 11 29. เขียนเสนตรงเชือ่ มตอปลายเสนขอบปูนปน ทีย่ น่ื ออก โดยใชคําสัง่ Draw4Line ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด แลวคลิกบนปลายเสนตางๆ ใหปรากฏดังรูปที่ 18.12 (ซาย) รูปที่ 18.12

30. จากรูปที่ 18.12 (ซาย) เขียนเสนตรงเชือ่ มตอปลายเสนขอบปูนปน ใหตงั้ ฉาก โดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสั่ง LINE หรือ ใชคําสั่ง Draw4Line ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด คลิกจุดที่ 1 แลวคลิกบนปุม (Perpendicular) หรือกดปุม S แลวคลิกขวา เลือกออฟเจกท

chap-18.PMD

558

13/10/2549, 1:38

แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

559

สแนป Penpendicular เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกจุดที่ 2 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ 31. จากรูปที่ 18.12 (ซาย) คลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ LINE หรือใชคําสัง่ Draw4Line ใหแนใจวา # อยูใ น สถานะเปด คลิกจุดที่ 3 แลวคลิกบนปุม (Perpendicular) หรือกดปุม S แลวคลิกขวา เลือกออฟเจกทสแนป Penpendicular เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกจุดที่ 4 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสั่ง จะปรากฏดังรูปที่ 18.12 (ขวา) 32. จากรูปที่ 18.12 (ขวา) ตัดเสนทีไ่ มตองการ โดยใชคําสัง่ Modify 4Trim ตามวิธีในขอ 17 ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects or <select all>: คลิกบนเสนขอบตัดจุดที่ 5, 6, 7 และ 8 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim... คลิกบนเสนจุดที่ 9 และ 10 คลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.13 (ซาย) รูปที่ 18.13

33. ใชคําสัง่ View4Zoom4Realtime ดังรูปที่ 18.13 (ขวา)

และใชคําสัง่ View4Pan4Real Time

ใหปรากฏ

34. จากรูปที่ 18.13 (ขวา) ตัดเสนที่ไมตอ งการ โดยใชคําสัง่ Modify4Trim ตามวิธใี นขอ 17 ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects or <select all>: คลิกบนเสนขอบตัดจุดที่ 1 แลวคลิกขวา เมื่อปรากฏขอความ Select object to trim ... เลือก ตัวเลือก F เมื่อปรากฏขอความ Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 2 และ 3 แลวคลิกขวา แลวคลิกขวาอีกครัง้ เพือ่ ออกจากคําสัง่ เปนเลเยอรใชงาน สรางเสน 35. จากรูปที่ 18.13 (ขวา) ใหแนใจวาเลเยอร คูข นานขอบปูนปน ในแนวนอน โดยใชคาํ สัง่ Modify4Offset ตามวิธใี นขอที่ 12 แลวกําหนด ระยะหาง 0.05 หนวย โดยคลิกบนเสนตรงจุดที่ 4 และ 5 ในบรรทัด Select object to offset... รูปที่ 18.14 # อยู ในสถานะป ด ให แน ใ จว า แลวคลิกจุดที่ 6 ในบรรทัด Specify point on side to offset... แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสั่ง จะปรากฏดังรูปที่ 18.14 36. จากรูปที่ 18.14 ตอเสนขอบปูนปน โดยใชระยะ 0.1 และ 0.05 หนวยและเขียนเสนตรงเชื่อมตอ ใหเปนรูปขอบปูนป นและตัดเสนที่ไมตองการ ตรงจุดที่ 1, 2, 3 และ 4 ตามวิธตี งั้ แตขอ 27 ถึงขอ 33 จะปรากฏดังรูปที่ 18.15 (ซาย)

chap-18.PMD

559

13/10/2549, 1:38

560

2D Drafting รูปที่ 18.15

37. จากรูปที่ 18.15 (ซาย) ขยายภาพ โดยใชคําสัง่ View4Zoom4Window และ 2 จะปรากฏดังรูปที่ 18.15 (ขวา-บน)

แลวคลิกจุดที่ 1

38. จากรูปที่ 18.15 (ขวา-บน) ตอเสนขอบปูนปน โดยใชคําสัง่ Modify4Lengthen 27 ใชระยะ DElta = 0.1 แลวคลิกตรงจุดที่ 3 และ 4

ตามวิธใี นขอ

39. จากรูปที่ 18.15 (ขวา-บน) ลดความยาวเสน โดยใชคาํ สัง่ Modify4Lengthen ตามวิธใี นขอ 27 ใชระยะ DElta = -0.1 แลวคลิกตรงจุดที่ 5 จะปรากฏดังรูปที่ 18.15 (ขวา-ลาง) 40. จากรูปที่ 18.15 (ขวา-ลาง) เขียนเสนตรงเชือ่ มตอเสน โดยใชคาํ สัง่ Draw4Line ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะเปด แลวคลิกจุดที่ 6 และ 7 แลว คลิกขวา เพื่อออกจากคําสั่ง 41. จากรูปที่ 18.15 (ขวา-ลาง) ตัดเสนทีไ่ มตองการ โดยใชคําสัง่ Modify4Trim ตามวิธใี นขอ 17 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects or <select all>: คลิกขวา เพือ่ ใหโปรแกรมเลือกขอบตัด โดยอัตโนมัติ เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ... คลิกจุดที่ 8, 9 และ 10 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ 42. ใชคําสัง่ View4Zoom4Realtime ดังรูปที่ 18.16 (ซาย)

และใชคําสัง่ View4Pan4Real Time รูปที่ 18.16

43. จากรูปที่ 18.16 (ซาย) คัดลอกเสนขอบปูนปน โดยใชคําสัง่ Modify4Copy Command: _copy

chap-18.PMD

560

{จากรูปที่ 18.16 (ซาย) ใหแนใจวา

# อยูใ นสถานะเปด}

13/10/2549, 1:38

ใหปรากฏ

แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

561

{คลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือเลื ่ อกวัตถุแบบ Window} Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ} Specify base point or [Displacement] : {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 3 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร หรือ คลิกซาย } Specify second point or <use first point as displacement>: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร หรือ คลิกซาย } Specify second point or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.16 (ขวา)} Select objects: Specify opposite corner: 2 found

44. ใชคําสัง่ View4Zoom4Realtime ดังรูปที่ 18.17 (ซาย)

และใชคําสัง่ View4Pan4Real Time

ใหปรากฏ

รูปที่ 18.17

45. จากรูปที่ 18.17 (ซาย) คัดลอกเสนขอบปูนปน โดยใชคําสั่ง Modify4Copy ตามวิธใี นขอ 43 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects คลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Window แลวคลิก ขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Specify base point... ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด คลิก จุดที่ 3 เมื่อปรากฏขอความ Specify second point... คลิกจุดที่ 4 และ 5 จะปรากฏดังรูปที่ 18.17 (ขวา) 46. ใชคําสัง่ View4Zoom4Realtime ดังรูปที่ 18.18 (ซาย)

และใชคําสัง่ View4Pan4Real Time

ใหปรากฏ

รูปที่ 18.18

47. จากรูปที่ 18.18 (ซาย) คัดลอกเสนขอบปูนปน โดยใชคําสัง่ Modify4Copy ตามวิธใี นขอ 43 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects คลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Window แลวคลิก

chap-18.PMD

561

13/10/2549, 1:38

562

ขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Specify base point... ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด คลิก จุดที่ 3 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify second point... คลิกจุดที่4 จะปรากฏดังรูปที่18.18 (ขวา)

2D Drafting จะปรากฏ

48. ขยายชิน้ งานใหปรากฏเต็มพืน้ ทีว่ าดภาพ โดยใชคําสัง่ View4Zoom4Extents ดังรูปที่ 18.19 รูปที่ 18.19

49. จากรูปที่ 18.19 ลดความยาวเสน โดยใชคาํ สัง่ Modify4Lengthen ตามวิธใี นขอ 27 โดยใช ระยะ DElta = -1.6 แลวคลิกบนเสนตรงจุดที่ 1 และ 2 จะปรากฏดังรูปที่ 18.20 (ซาย) รูปที่ 18.20

50. จากรูปที่ 18.20 (ซาย) สรางสวนโคงฟลเลท โดยใชคาํ สัง่ Modify4Fillet พิมพ R เพือ่ กําหนด รัศมี แลวกําหนดรัศมี 1.5 หนวย คลิกบนเสนจุดที่ 1 และ 2 จะปรากฏดังรูปที่ 18.20 (ขวา) 51. จากรูปที่ 18.20 (ขวา) ใหแนใจวาเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน สรางเสน คูข นาน โดยใชคําสัง่ Modify4Offset ตามวิธใี นขอที่ 12 ใหแนใจวา Layer = Current เพือ่ กําหนดใหเสนคูขนานยายเขาไปอยูในเลเยอรใชงาน เมื่อปรากฏขอความ Specify offset distance... กําหนดระยะหาง 0.1 หนวย เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to offset... คลิกบน # คลิก เสนจุดที่ 3 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify point on side to offset... ปดโหมด จุดที่ 4 ในบรรทัด เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to offset... คลิกบนเสนจุดที่ 5 เมือ่ ปรากฏ ขอความ Specify point on side to offset... คลิกจุดที่ 6 ในบรรทัด เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to offset... คลิกบนเสนจุดที่ 7 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify point on side to offset... คลิกจุดที่ 8 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.21 (ซาย) Note

chap-18.PMD

หากตองการใหเสนคูข นานทัง้ 3 เสนเกิดขึน้ ในครัง้ เดียว เราสามารถทําได โดยใชคําสัง่ Modify4Object 4Polyline เลือกเสนใดเสนหนึง่ ตัวเลือก Join แลวคลิกบนเสนที่เหลือ เพือ่ เชือ่ มโยงเสนทัง้ หมด ใหกลายเปนวัตถุชิ้นเดียว ตอไปถาใชคําสั่ง Modify4Offset เราจะสามารถสรางเสนคูขนานได ภายในครั้งเดียว โดยไมตองเสียเวลาคลิกเซกเมนตตางๆ เพื่อสรางเสนคูขนาน

562

13/10/2549, 1:38

แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

563 รูปที่ 18.21

52. จากรูปที่ 18.21 (ซาย) ตัดเสนใหบรรจบกัน โดยใชคําสัง่ Modify4Fillet ตามวิธีในขอ 26 พิมพ R เพื่อเลือก Radius แลวกําหนดรัศมี 0 (ศูนย) แลวพิมพ M เพือ่ เลือก Multiple คลิกบน เสนจุดที่ 1, 2, 3 และ 4 แลวคลิกขวา 53. จากรูปที่ 18.21 (ซาย) ตัดเสนทีไ่ มตอ งการ โดยใชคําสัง่ Modify4Trim ตามวิธีในขอ 17 ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects or <select all>: คลิกขวา เพือ่ ใหโปรแกรมเลือกขอบตัดโดยอัตโนมัติ เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim... เลือกตัวเลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 5 และ 6 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ... เลือกตัวเลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 7 และ 8 แลวคลิกขวา แลวคลิกขวาอีกครั้ง เพื่อออกจากคําสัง่ จะ ปรากฏดังรูปที่ 18.21 (ขวา) ตอไปเราจะเริ่มเขียนประตูและหนาตาง จากแบบแปลนที่ปรากฏในรูปที่ 18.1 เราจะเห็นวาชุดประตู และชุดหนาตางทั้งหมดมีรูปแบบที่คลายๆ กัน ยกเวนชุดหนาตางโคงเพียงชุดเดียวที่มีความแตกตาง ดังนัน้ ผูเ ขียนจะแสดงขัน้ ตอนการสรางชุดประตูและชุดหนาตางโคงเทานัน้ สวนหนาตางอืน่ ทีม่ รี ปู แบบ คลายๆ กับประตูนนั้ มีวธิ กี ารสรางเหมือนกัน ผูเ ขียนจึงจะไมแสดงขัน้ ตอนการสรางหนาตางทีม่ รี ปู แบบ เหมือนประตูใหสิ้นเปลืองหนากระดาษ แตจะนําบล็อคหนาตางซึ่งไดสรางสําเร็จแลวมาใชงาน

Note

54. เริ่มสรางประตู โดยกอนอืน่ ใชคําสัง่ Format4Layer แลวคลิกปุม สรางเลเยอรใหม ชือ่ Frame สําหรับเก็บเสนวงกบประตูและวงกบหนาตาง โดยใชรหัสสี Color = 12 (สีเลือดหมู), Linetype = Continuous, Lineweight = 0.18 mm. คลิกปุม สรางเลเยอรใหมชื่อ Door สําหรับเก็บประตู โดยใชรหัสสี Color = Green (สีเขียว), Linetype = Continuous, Lineweight = 0.25 mm. คลิกปุม สรางเลเยอรใหมชอื่ Window สําหรับเก็บหนาตาง โดยใชรหัสสี Color = Green (สีเขียว), Linetype = Continuous, Lineweight = 0.18 mm. คลิกบนเลเยอร Frame กําหนดใหเลเยอร Frame เปนเลเยอรใชงาน(Current layer) ดังรูปที่ 18.22 แลวปุม รูปที่ 18.22

55. ใชคําสัง่ View4Zoom4Realtime ดังรูปที่ 18.23 (ซาย)

chap-18.PMD

563

และใชคําสัง่ View4Pan4Real Time

13/10/2549, 1:38

ใหปรากฏ

564 รูปที่ 18.23

2D Drafting

56. จากรูปที่ 18.23 (ซาย) เริม่ เขียนเสนชัว่ คราว กําหนดแนวกรอบวงกบ โดยกอนอืน่ เปลีย่ นเลเยอร 0 (ศูนย) เปนเลเยอรใชงาน สรางเสนคูขนาน โดยใชคําสั่ง Modify4 Offset ตามวิธีในขอที่ 12 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify offset distance... ใหแนใจวา Layer = Current เพือ่ กําหนดใหเสนคูข นานยายเขาไปอยูใ นเลเยอรใชงาน พิมพระยะหาง 0.6 หนวย เมื่อปรากฏขอความ Select object to offset... คลิกเสนจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify point on side to offset... คลิกจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to offset... คลิกเสนจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify point on side to offset... คลิกจุดที่ 2 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ คลิกขวาหรือ Q เพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ OFFSET เมือ่ ปรากฏขอความ Specify offset distance... พิมพระยะหาง 2 หนวย เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to offset... คลิกเสนจุดที่ 3 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify point on side to offset... คลิกจุดที่ 2 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.23 (ขวา) 57. จากรูปที่ 18.23 (ขวา) เริม่ เขียนกรอบวงกบ โดยเปลี่ยนเลเยอร เลเยอรใชงาน เขียนเสนคูข นาน โดยใชคําสัง่ Draw4Multiline Command: _mline

{จากรูปที่ 18.23 (ขวา) ใหแนใจวา

เปน

# อยูใ นสถานะเปด}

Current settings: Justification = Top, Scale = 20.00, Style = STANDARD

S {พิมพ S เพือ่ เลือกตัวเลือก Scale} 0.05 {พิมพ 0.05 เพือ่ กําหนดระยะหางระหวางเสน}

Specify start point or [Justification/Scale/STyle]: Enter mline scale <20.00>:

Current settings: Justification = Top, Scale = 0.05, Style = STANDARD

{คลิกจุดที่ 1 } {คลิกจุดที่ 2 } Specify next point or [Undo]: {คลิกจุดที่ 3 } Specify next point or [Close/Undo]: {คลิกจุดที่ 4, 5, 6, 7, และ 8 } Specify next point or [Close/Undo]: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ } Command: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ MLINE} Specify start point or [Justification/Scale/STyle]: Specify next point:

MLINE Current settings: Justification = Top, Scale = 0.05, Style = STANDARD Specify start point or [Justification/Scale/STyle]:

{คลิกจุดที่ 9 }

{คลิกจุดที่ 10 } {คลิกขวาหรือกดปุม Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ } Command: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ MLINE} Specify next point:

Specify next point or [Undo]:

MLINE Current settings: Justification = Top, Scale = 0.05, Style = STANDARD

J {พิมพ J เพือ่ เลือกการจัดเสนขิดบน กลาง ลาง} Enter justification type [Top/Zero/Bottom] : Z {พิมพ Z เพือ ่ เลือกชิดกลาง} Specify start point or [Justification/Scale/STyle]:

Current settings: Justification = Zero, Scale = 0.05, Style = STANDARD Specify start point or [Justification/Scale/STyle]:

chap-18.PMD

564

{คลิกจุดที่ 11 }

13/10/2549, 1:38

565

แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

{คลิกจุดที่ 12 } {คลิกขวาหรือกดปุม Q เพือ่ ออกจากคําสัง่

Specify next point:

Specify next point or [Undo]:

58. ลบเสนตรงทัง้ 3 เสนทีถ่ กู สรางจากคําสัง่ OFFSET ในขอ 56 โดยใชคําสัง่ Modify4Erase จะปรากฏดังรูปที่ 18.24 (ซาย) รูปที่ 18.24

59. จากรูปที่ 18.24 (ซาย) ตัดเสน โดยใชคําสัง่ Modify4Object4Multiline จะปรากฏไดอะล็อค Multilines Edit Tools ใหเลือก Open Tee เมือ่ ปรากฏขอความ Select first mline คลิกเสน จุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏขอความ Select second mline คลิกเสนจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏ Select first mline คลิกเสนจุดที่ 3 เมือ่ ปรากฏ Select second mline คลิกเสนจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏ Select first mline คลิกเสนจุดที่ 5 เมือ่ ปรากฏ Select second mline คลิกเสนจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏ Select first mline คลิกเสนจุดที่ 5 เมือ่ ปรากฏ Select second mline คลิกเสนจุดที่ 6 เมือ่ ปรากฏ Select first mline คลิกเสนจุดที่ 7 เมือ่ ปรากฏ Select second mline คลิกเสนจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏ Select first mline คลิกเสนจุดที่ 8 เมือ่ ปรากฏ Select second mline คลิกเสนจุดที่ 9 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ คลิกขวา เพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ MLEDIT เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Multilines Edit Tools ใหเลือก Open Cross เมือ่ ปรากฏ Select first mline คลิกเสนจุดที่ 1 เมื่อปรากฏ Select second mline คลิกเสนจุดที่ 3 เมือ่ ปรากฏ Select first mline คลิกเสนจุดที่ 7 เมือ่ ปรากฏ Select second mline คลิกเสนจุดที่ 8 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.24 (ขวา) 60. จากรูปที่ 18.24 (ขวา) เริม่ เขียนบานประตู โดยเปลี่ยนเลเยอร เลเยอรใชงาน เขียนเสนคูข นาน โดยใชคาํ สัง่ Draw4Multiline Command: _mline

เปน

# อยูใ นสถานะเปด}

{จากรูปที่ 18.24 (ขวา) ใหแนใจวา

Current settings: Justification = Zero, Scale = 0.05, Style = STANDARD Specify start point or [Justification/Scale/STyle]:

J {พิมพ J เพือ่ เลือกการจัดเสนขิดบน กลาง ลาง} T {พิมพ T เพือ่ เลือกชิดบน}

Enter justification type [Top/Zero/Bottom] :

Current settings: Justification = Top, Scale = 0.05, Style = STANDARD

S {พิมพ S เพือ่ เลือกตัวเลือก Scale} 0.1 {พิมพ 0.1 เพือ่ กําหนดระยะหางระหวางเสน}

Specify start point or [Justification/Scale/STyle]: Enter mline scale <0.05>:

Current settings: Justification = Top, Scale = 0.15, Style = STANDARD Specify start point or [Justification/Scale/STyle]:

{คลิกจุดที่ 1 }

{คลิกจุดที่ 2 } {คลิกจุดที่ 3 } Specify next point or [Close/Undo]: {คลิกจุดที่ 4 } Specify next point or [Close/Undo]: C {พิมพ C เพือ ่ เลือกตัวเลือก Close เพือ่ สรางเสนคูข นาน แบบปดจะปรากฏดังรูปที่ 18.25 (ซาย)} Specify next point:

Specify next point or [Undo]:

chap-18.PMD

565

13/10/2549, 1:38

566 รูปที่ 18.25

2D Drafting

61. จากรูปที่ 18.25 (ซาย) สงบานประตูไปอยูด า นหลังสุด โดยใชคําสัง่ Tools4Display Order4 Send to Back เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: คลิกบนเสนมัลติไลนตรงจุดที่ 1 แลว คลิกขวา ดานซายและดานบนของบานประตูจะถูกเสนของวงกบปดบัง 62. จากรูปที่ 18.25 (ซาย) ระเบิดบานประตูมลั ติไลนใหกลายเปนวัตถุธรรมดา โดยใชคําสัง่ Modify เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: คลิกบนตรงจุดที่ 1 แลวคลิกขวา 4Explode Note

เหตุทตี่ อ งระเบิดเสนมัลติไลนใหเปนเสนตรงธรรมดาก็เพราะวา เสนมัลติไลนไมสามารถแบงออกเปน สวนๆ ดวยคําสัง่ Draw4Point4Divide ซึง่ เราจะใชในการสรางคิว้ กระจกแบงบานประตูออก เปน 5 สวน

63. จากรูปที่ 18.25 (ซาย) ตอเสนขอบในของบานประตูดา นทีต่ อ งการใชกบั คําสัง่ Draw4Point4 Divide โดยใชคําสัง่ Modify4Lengthen ตามวิธีในขอ 27 ใชระยะ DElta = 0.025 แลวคลิกบนเสนตรงจุดที่ 2 และ 3 เพือ่ ใหเสนทีค่ วามยาวเพิม่ ขึน้ ดานละ 0.025 หนวย จะปรากฏ ดังรูปที่ 18.25 (ขวา) Note

เหตุผลที่ตอ งตอเสนดังกลาวก็เพราะวา เราตองการสรางคิว้ กระจกแบงชองประตูออกเปน 5 สวนเทาๆ กัน หากเราไมตอเสนในขอ 63 จะทําใหพื้นที่กระจกชองบนสุดและชองลางสุดมีพื้นที่มากกวาชอง กระจก 3 ชองทีอ่ ยูต รงกลาง ซึง่ จะทําใหกระจกทัง้ 5 แผนมีขนาดไมเทากันจริง เพราะแผนบนสุดกับแผน ลางสุดมีพื้นที่มากกวา เราสามารถนําเอาความหนาของคิ้วกระจก 0.05 มาหารดวย 2 ก็จะไดระยะที่ เราจะตองตอเสนดานบนและดานลางใหยาวเพิม่ ขึ้นเทากับ 0.025

64. จากรูปที่ 18.25 (ขวา) เขียนเสนคูข นานซึง่ จะใชเปนคิว้ กระจก โดยใชคําสัง่ Draw4Multiline เมื่อปรากฏขอความ Specify start point or [Justification/Scale/STyle]: พิมพ J เพื่อเลือก Justification พิมพ Z เพือ่ เลือก Zero เมือ่ ปรากฏขอความ Specify start point... พิมพ S เพือ่ เลือก Scale พิมพคา 0.05 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify start point... เลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 4 คลิกซาย เมือ่ ปรากฏ มารคเกอร ตรงจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify next point: เลือ่ น เคอรเซอรไปยังจุดที่ 5 คลิกซาย เมื่อปรากฏมารคเกอร ตรงจุดที่ 5 แลวคลิกขวา จะปรากฏ ดังรูปที่ 18.26 (ซาย) 65. จากรูปที่ 18.26 (ซาย) ใชคําสัง่ Format4Unit มีการเลือกหนวยวัด Meters ในแถบรายการ Units to scale inserted contents แลวออกจากไดอะล็อค แลวแปลงเสนคิว้ กระจกใหเปนบล็อค โดยใชคําสัง่ Draw4Block4Make จะปรากฏไดอะล็อค Block Definition ดังรูปที่ 17.40 (ซาย) ตัง้ ชือ่ บล็อค D1 ในแถบรายการ Name คลิกบนปุม Select objects แลวคลิกบนเสน มัลติไลนตรงจุดที่ 1 แลวกดปุม Q เพือ่ กลับสูไ ดอะล็อค ใหแนใจวาปุม เรดิโอ Delete ถูกเลือก

chap-18.PMD

566

13/10/2549, 1:38

แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

567 รูปที่ 18.26

อยู คลิกบนปุม Pick Point ให แนใจวา # อยูใ นสถานะเปด เลือ่ นเคอรเซอรไปยัง จุดที่ 2 คลิกซาย เมื่อปรากฏมารคเกอร ตรงจุดที่ 2 ใหแนใจวาปรากฏเครื่องหมาย บน เช็คบอกซ Allow exploding ใหแนใจวา Block unit = Meters แลวคลิกบนปุม OK คิว้ กระจก จะถูกแปลงเปนบล็อคและถูกลบออกจากพืน้ ทีว่ าดภาพ 66. จากรูปที่ 18.26 (ซาย) แบงเสนขอบบานประตูออกเปน 5 สวนเทาๆ กัน โดยใชบล็อค D1 ที่ถกู สรางในขอทีแ่ ลวเปนตัวแบง โดยใชคําสัง่ Draw4Point4Divide {จากรูปที่ 18.26 (ซาย) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะปด} {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 3 } Enter the number of segments or [Block]: B {พิมพ B เพือ ่ เลือกตัวเลือก Block} Enter name of block to insert: D1 {พิมพชอ ื่ บล็อค D1} Align block with object? [Yes/No] : N {พิมพตวั เลือก N } Enter the number of segments: 5 {พิมพจํานวนเซกเมนต 5 สวน จะปรากฏดังรูปที่ 18.26 (ขวา)} Command: _divide

Select object to divide:

67. จากรูปที่ 18.26 (ขวา) ลดความยาวเสนขอบในของบานประตูใหมคี วามยาวเทาเดิม โดยใชคาํ สัง่ Modify4Lengthen ตามวิธใี นขอ 27 ใชระยะ DElta = -0.025 แลวคลิกบนเสนตรงจุดที่ 4 และ 5 เสนขอบบานประตูจะมีความยาวเทาเดิม แลวคลิกขวา 68. จากรูปที่ 18.26 (ขวา) คัดลอกคิว้ กัน้ กระจกทัง้ หมด โดยใชคําสัง่ Modify4Copy ตามวิธี ในขอ 43 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects คลิกจุดที่ 6 และ 7 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Crossing แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Specify base point... ใหแนใจวา #อยูใ นสถานะเปด คลิกจุดที่ 8 เมื่อปรากฏขอความ Specify second point... คลิกบนปุม (Perpendicular) แลวคลิกซาย เมือ่ ปรากฏมารคเกอร ตรงจุดที่ 9 จะปรากฏดังรูปที่ 18.27 (ซาย) 69. จากรูปที่ 18.27 (ซาย) ระเบิดคิว้ กั้นกระจกและกรอบวงกบใหกลายเปนวัตถุธรรมดา โดยใช คําสัง่ Modify 4Explode เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: คลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ เลือก วัตถุแบบ Crossing เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: คลิกเสนตรงจุดที่ 3 แลวคลิกขวา 70. จากรูปที่ 18.27 (ซาย) ตัดเสนคิว้ กระจกทีย่ น่ื ออกไปนอกวงกบ โดยใชคําสัง่ Modify4Trim ตามวิธใี นขอ 17 ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects or <select all>: คลิกบนเสนขอบตัดจุดที่ 3 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ... เลือกตัวเลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 4 และ 5 แลว คลิกขวา แลวคลิกขวาอีกครัง้ เพื่อออกจากคําสั่ง จะปรากฏดังรูปที่ 18.27 (ขวา)

chap-18.PMD

567

13/10/2549, 1:38

568 รูปที่ 18.27

2D Drafting

71. จากรูปที่ 18.27 (ขวา) แชแข็งเลเยอร เลเยอร Frame จนกระทัง่ ไอคอนปรากฏเปน จะปรากฏดังรูปที่ 18.28 (ซาย)

โดยคลิกบนไอคอน ของ แลวกําหนดใหเลเยอร Door เปนเลเยอรใชงาน

รูปที่ 18.28

72. จากรูปที่ 18.28 (ซาย) คัดลอกวัตถุแบบพลิกกลับ โดยใชคําสัง่ Modify4Mirror {จากรูปที่ 18.28 (ซาย) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด} {คลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Window} Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ} Specify first point of mirror line: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 3 คลิกซาย เมือ่ ปรากฏมารคเกอร } Specify second point of mirror line: {เลือนเคอรเซอรไปยั ่ งจุดที่ 4 คลิกซาย เมือปรากฏมาร ่ คเกอร } Erase source objects? [Yes/No] : {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ } Command: _mirror

Select objects:

73. ละลายเลเยอร โดยคลิกบนไอคอน ไอคอนปรากฏเปน แลวกําหนดใหเลเยอร จะปรากฏดังรูปที่ 18.28 (ขวา) Note

ของเลเยอร Frame จนกระทัง่ เปนเลเยอรใชงาน

หลังจากที่ใชคําสั่ง MIRROR แลว การปรากฏของวัตถุอาจจะไมถูกตอง วัตถุที่ถูกสรางใหมจะถูก กําหนดใหอยูดา นหนา เราสามารถสงวัตถุที่ถูกอยูดานหนาไปอยูดา นหลังดังนี้

74. จากรูปที่ 18.28 (ขวา) ใชคําสัง่ Tools4Display Order4Send to Back คลิกบนเสนจุดที่ 5, 6 และ 7 แลวคลิกขวา เสนทัง้ สามจะถูกสงไปอยูด า นหลังของเสนวงกบ 75. เปลีย่ นเลเยอรใหกบั คิว้ กระจก โดยในขณะทีบ่ รรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ คลิกจุดที่ 8 และ 9, 10 และ 11 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Crossing จนกระทัง่ ปรากฏจุดกริป๊ สสนี า้ํ เงิน เลือกเลเยอร จากแถบรายการควบคุมเลเยอร แลวกดปุม D

chap-18.PMD

568

13/10/2549, 1:38

แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

569

76. แชแข็งเลเยอร และเลเยอร โดยคลิกบน ไอคอน ของเลเยอร Decor และเลเยอร Outline จนกระทั่งไอคอนปรากฏเปน แลว กําหนดใหเลเยอร Door เปนเลเยอรใชงาน จะปรากฏดังรูปที่ 18.29 (ซาย) รูปที่ 18.29

77. จากรูปที่ 18.29 (ซาย) แปลงชุดประตูใหเปนบล็อค โดยใชคําสัง่ Draw4Block4Make จะปรากฏไดอะล็อค Block Definition ดังรูปที่ 17.40 (ซาย) ตัง้ ชือ่ บล็อค Door ในแถบรายการ Name คลิกบนปุม Select objects แลวคลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Window แลวกดปุม Q เพือ่ กลับสูไ ดอะล็อค ใหแนใจวาปุมเรดิโอ Convert to block ถูกเลือกอยู คลิกบนปุม Pick Point ให แนใจวา # อยูใ นสถานะเปด เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 3 เมือ่ ปรากฏ มารคเกอร ตรงจุดที่ 3 คลิกซาย ใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Allow exploding ใหแนใจวา Block unit = Meters แลวคลิกบนปุม OK ชุดประตูจะถูกแปลงเปน บล็อคสามารถนําไปใชงานในตําแหนงอื่นๆ ในไฟลแบบแปลนใชงานและยังสามารถนําไป ใชงานในไฟลแบบแปลนอืน่ ๆ ไดอยางสะดวก 78. ละลายเลเยอร และเลเยอร โดยคลิกบน ไอคอน ของเลเยอร Decor และเลเยอร Outline จนกระทั่งไอคอนปรากฏเปน แลว กําหนดใหเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน 79. ขยายชิน้ งานใหปรากฏเต็มพืน้ ทีว่ าดภาพ โดยใชคําสัง่ View4Zoom4Extents ดังรูปที่ 18.29 (ขวา) Note

ตอไปเราจะเริ่มเขียนสวนประกอบของหนาตางโคงซึ่งอยูเหนือประตูหนาบานที่เราไดสรางเสร็จแลว โดยจะตองสร างเสนกําหนดขอบเขตใหพอดีกับ กรอบวงกบ โดยใช คําสั่ ง Modify 4Offset เมือ่ กําหนดขอบเขตแลว จึงใชคําสัง่ Draw4 Boundary เพือ่ สรางเสนขอบนอกสุดของกรอบวงกบ แลวใชคําสั่ง Modify4Offset สราง เสนคูข นานเปนเสนขอบในของวงกบ เราไมสามารถใชคําสัง่ Draw4Multiline กับหนาตางโคงชุด นีไ้ ด เนือ่ งจากมัลติไลนไมสามารถเขียนสวนโคง จึงจําเปนตอง ใชคําสั่ง Modify4Offset แทน

80. ใชคําสัง่ View4Zoom4Realtime ดังรูปที่ 18.30 (ซาย)

และใชคําสัง่ View4Pan4Real Time

รูปที่ 18.30

chap-18.PMD

จะปรากฏ

569

13/10/2549, 1:38

ใหปรากฏ

570

81. จากรูปที่ 18.30 (ซาย)ใหแนใจวาเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน สรางเสน คูข นาน โดยใชคําสัง่ Modify4Offset ตามวิธใี นขอที่ 12 ใหแนใจวา Layer = Current เมือ่ ปรากฏขอความ Specify offset distance... กําหนดระยะหาง 0.2 หนวย เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to offset... คลิกบนเสนจุดที่ 1 เมื่อปรากฏขอความ Specify point on side to offset... ปดโหมด # คลิกจุดที่ 2 ในบรรทัด เมื่อปรากฏขอความ Select object to offset... แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.30 (ขวา)

2D Drafting

82. จากรูปที่ 18.30 (ขวา) สรางเสนขอบนอกของวงกบจากพืน้ ทีช่ อ งวางแบบปดทีเ่ ตรียมไว ใหแนใจ เปนเลเยอรใชงาน แลวใชคําสัง่ Draw4Boundary วาเลเยอร เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Boundary Creation ใหแนใจวาปรากฏ Polyline ในแถบรายการ Object Pick Point แลวคลิกบนพืน้ ทีว่ า งตรงจุดที่ 3 ขอบเขตจะกลายเปนเสนประ type คลิกบนปุม แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ BOUNDARY created 1 polyline เสนโพลีไลนขอบนอกสุดของ วงกบจะถูกสรางขึน้ ซอนทับอยูก บั เสนขอบเขตเดิมพอดี 83. จากรูปที่ 18.30 (ขวา) ใหแนใจวาเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน สรางเสน คูขนาน โดยใชคําสั่ง Modify4Offset ตามวิธีในขอที่ 12 ใหแนใจวา Layer = Current เมือ่ ปรากฏขอความ Specify offset distance... กําหนดระยะหาง 0.05 หนวย เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to offset... คลิกบนเสนจุดที่ 4 เมื่อปรากฏขอความ Specify point on side to # คลิกจุดที่ 3 ในบรรทัด เมื่อปรากฏขอความ Select object to offset... ปดโหมด offset... แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสั่ง จะปรากฏดังรูปที่ 18.31 (ซาย) รูปที่ 18.31

เปนเลเยอรใชงาน สรางเสน 84. จากรูปที่ 18.31 (ซาย) ใหแนใจวาเลเยอร คูขนาน โดยใชคําสั่ง Modify4Offset ตามวิธีในขอที่ 12 ใหแนใจวา Layer = Current เมือ่ ปรากฏขอความ Specify offset distance... กําหนดระยะหาง 0.5 หนวย เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to offset... คลิกบนเสนจุดที่ 1 เมื่อปรากฏขอความ Specify point on side to # คลิกจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to offset... แลว offset... ปดโหมด คลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสั่ง จะปรากฏดังรูปที่ 18.31 (ขวา) 85. จากรูปที่ 18.31 (ขวา) คลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ OFFSET เมือ่ ปรากฏขอความ Specify offset distance... กําหนดระยะหาง 0.05 หนวย เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to offset... คลิกบน เสนจุดที่ 3 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify point on side to offset... คลิกจุดที่ 4 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.32 (ซาย) รูปที่ 18.32

chap-18.PMD

570

13/10/2549, 1:38

571

แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

86. จากรูปที่ 18.32 (ซาย) ยืดกรอบวงกบดานลางลงในแนวดิง่ ที่ระยะ 0.15 หนวย โดยใชคําสั่ง Modify4Stretch Command: _stretch

สถานะเปด}

{จากรูปที่ 18.32 (ซาย) ใหแนใจวา

# และ

) อยูใ น

Select objects to stretch by crossing-window or crossing-polygon...

{คลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Crossing } {คลิกขวาหรือกดปุม Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ} Specify base point or [Displacement] : {คลิกจุดที่ 3 หรือคลิก ณ จุดใดๆ) Specify second point or <use first point as displacement>: 0.15 {เลือ ่ นเคอรเซอรลงใน แนวดิง่ แลวพิมพ 0.15 แลวกดปุม Q กรอบวงกบจะถูกยืดดังรูปที่ 18.32 (ขวา)} Select objects:

Select objects:

Note

หากเราพิมพ 0.15 แลวกดปุม Q แลวปรากฏวากรอบวงกบไมถกู ยืด เราจะตองปดโหมด Dynamic Input โดยกดปุม ฟงชั่นคีย +

87. จากรูปที่ 18.32 (ขวา) เริม่ เขียนกรอบวงกบในแนวดิง่ โดยใชคําสัง่ Draw4Multiline Command: _mline

# อยูใ นสถานะเปด}

{จากรูปที่ 18.32 (ขวา) ใหแนใจวา

Current settings: Justification = Top, Scale = 20.00, Style = STANDARD

S {พิมพ S เพือ่ เลือกตัวเลือก Scale} 0.05 {พิมพ 0.05 เพือ่ กําหนดระยะหางระหวางเสน}

Specify start point or [Justification/Scale/STyle]: Enter mline scale <20.00>:

Current settings: Justification = Top, Scale = 0.05, Style = STANDARD Specify start point or [Justification/Scale/STyle]: Enter justification type [Top/Zero/Bottom] :

J {พิมพ J เพือ่ จัดเสนขิดบน กลาง ลาง} Z {พิมพ Z เพือ่ เลือกชิดกลาง}

Current settings: Justification = Zero, Scale = 0.05, Style = STANDARD

{เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 5 คลิกซาย เมือ่ ปรากฏมารคเกอร } Specify next point: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 6 คลิกซาย เมือ่ ปรากฏมารคเกอร } Specify next point or [Undo]: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่

Specify start point or [Justification/Scale/STyle]:

88. จากรูปที่ 18.32 (ขวา) ระเบิดเสนโพลีไลนใหกลายเปนเสนตรงเสนโคงธรรมดา โดยใชคําสั่ง Modify4Explode โดยคลิกบนเสนวงกบจุดที่ 7 และ 8 แลวคลิกขวา 89. จากรูปที่ 18.32 (ขวา) ตอเสน โดยใชคําสั่ง Modify4Extend Command: _extend

{จากรูปที่ 18.32 (ขวา) ใหแนใจวา

# อยูใ นสถานะปด}

Current settings: Projection=UCS, Edge=None Select boundary edges ...

{เลือกเสนขอบเขต} {คลิกขวาหรือ Q เพือ่ ใหโปรแกรมเลือกขอบเขตโดยอัตโนมัต}ิ

Select objects or <select all>:

Select object to extend or shift-select to trim or [Fence/Crossing/Project/Edge/Undo]:

{คลิกบนปลายเสนตรงจุดที่ 7, 8, 9, 10, 11, 12, 13, 14}

Select object to extend or shift-select to trim or [Fence/Crossing/Project/Edge/Undo]:

จะปรากฏดังรูปที่ 18.33 (ซาย)}

chap-18.PMD

571

{คลิกขวาหรือกดปุม Q เพือ่ ออกจากคําสัง่

13/10/2549, 1:38

572 รูปที่ 18.33

2D Drafting

90. จากรูปที่ 18.33 (ซาย) เริม่ เขียนกรอบวงกบเอียง 135 องศา โดยใชคําสัง่ Draw4Multiline # อยูใ นสถานะเปด} Current settings: Justification = Zero, Scale = 0.05, Style = STANDARD {ใหแนใจวา Justification = Zero และ Scale = 0.05 ซึง่ เปนคาทีใ่ ชงานในครัง้ กอน} Specify start point or [Justification/Scale/STyle]: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 1 คลิกซาย เมือ่ ปรากฏมารคเกอร } Specify next point: @2<135 {พิมพรเี ลทีฟคอรออรดเิ นท @2<135 แลวกดปุม  Q} Specify next point or [Undo]: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ }

Command: _mline

{จากรูปที่ 18.33 (ซาย) ใหแนใจวา

91. จากรูปที่ 18.33 (ซาย) คลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ MLINE หรือใชคําสัง่ Draw4Multiline เขียน กรอบวงกบเอียงทํามุม 45 องศา ตามวิธใี นขอ 90 โดยเลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 2 คลิกซาย เมือ่ ปรากฏมารคเกอร พิมพรเี ลทีฟคอรออรดเิ นท @2<45 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 18.33 (ขวา) 92. จากรูปที่ 18.33 (ขวา) ตัดเสนที่ไมตองการ โดยใชคําสัง่ Modify4Trim ตามวิธีในขอ 17 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects or <select all>: คลิกบนเสนจุดที่ 3 และ 4 เพือ่ กําหนดเปน เสนขอบตัด เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim... คลิกบนเสนมัลติไลนจดุ ที่ 5, 6, 7 และ 8 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 18.34 (ซาย) รูปที่ 18.34

93. จากรูปที่ 18.34 (ซาย) ตัดเสนทีไ่ มตองการชวงรอยตอตางๆ ของวงกบ โดยใชคําสัง่ Modify4 Trim ตามวิธใี นขอ 17 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects or <select all>: คลิกขวา เพือ่ ใหโปรแกรมเลือกขอบตัดโดยอัตโนมัติ เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim... คลิกตามจุด รอยตอตางๆ แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสั่ง จะปรากฏดังรูปที่ 18.34 (ขวา)

chap-18.PMD

Note

หากเราไมสามารถตัดเสนมัลติไลนตรงจุดใดได เราจะตองใชคําสัง่ Modify4Explode เสนมัลติไลนเสนนั้นให เปนเสนตรงธรรมดาเสียกอน จึงจะสามารถตัดเสนตอไปได

Note

ในขณะที่ปรากฏขอความ Select object to trim... เราอาจจะตองใชคําสั่ง View4Zoom4Realtime เพือ่ ขยายชองรอยตอของวงกบใหมีขนาดใหญเพียงพอทีเ่ ราจะสามารถคลิกในตําแหนงทีถ่ ูกตอง

572

13/10/2549, 1:38

เพือ่ ระเบิด

แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม Note

573

ตอไปสรางบานหนาตางโคง โดยกอนอื่น เราจะตองรวมเสนตางๆ ใหกลายเปนเสนโพลีไลนเสนเดียว เสียกอน เพื่อใหสามารถใชคําสั่ง Modify4Offset สรางเสนคูขนานบานหนาตางในครั้งเดียวได โดยที่ไมตอง Offset หลายๆ ครั้งและจะไดไมตองเสียเวลาตัดเสนอีกดวย

94. จากรูปที่ 18.34 (ขวา) รวมเสนตางๆ ของวงกบของบานหนาตางดานซายใหกลายเปนเสน โพลีไลน โดยใชคําสัง่ Modify4Object4Polyline เมือ่ ปรากฏขอความ Select polyline คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏขอความ Object selected is not a polyline Do you want to turn it into one? ใหกดปุม Q เพือ่ แปลงเสนที่ถกู เลือกใหเปนโพลีไลน เมื่อปรากฏ ขอความ Enter an option [Close/Join/Width/Edit vertex/Fit/Spline/Decurve/Ltype gen/ Undo]: ใหพมิ พตวั เลือก J เพือ่ รวมเสนตางๆ ใหเปนโพลีไลนเสนเดียวกัน เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: คลิกบนเสนจุดที่ 2, 3, 4 แลวคลิกขวา 2 ครัง้ เพือ่ ออกจากคําสัง่ 95. จากรูปที่ 18.34 (ขวา) เปลีย่ นเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน แลวสราง เสนคูข นาน โดยใชคําสัง่ Modify4Offset ตามวิธใี นขอที่ 12 ใหแนใจวา Layer = Current เมือ่ ปรากฏขอความ Specify offset distance... กําหนดระยะหาง 0.1 หนวย เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to offset... คลิกบนเสนจุดที่ 1 เมื่อปรากฏขอความ Specify point on side to offset... ปดโหมด # คลิกจุดที่ 5 เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to offset... แลว คลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสั่ง จะปรากฏดังรูปที่ 18.35 (ซาย) รูปที่ 18.35

96. จากรูปที่ 18.35 (ซาย) คัดลอกบานหนาตางแบบพลิกกลับ โดยใชคําสัง่ Modify4Mirror ตามวิธใี นขอ 72 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects คลิกบนเสนโพลีไลนตรงจุดที่ 1 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first point of mirror line: เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏ มารคเกอร คลิกซาย Specify second point of mirror line: เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 3 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย เมือ่ ปรากฏขอความ Erase source objects? [Yes/No] : คลิกขวาหรือกดปุม Q เพื่อออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.35 (ขวา) 97. แชแข็งเลเยอร และเลเยอร โดยคลิกบน ไอคอน ของเลเยอร Decor และเลเยอร Outline จนกระทั่งไอคอนปรากฏเปน แลว กําหนดใหเลเยอร Door เปนเลเยอรใชงาน จะปรากฏดังรูปที่ 18.36 (ซาย) รูปที่ 18.36

chap-18.PMD

573

13/10/2549, 1:38

574

98. จากรูปที่ 18.36 (ซาย) แปลงชุดหนาตางใหเปนบล็อค โดยใชคําสัง่ Draw4Block4Make จะปรากฏไดอะล็อค Block Definition ดังรูปที่ 17.40 (ซาย) ตัง้ ชือ่ บล็อค Window ในแถบรายการ Name คลิกบนปุม Select objects แลวคลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Window แลวกดปุม Q เพือ่ กลับสูไ ดอะล็อค ใหแนใจวาปุมเรดิโอ Convert to block ถูกเลือกอยู คลิกบนปุม Pick Point ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 3 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร ตรงจุดที่ 3 คลิกซาย ใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Allow exploding ใหแนใจวา Block unit = Meters แลวคลิกบนปุม OK ชุดหนาตางจะถูก แปลงเปนบล็อคสามารถนําไปใชงานในตําแหนงอืน่ ๆ ในไฟลแบบแปลนใชงานและยังสามารถ นําไปใชงานใน ไฟลแบบแปลนอืน่ ๆ ไดอยางสะดวก

2D Drafting

Note

กอนแปลงหนาตางใหเปนบล็อค ตองแนใจวา Meters ปรากฏในแถบรายการ Units to scale inserted contents ในคําสั่ง Format4Unit มิฉะนั้น หนาตางจะเปลี่ยนสเกลซึ่งทําใหขนาดที่ปรากฏไมถูกตอง

Note

หลังจากที่ แปลงหนาตางเป นบล็อคแล ว เราจะไมสามารถมองเห็นการเปลี่ ยนแปลงบนเสนสวน ประกอบตางๆ ของชุดหนาตางโคง ในขณะทีบ่ รรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ ใชเมาสคลิกบน เสนสวนประกอบของหนาตาง หากปรากฏจุดกริป๊ สสนี า้ํ เงินเพียงจุดเดียวและเสนสวนประกอบทัง้ หมด เปนเสนประ แสดงวาถูกตอง

และเลเยอร โดยคลิกบน 99. ละลายเลเยอร ไอคอน ของเลเยอร Decor และเลเยอร Outline จนกระทั่งไอคอนปรากฏเปน แลว กําหนดใหเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน 100. ขยายชิน้ งานใหปรากฏเต็มพืน้ ทีว่ าดภาพ โดยใชคําสัง่ View4Zoom4Extents ดังรูปที่ 18.36 (ขวา) Note

จะปรากฏ

ตอไปเราจะนําบล็อคหนาตางจากไฟลแบบแปลน .dwg อืน่ ทีส่ รางเสร็จแลว เขามาใชงานในแบบแปลน โดยใช DesignCenter เปนเครือ่ งมือชวยในการสอดแทรกบล็อคหนาตาง แตกอนอื่น เราจะตองตีเสน คูข นานกําหนดแนวในการสอดบล็อคหนาตางเสียกอน เพือ่ ใหมีจดุ ทีจ่ ะใชออฟเจกทสแนปกับจุดสอด แทรกของบล็อคได

101. จากรูปที่ 18.36 (ขวา) สรางเสนคูข นานชัว่ คราว โดยใชคาํ สัง่ Modify4Offset ตามวิธใี นขอที่ 12 เมือ่ ปรากฏ Specify offset distance... กําหนดระยะหาง 0.2 หนวย เมือ่ ปรากฏ Select object to offset... คลิกเสนจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏ Specify point on side to offset... คลิกจุดที่ 6 เมือ่ ปรากฏ Select object to offset... แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ คลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ OFFSET เมื่อปรากฏ Specify offset distance... กําหนดระยะหาง 1.35 หนวย เมื่อปรากฏ Select object to offset... คลิกเสนจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏ Specify point on side to offset... คลิกจุดที่ 6 เมือ่ ปรากฏ Select object to offset... แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ คลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ OFFSET เมื่อปรากฏ Specify offset distance... กําหนดระยะหาง 0.75 หนวย เมื่อปรากฏ รูปที่ 18.37 Select object to offset... คลิกเสนจุดที่ 5 เมือ่ ปรากฏ Specify point on side to offset... คลิกจุดที่ 6 เมือ่ ปรากฏ Select object to offset... แลวคลิกขวา เพื่อ ออกจากคําสัง่ คลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ OFFSET เมื่อปรากฏ Specify offset distance... กําหนดระยะหาง 1.1 หนวย เมื่อปรากฏ Select object to offset...

chap-18.PMD

574

13/10/2549, 1:38

แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

575

คลิกเสนจุดที่ 7 เมือ่ ปรากฏ Specify point on side to offset... คลิกจุดที่ 6 เมื่อปรากฏ Select object to offset... แลวคลิกขวา จะปรากฏ ดังรูปที่ 18.37 102. จากรูปที่ 18.37 สอดแทรกบล็อคจากไฟลแบบแปลน จะ อื่น โดยใชคําสั่ง Tools4DesignCenter ปรากฏหน าต า ง DesignCenter ขึ้ นมาบนพื้ น ที่ วาดภาพดังรูปที่ 18.38 ใหแนใจวาแถบ Folders ถูก เลือก แลวคนหาไฟล 18-575-38-1.dwg จากโฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM แนบทายหนังสือคูม อื รูปที่ 18.38 เลมนี้ คลิกบนหัวขอ Blocks จะปรากฏบล็อคไอคอน WinType1 และ WinType2 บนชองหนาตางทางดาน ขวา ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะ เปนเลเยอรใชงาน แลวคลิกและลากบล็อค เปด เปลี่ยนเลเยอร ไอคอน Wintype1 ไปปลอยบนพื้นทีว่ าดภาพตรงจุดที่ 1 และจุดที่ 2 แลวคลิกและลากบล็อค ไอคอน Wintype2 ไปปลอยบนพืน้ ทีว่ าดภาพตรงจุดที่ 3 103. จากรูปที่ 18.37 ตัดเสน โดยใชคําสั่ง ตามวิธีในขอ 17 Modify4Trim ให แ น ใ จว า OSNAP # อยูใ นสถานะ รูปที่ 18.39 ปด เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects or <select all>: คลิกบนเสนขอบตัด จุดที่ 4, 5, 6 แลวคลิกขวา เมื่อปรากฏ ขอความ Select object to trim ... คลิกจุดที่ 6, 7, 8 และ 9 แลวคลิกขวา แลวคลิกขวาอีกครัง้ เพือ่ ออกจากคําสัง่ 104. จากรูปที่ 18.37 ลบเสนคูข นานชัว่ คราวทีส่ รางในขอที่ 101 ทัง้ หมด โดยใชคําสัง่ Modify4Erase จะปรากฏดังรูปที่ 18.39 105. ใชคําสัง่ View4Zoom4Realtime รูปที่ 18.40 ดังรูปที่ 18.40 (ซาย)

Note

และใชคําสัง่ View4Pan4Real Time

ใหปรากฏ

ตอไปเราจะแตงขอบปูนปน บริเวณหนาตางชัน้ บนทัง้ สองบานดังนี้

106. จากรูปที่ 18.40 (ซาย) เปลีย่ นเลเยอรใชงานเปนเลเยอร เขียนเสน มัลติไลน โดยใชคาํ สัง่ Draw4Multiline ตามวิธใี นขอ 87 พิมพ J เพือ่ เลือก Justification พิมพ T เพือ่ เลือก Top (ชิด ดานบน) พิมพ S เพือ่ เลือก Scale กําหนดคา 0.1 ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด คลิกเมือ่ ปรากฏ ตรงจุดที่ 1 คลิกบนปุม (Perpendicular) แลวคลิกเมือ่ ปรากฏ ตรงจุดที่ 2 คลิกเมื่อปรากฏ ตรงจุดที่ 3 คลิกเมื่อปรากฏ ตรงจุดที่ 4 คลิกขวา เพื่อออกจากคําสัง่ คลิกขวาเพื่อทําซ้ําคําสั่ง MLINE คลิกเมื่อปรากฏ ตรงจุดที่ 5 คลิกเมื่อ ปรากฏ ตรงจุดที่ 6 คลิกเมื่อปรากฏ ตรงจุดที่ 7 คลิกเมื่อปรากฏ ตรงจุดที่ 8 คลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.40 (ขวา)

chap-18.PMD

575

13/10/2549, 1:38

576

107. จากรูปที่ 18.40 (ขวา) ระเบิดเสนมัลติไลนใหกลายเปนวัตถุธรรมดา โดยใชคําสั่ง Modify เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: คลิกจุดที่ 9 และ 10 แลวคลิกขวา 4Explode

2D Drafting

108. จากรูปที่ 18.40 (ขวา) ตัดเสนทีไ่ มตอ งการชวงรอยตอตางๆ ของปูนปน โดยใชคําสัง่ Modify4 Trim ตามวิธใี นขอ 17 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects or <select all>: คลิกขวา เพือ่ ใหโปรแกรมเลือกขอบตัดโดยอัตโนมัติ เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim... คลิกตามจุด รอยตอตางๆ แลวคลิกขวา เพื่อออกจากคําสั่ง จะปรากฏดังรูปที่ 18.41 (ซาย)

รูปที่ 18.41

109. จากรูปที่ 18.41 (ซาย) ขยายภาพขอบปูนปน ชวงทีท่ บั ซอนกับชุดหนาตาง โดยใชคําสัง่ View4 Zoom4Window แลวคลิกจุดที่ 1 และ 2 จะปรากฏดังรูปที่ 18.41 (ขวา) Note

จากรูปที่ 18.41 เราจะเห็นวามีเสนสวนประกอบของบล็อคหนาตาง WinType2 ซอนทับกับขอบปูนปน อันทีจ่ ริง เราจะตองไมใหเสนสวนประกอบของบล็อคหนาตางทีถ่ กู ปูนปน ทับซอนปรากฏ ซึง่ ทําใหเรา จะตองตัดเสนสวนประกอบของบล็อคออกไป แตถาเราจะตัดเสนของบล็อค เราก็จะตองระเบิดบล็อค ออก แลวจึงจะสามารถตัดเสนสวนประกอบของบล็อคได แตการระเบิดบล็อคและตัดเสนนัน้ เปนวิธที ี่ ใชงานในรีลีสกอนซึง่ ยังไมมี Wipeout ดังนัน้ ในทีน่ ี้ เราจะใช Wipeout ชวยในการปดบังสวนประกอบ ของบล็อคเฉพาะในสวนทีถ่ กู ขอบปูนปน ทับซอน เพือ่ ไมใหสามารถมองเห็นหรือปรากฏบนเครือ่ งพิมพ โดยทีเ่ ราไมจําเปนตองระเบิดบล็อค เพราะการระเบิดบล็อคจะทําใหขนาดไฟลแบบแปลนใหญมากขึน้

110. เปลีย่ นเลเยอร 4Wipeout

เปนเลเยอรใชงาน สรางไวบเอาทโดยใชคําสัง่ Draw

{จากรูปที่ # อยูใ นสถานะเปด คลิกตรงจุดที่ 3} 18.41 (ขวา) ใหแนใจวา Specify next point: {คลิกตรงจุดที่ 4} Specify next point or [Undo]: {คลิกตรงจุดที่ 5} Specify next point or [Close/Undo]: {คลิกตรงจุดที่ 6, 7 และ 8} Specify next point or [Close/Undo]: C {พิมพ C เพือ ่ ปดไวบเอาท จะปรากฏดังรูปที่ 18.42 (ซาย)} Command: _wipeout Specify first point or [Frames/Polyline] :

รูปที่ 18.42

chap-18.PMD

576

13/10/2549, 1:38

แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม Note

577

เนือ่ งจากไวบเอาทที่ถกู สรางใหมจะอยูห นาสุด ซึง่ จะทําใหปดบังทั้งเสนขอบปูนปนและปดบังบล็อค หนาตางดวย แตเราไมตอ งการไวบเอาทปด บังเฉพาะบล็อคหนาตาง แตไมปด บังเสนขอบปูนปน ดังนัน้ เราจะตองจัดลําดับการปรากฏหนาหลังของวัตถุดงั นี้

111. จากรูปที่ 18.42 (ซาย) ใชคาํ สัง่ Tools4Display Order4Bring Above Object เมือ่ ปรากฏ ขอความ Select objects: คลิกบนไวบเอาทตรงจุดที่ 1 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select reference objects: คลิกบนเสนสวนประกอบของบล็อคหนาตางตรงจุดที่ 2 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 18.42 (กลาง) 112. ซอนเสนขอบของไวบเอาท โดยใชคําสัง่ Draw 4Wipeout เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first point or [Frames/Polyline] : พิมพตัวเลือก F เมื่อปรากฏขอความ Enter mode [ON/OFF] : พิมพตวั เลือก OFF เสนขอบไวบเอาทจะถูกซอนดังรูปที่ 18.42 (ขวา) 113. ตอไปกอนทีเ่ ราจะสรางหลังคา เราควรใชคาํ สัง่ View4Zoom4Extents แลวตรวจสอบสวน ประกอบตางๆ ของชิ้นงาน แลวหาจุดทีย่ ังตัดเสนไมครบถวน แลวใชคําสั่ง Modify4Trim ตัดเสนใหครบถวน จนกระทัง่ ปรากฏดังรูปที่ 18.43 รูปที่ 18.43

114. ตอไปเริม่ เขียนสวนประกอบของหลังคา โดยกอนอืน่ สรางเลเยอรใหม โดยใชคําสัง่ Format4 Layer แลวคลิกบนปุม สรางเลเยอรใหมชื่อ Roof รหัสสี Color = 82 (สีเขียวแก), Linetype = Continuous, Lineweight = 0.25 mm. เพือ่ เก็บเสนตางๆ ของหลังคา แลวคลิกบนปุม กําหนดใหเลเยอร Roof เปนเลเยอรใชงาน(Current layer) แลวละลายเลเยอร CenterLine โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร CenterLine จนกระทัง่ ไอคอนปรากฏเปน จะปรากฏ ดังรูปที่ 18.44 (ซาย) เมือ่ ออกจากไดอะล็อคจะปรากฏดังรูปที่ 18.44 (ขวา)

รูปที่ 18.44

115. จากรูปที่ 18.44 (ขวา) เปลีย่ นเลเยอรใหกบั เสน โดยในขณะทีบ่ รรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ คลิกเสนตรงจุดที่ 1 ใหปรากฏจุดกริ๊ปส เลือกเลเยอร จากแถบ รายการควบคุมเลเยอร แลวกดปุม D เสนตรงทีถ่ ูกเลือกจะยายไปอยูใ นเลเยอร Roof

chap-18.PMD

577

13/10/2549, 1:38

578

116. จากรูปที่ 18.44 (ขวา) สรางเสนคูขนาน โดยใชคําสัง่ Modify4Offset ตามวิธีในขอที่ 12 ใหแนใจวา Layer = Current เมื่อปรากฏ Specify offset distance... กําหนดระยะหาง 1.15 หนวย เมือ่ ปรากฏ Select object to offset... คลิกเสนจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏ Specify point on side to offset... คลิกจุดที่ 3 เมื่อปรากฏ Select object to offset... คลิกเสนจุดที่ 4 เมื่อปรากฏ Specify point on side to offset... คลิกจุดที่ 5 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่

2D Drafting

117. คลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ OFFSET ตามวิธีในขอที่ 12 สรางเสนคูข นาน 4 เสน ทีร่ ะยะหาง 0.05, 0.15 , 3.1, 3.15 หนวย โดยใชเสนจุดที่ 1 ในบรรทัด Specify point on side to offset... แลว ใชจดุ ที่ 6 ในบรรทัด Specify point on side to offset... โดยคลิกบน ไอคอน 118. แชแข็งเลเยอร จนกระทัง่ ไอคอนปรากฏเปน แลวกําหนดใหเลเยอร ใชงาน จะปรากฏดังรูปที่ 18.45 (ซาย)

ของเลเยอร CenterLine เปนเลเยอร

รูปที่ 18.45

119. จากรูปที่ 18.45 (ซาย) ตัดเสน โดยใชคําสัง่ Modify4Trim ตามวิธีในขอ 17 เมื่อปรากฏ ขอความ Select objects or <select all>: คลิกขวา เพือ่ ใหโปรแกรมเลือกขอบตัดโดยอัตโนมัติ เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ... พิมพตวั เลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 1-2 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ Select object to trim... พิมพตวั เลือก F เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first fence point:... คลิกจุดที่ 3-4 แลวคลิกขวา พิมพ R เพือ่ เลือก ตัวเลือก eRase แลวคลิกบนเสนจุดที่ 5 และ 6 แลวคลิกขวา เสนที่ 5 และ 6 จะถูกลบทิง้ ไป แลวคลิกขวาอีกครัง้ เพือ่ ออกจากคําสัง่ 120. ใชคําสัง่ View4Zoom4Realtime และใชคําสัง่ View4Pan4Real Time ชายหลังคาดานซายใหปรากฏดังรูปที่ 18.45 (ขวา)

ขยายภาพ

121. จากรูปที่ 18.45 (ขวา) เขียนเสนตรง โดยใชคําสัง่ Draw4Line ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด คลิกปลายเสนตรงจุดที่ 7 แลวพิมพรีเลทีฟโพลารคอรออรดเิ นท @0.5<135 แลวออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.46 (1)

(1)

(2)

(3)

รูปที่ 18.46

(4)

122. จากรูปที่ 18.46 (1) สรางเสนคูข นาน โดยใชคําสัง่ Modify4Offset ตามวิธีในขอที่ 12 เมือ่ ปรากฏ Specify offset distance... กําหนดระยะหาง 0.03 หนวย เมือ่ ปรากฏ Select object to offset... คลิกเสนจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏ Specify point on side to offset... คลิกจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏ Select object to offset... แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.46 (2)

chap-18.PMD

578

13/10/2549, 1:38

แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

579

123. จากรูปที่ 18.46 (2) ตอเสน โดยใชคําสั่ง Modify4Extend ตามวิธีในขอ 89 เมื่อปรากฏ ขอความ Select boundary edges ... Select objects or <select all>: คลิกบนเสนตรงจุดที่ 3 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to extend... คลิกบนเสนตรงจุดที่ 4 และ 5 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 18.46 (3) ตามวิธีในขอ 17 เมื่อปรากฏ 124. จากรูปที่ 18.46 (3) ตัดเสน โดยใชคําสัง่ Modify4Trim ขอความ Select objects or <select all>: คลิกบนเสนตรงจุดที่ 6 แลวคลิกขวา เมื่อปรากฏ ขอความ Select object to trim ... คลิกบนเสนจุดที่ 7 และ 8 แลวคลิกขวา 125. จากรูปที่ 18.46 (3) ตัดเสนตอไป โดยคลิกขวาเพื่อทําซ้ําคําสั่ง TRIM ตามวิธใี นขอ 17 เมื่อ ปรากฏขอความ Select objects or <select all>: คลิกขวา เพือ่ ใหโปรแกรมเลือกขอบตัดโดย อัตโนมัติ เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ... คลิกบนเสนจุดที่ 9 แลวคลิกขวา จะปรากฏ ดังรูปที่ 18.46 (4) 126. จากรูปที่ 18.46 (4) ตอเสน โดยใชคําสั่ง Modify4Lengthen ตามวิธีในขอ 27 ใชระยะ DElta = 0.05 แลวคลิกเสนจุดที่ 10 (1 ครัง้ เทานัน้ ) แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 18.47 (ซาย) รูปที่ 18.47

127. จากรูปที่ 18.47 (ซาย) คัดลอกชายหลังคา ใหมีระยะหางจากขอบเสาไปทางซายเทากับ 0.6 หนวย โดยใชคําสัง่ Modify4Copy {จากรูปที่ 18.47 (ซาย) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด} {คลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Window} Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ} Specify base point or [Displacement] : {คลิกจุดที่ 3} Specify second point or <use first point as displacement>: {คลิกบนปุม  (From) } Base point: {คลิกจุดที่ 4} : {ปอนคารีเลทีฟโพลาคอรออรดเิ นท @0.5<180 แลวกดปุม  Q} Specify second point or [Exit/Undo]<Exit>: {คลิกขวาหรือกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 18.47 (ขวา)} Command: _copy Select objects:

Note

หากใชคําสัง่ นีแ้ ลวไมสามารถคัดลอกวัตถุไปยังตําแหนงทีถ่ ูกตอง เราจะตองตรวจสอบคําสัง่ Tools4 Options ในแถบคําสัง่ User Preferences วาปุม เรดิโอ Keyboard entry except scripts ถูกเลือกอยูห รือไม หากปุม เรดิโอ Running object snap ถูกเลือก การใชออฟเจกทสแนป From จะทํางานผิดพลาด

128. จากรูปที่ 18.47 (ขวา) เขียนเสนตรง โดยใชคําสัง่ Draw4Line ใหแนใจวา # อยูในสถานะเปด คลิกปลายเสนตรงจุดที่ 10 แลวพิมพรเี ลทีฟโพลารคอรออรดิเนท @7<35 แลวออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.48 (ซาย) รูปที่ 18.48

chap-18.PMD

579

13/10/2549, 1:38

580

129. จากรูปที่ 18.48 (ซาย) สรางเสนคูขนาน โดยใชคําสัง่ Modify4Offset ตามวิธีในขอที่ 12 เมือ่ ปรากฏ Specify offset distance... กําหนดระยะหาง 0.05 หนวย เมือ่ ปรากฏ Select object to offset... คลิกเสนจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏ Specify point on side to offset... คลิกจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏ Select object to offset... แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.48 (ขวา)

2D Drafting

# 130. จากรูปที่ 18.48 (ขวา) เขียนเสนตรง โดยใชคําสัง่ Draw4Line ใหแนใจวา อยูใ นสถานะเปด คลิกปลายเสนตรงจุดที่ 3 และ 4 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 18.49 (ซาย) รูปที่ 18.49

131. จากรูปที่ 18.49 (ซาย) สรางสวนโคงฟลเลท โดยใชคําสัง่ Modify4Fillet เมือ่ ปรากฏขอความ Select first object... พิมพ R เพื่อเลือก Radius เมื่อปรากฏขอความ Specify fillet radius... กําหนดรัศมีเทากับ 0.05 เมือ่ ปรากฏขอความ Select first object... คลิกบนเสนจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏ ขอความ Select second object... คลิกเสนจุดที่ 2 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 18.49 (กลาง) รูปที่ 18.50

133. ใชคําสัง่ View4Zoom4Realtime ใหปรากฏดังรูปที่ 18.50

132. จากรูปที่ 18.49 (กลาง) คัดลอกเสน ขอบหลังคา โดยใชคําสั่ง Modify4 Copy ตามวิธีในขอ 43 เมื่อ ปรากฏขอความ Select objects คลิก จุดที่ 1, 2 และ 3 แลวคลิกขวา เมื่อ ปรากฏข อ ความ Specify base point... ใหแนใจวา # อยูใ น สถานะเปด คลิกจุดที่ 4 เมื่อปรากฏ ขอความ Specify second point... คลิ กตรงจุ ดที่ 5 แล วคลิ กขวา จะ ปรากฏดังรูปที่ 18.49 (ขวา)

และใชคําสัง่ View4Pan4Real Time

ขยายภาพ

134. จากรูปที่ 18.50 คัดลอกวัตถุแบบพลิกกลับ โดยใชคําสัง่ Modify4Mirror {จากรูปที่ 18.50 ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด} {คลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Crossing} Select objects: {คลิกจุดที่ 3 และ 4 เพือ ่ เลือกวัตถุเพิม่ เติมแบบ Window} Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ} Specify first point of mirror line: M2P {พิมพ M2P เพือ ่ หาจุดกึง่ กลางระหวางจุด 2 จุด} First point of mid: {เลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 5 เมื่อปรากฏ หรือ คลิกซาย} Second point of mid: {เลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 6 เมื่อปรากฏ หรือ คลิกซาย} Specify second point of mirror line: {ใหแน ใจวา * ) อยูในสถานะเปด เลื่อนเคอรเซอรขึ้นในแนวดิ่งไปยังประมาณจุดที่ 8 แลวคลิกซาย } Erase source objects? [Yes/No] : {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ } Command: _mirror

Select objects:

135. จากรูปที่ 18.50 คัดลอก วัตถุแบบพลิกกลับตอไป โดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ OFFSET หรือ ใชคําสัง่ Modify4Mirror

chap-18.PMD

580

13/10/2549, 1:38

แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

581

{จากรูปที่ 18.50 ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด} {คลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Crossing} Select objects: {คลิกจุดที่ 3 และ 4 เพือ ่ เลือกวัตถุเพิม่ เติมแบบ Window} Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ} Specify first point of mirror line: M2P {พิมพ M2P เพือ ่ หาจุดกึง่ กลางระหวางจุด 2 จุด} หรือ คลิกซาย} First point of mid: {เลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 5 เมื่อปรากฏ Second point of mid: {เลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 7 เมื่อปรากฏ หรือ คลิกซาย} Specify second point of mirror line: {ใหแน ใจวา * ) อยูในสถานะเปด เลื่อนเคอรเซอรขึ้นในแนวดิ่งไปยังประมาณจุดที่ 9 แลวคลิกซาย } Erase source objects? [Yes/No] : {คลิกขวาหรือกดปุม  Q จะปรากฏดังรูปที่ 18.51} Command: _mirror Select objects:

136. จากรูปที่ 18.51 ตัดเสนให บรรจบกั น โดยใช คํ า สั่ ง Modify4Fillet ตามวิธใี น ขอ 26 เมื่อปรากฏขอความ Select first object... พิมพ R รูปที่ 18.51 เพือ่ เลือก Radius เมือ่ ปรากฏ ข อ ความ Specify fillet radius... กําหนดรัศมีเทากับ 0 (ศูนย) เมือ่ ปรากฏขอความ Select first object... พิมพ M เพือ่ เลือก Multiple เมือ่ ปรากฏขอความ Select first object... คลิกเสนจุดที่ 1-2, 3-4, 5-6, 7-8 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 18.52 รูปที่ 18.52

137. จากรูปที่ 18.52 ตัดเสน โดยใชคําสัง่ Modify4Trim ตามวิธใี นขอ 17 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects or <select all>: คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ... คลิกบนเสนจุดที่ 2 และ 3 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ 138. จากรูปที่ 18.52 คัดลอกวัตถุแบบพลิกกลับ โดยใชคําสัง่ Modify4Mirror {จากรูปที่ 18.52 ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด} {คลิกจุดที่ 4 และ 5 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Crossing} Select objects: {คลิกจุดที่ 6 และ 7 เพือ ่ เลือกวัตถุเพิม่ เติมแบบ Window} Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ} Command: _mirror

Select objects:

chap-18.PMD

581

13/10/2549, 1:38

582

Specify first point of mirror line:

ปรากฏ

คลิกซาย}

{เลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดกึ่งกลางของเสนประมาณจุดที่ 8 เมื่อ

2D Drafting

{ใหแนใจวา * ) อยูในสถานะเปด เลื่อนเคอรเซอรขึ้นในแนวดิ่งไปยังประมาณจุดที่ 9 แลวคลิกซาย } Erase source objects? [Yes/No] : {คลิกขวาหรือกดปุม  Q จะปรากฏดังรูปที่ 18.53} Specify second point of mirror line:

รูปที่ 18.53

139. จากรูปที่ 18.53 ตัดเสนใหบรรจบกัน โดยใชคําสัง่ Modify4Fillet ตามวิธีในขอ 26 เมื่อ ปรากฏขอความ Select first object... พิมพ R เพือ่ เลือก Radius เมือ่ ปรากฏ ขอความ Specify fillet radius... กําหนดรัศมีเทากับ 0 (ศูนย) เมือ่ ปรากฏขอความ Select first object... พิมพ M เพือ่ เลือก Multiple เมือ่ ปรากฏขอความ Select first object... คลิกเสนจุดที่ 1-2, 3-4 แลวคลิกขวา 140. จากรูปที่ 18.53 ตอเสน โดยใชคาํ สัง่ Modify4Extend ตามวิธใี นขอ 89 เมือ่ ปรากฏขอความ Select boundary edges ... Select objects or <select all>: คลิกขวาเพือ่ ใหโปรแกรมเลือก ขอบเขตในการตอเสนโดยอัตโนมัติ เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to extend... คลิกเสน จุดที่ 5 สองครัง้ และคลิกเสนจุดที่ 6 สองครัง้ แลวคลิกขวา Note

หากไมสามารถตอเสนจนสุดปลายหลังคาได ในขณะที่ปรากฏขอความ Select object to extend... ใหพิมพ E เพื่อเลือก Edge เลือกพิมพ E เพื่อเลือก Extend เราจะสามารถตอเสนจนสุดปลายหลังคาได

141. ขยายชิน้ งานใหปรากฏเต็มพืน้ ทีว่ าดภาพ โดยใชคําสัง่ View4Zoom4Extents ดังรูปที่ 18.54

จะปรากฏ

รูปที่ 18.54

Note

chap-18.PMD

ตอไปเราจะระบายลวดลายแฮทชของหลังคากระเบื้องซีแพคโมเนีย แตใน AutoCAD ไมมีลวดลาย ดังกลาวใหเลือกใชงาน ดังนั้น เราจึงตองสรางลวดลายแฮทชกระเบือ้ งซีแพคขึ้นมาใชงานดวยตนเอง

582

13/10/2549, 1:38

แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

583

142. สรางเลเยอรใหม โดยใชคําสัง่ Format4Layer แลวคลิกบนปุม ตัง้ ชือ่ เลเยอรใหมคอื Cpac รหัสสี Color = 60 (สีเขียวออน), Linetype = Continuous, Lineweight = 0.13 mm. เพือ่ กําหนดใหเลเยอร Cpac เปนเลเยอร เก็บเสนตางๆ ของกระเบือ้ งซีแพค แลวคลิกบนปุม ใชงาน(Current layer) จะปรากฏดังรูปที่ 18.55 รูปที่ 18.55

143. ใหแนใจวา เปนเลเยอรใชงาน เขียนเสนตรง ณ ตําแหนงใดๆ บนพืน้ ที่ วางของพืน้ ทีว่ าดภาพ โดยใชคําสัง่ Draw4Line {คลิก ณ จุดใดๆ บนพืน้ ทีว่ าดภาพ} {พิมพ @0.185<90 แลวกดปุม Q } Specify next point or [Undo]: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q จะปรากฏดังรูปที่ 18.56 (1)} Command: _line Specify first point:

Specify next point or [Undo]:

144. จากรูปที่ 18.56 (1) สรางเสนคูข นาน โดยใชคําสัง่ Modify4Offset ตามวิธีในขอที่ 12 เมือ่ ปรากฏ Specify offset distance... กําหนดระยะหาง 0.142 หนวย เมือ่ ปรากฏ Select object to offset... คลิกเสนจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏ Specify point on side to offset... คลิกจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏ Select object to offset... แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.56 (2) 145. จากรูปที่ 18.56 (2) เขียนเสนโคง โดยใชคําสัง่ Draw4Arc4Start, End, Direction คลิกจุดที่ 1 และจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify tangent direction... พิมพ @1<48 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 18.56 (3)

(1)

รูปที่ 18.56

(2)

(3)

(4)

(5)

146. จากรูปที่ 18.56 (3) เขียนสวนโคงตอเนือ่ ง โดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ ARC แลวคลิกขวา อีกครัง้ เพื่อเขียนเสนโคงตอเนือ่ ง เมื่อปรากฏขอความ Specify end point of arc: ใหพมิ พรเี ลทีฟ โพลารคอรออรดิเนท @.053<0 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 18.56 (4) 147. จากรูปที่ 18.56 (4) แปลงเสนโคงและรวมใหเสนโคงทัง้ สองเปนเสนโพลีไลน โดยใชคําสัง่ Modify 4Object4Polyline เมือ่ ปรากฏขอความ Select polyline... คลิกบนเสนโคงจุดที่ 5 จะปรากฏขอความ Object selected is not a polyline Do you want to turn it into one? ใหคลิกขวาหรือกดปุม Q จะปรากฏขอความ Enter an option... ใหพมิ พ J เพือ่ เลือกตัวเลือก Join เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: คลิกบนสวนโคงจุดที่ 6 แลวคลิกขวา 148. จากรูปที่ 18.56 (4) สรางเสนคูข นาน โดยใชคําสัง่ Modify4Offset ตามวิธใี นขอที่ 12 เมือ่ ปรากฏ Specify offset distance... กําหนดระยะหาง 0.154 หนวย เมือ่ ปรากฏ Select object to offset... คลิกเสนจุดที่ 5 เมือ่ ปรากฏ Specify point on side to offset... คลิกจุดที่ 7 เมือ่ ปรากฏ Select object to offset... แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.56 (5)

chap-18.PMD

583

13/10/2549, 1:38

584

149. จากรูปที่ 18.56 (5) แปลงเสนตรงและเสนโคงใหเปนบล็อคทัง้ หมด โดยใชคําสัง่ Draw4Block จะปรากฏไดอะล็อค Block Definition ดังรูปที่ 17.40 (ซาย) ตัง้ ชือ่ บล็อค Cpac ใน 4Make แถบรายการ Name คลิกบนปุม Select objects แลวคลิกจุดที่ 8 และ 9 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Window แลวกดปุม Q เพือ่ กลับสูไ ดอะล็อค ใหแนใจวาปุมเรดิโอ Delete ถูกเลือกอยู คลิกบนปุม Pick Point ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 10 เมื่อปรากฏมารคเกอร ใหคลิกซาย ใหแนใจวาปรากฏเครื่องหมาย บนเช็คบอกซ Allow exploding ใหแนใจวา Block unit = Meters แลวคลิกบนปุม OK บล็อค Cpac จะถูกสราง เก็บไวในหนวยความจําพรอมทัง้ ลบวัตถุทถี่ กู เลือกทัง้ หมด

2D Drafting

Note

กอนแปลงเสนตรงและเสนโคงใหเปนบล็อค ตองแนใจวา ในคําสัง่ Format4Unit มีการเลือกหนวยวัด Meters ในแถบรายการ Units to scale inserted contents มิฉะนั้น วัตถุที่ถูกเลือกจะเปลี่ยนสเกลซึ่งจะ ทําใหมีขนาดไมถูกตอง

150. จากรูปที่ 18.54 เริม่ ระบายลวดลายแฮทช โดยใชคําสัง่ Express4Draw4Super Hatch เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค SuperHatch คลิกบนปุม Block... จะปรากฏไดอะล็อค SuperHatch - Insert คลิกบนปุม Block... จะปรากฏไดอะล็อค Defined Blocks คนหาและคลิกชือ่ บล็อค Cpac คลิก บนปุม OK แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏขอความดังนี้ Command: _superhatch CPAC Units: Meters

Conversion:

# อยูใ นสถานะเปด} {จากรูปที่ 18.54 ใหแนใจวา {โปรแกรมรายงานหนวยของบล็อคและสเกลแฟคเตอร}

1.0000

Specify insertion point or [Basepoint/Scale/X/Y/Z/Rotate/PScale/PX/PY/PZ/PRotate]:

{เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 1 คลิกซาย เมือ่ ปรากฏมารคเกอร หรือ ตรงจุดที่ 1 } {กดปุม Q } Enter Y scale factor <use X scale factor>: {กดปุม  Q} Specify rotation angle <0>: {กดปุม  Q} Command: Is the placement of this BLOCK acceptable? {Yes/No] : {กดปุม  Q} Enter X scale factor, specify opposite corner, or [Corner/XYZ] <1>:

Select a window around the block to define column and row tile distances. Current rectangle modes: Width=0.0098 Specify block [Extents] First corner <magenta rectang>:

{กดปุม Q }

Current rectangle modes: Width=0.0098 Selecting visible objects for boundary detection...Done.

{คลิกตรงจุดที่ 2 } {คลิกตรงจุดที่ 3 } Specify an option [Advanced options] : {คลิกตรงจุดที่ 4 } Specify an option [Advanced options] : {คลิกขวาหรือกดปุม  Q} Specify an option [Advanced options] : Specify an option [Advanced options] :

The hatch object is very small in relation to the boundary data. The operation may take a while to complete. Are you sure you want to do this? [Yes/No] :

คําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.57}

{คลิกขวาหรือกดปุม Q เพือ่ ออกจาก

151. สรางเลเยอรใหม โดยใชคําสัง่ Format4Layer แลวคลิกบนปุม ตัง้ ชือ่ เลเยอรใหมคอื Wood รหัสสี Color = Yellow (สีเหลือง), Linetype = Continuous, Lineweight = 0.13 mm. เพือ่ เก็บเสนไมฝา แลวคลิกบนปุม กําหนดใหเลเยอร Wood เปนเลเยอรใชงาน(Current layer) 152. จากรูปที่ 18.57 ระบายลวดลายแฮทช โดยใชคําสัง่ Draw4Hatch เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Hatch and Gradient เลือกลวดลาย Line จากแถบรายการ Pattern กําหนดสเกล 0.03 ใน

chap-18.PMD

584

13/10/2549, 1:38

แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

585

รูปที่ 18.57

อิดิทบอกซ Scale ใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Associative ใหแนใจวาไม ปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Seperate hatches คลิกบนปุม เรดิโอ Specified origin แลวคลิกบนปุม Click to set new origin แลวเลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร หรือ คลิกซาย เมือ่ กลับมายังไดอะล็อค คลิกบนปุม Add: Pick points จะปรากฏขอความ Pick internal point... แลวคลิกตรงจุดที่ 2, 3, 4 และ 5 แลวคลิกขวา เลือกคําสัง่ Preview แลว คลิกขวาอีกครัง้ เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 18.58 รูปที่ 18.58

Note

chap-18.PMD

เปนอันวาเราไดเขียนรูปดานหนาของบานเดีย่ ว 2 ชัน้ เสร็จเรียบรอยแลว หากในแบบแปลนยังมีภาพฉาย แสดงรูปดานอืน่ ๆ อาทิ เชน รูปดานซาย รูปดานขวา รูปดานหลังทีต่ อ งเขียนตอไป เราก็สามารถใชพนื้ ที่ วางๆ ในไฟลเดียวกันนี้เขียนรูปดานอื่นๆ ได เมื่อเขียนรูปดานอื่นๆ เสร็จทั้งหมดแลว หากเราใช Sheet Set Manager ในการจัดหนากระดาษและกําหนดสเกล เราจะตองบันทึกมุมมอง(Views) เพือ่ ใช ในการสรางภาพฉายรูปดานตางๆ ของบานและอาจจะบันทึกมุมมอง(Views)ของสวนประกอบ ตางๆ เพื่อใชในการสรางภาพฉายดวย อาทิ เชน หนาตางประตู เปนตน อนึ่ง การเขียนเสนบอกขนาดและ การเขียนตัวอักษร เราสามารถเริม่ ตนหลังจากที่มีการจัดหนากระดาษและกําหนดสเกลดวย Sheet Set Manager เสร็จเรียบรอยแลว โดยเราสามารถ เลือกทีจ่ ะเขียนเสนบอกขนาดและตัวอักษรไวบนโมเดล สเปสหรือบนพืน้ ทีเ่ ลเอาทเปเปอรไดตามตองการ

585

13/10/2549, 1:38

586

Note

ผูเ ขียนไมสามารถทีจ่ ะแสดงขัน้ ตอนการเขียนรูปดานอืน่ ๆ อาทิ เชน รูปดานซาย รูปดานขวา รูปดานหลัง เพิม่ เติมได เนือ่ งจากจะสิน้ เปลืองหนากระดาษไปโดยเปลาประโยชน เพราะการเขียนรูปดานอืน่ ๆ ก็ใช วิธีการและขั้นตอนตามที่ไดอธิบายมาแลวในแบบฝกหัดนี้ ผูอานสามารถเขียนรูปดานอื่นๆ ไดดวย ตนเองโดยเพียงแตหาพืน้ ที่วา งๆ ในไฟลเดียวกันนี้ ณ ตําแหนงอื่นทีม่ ีระยะหางที่เหมาะสม แลวลงมือ เขียนรูปดานอืน่ ๆ ตอไปไดทนั ที โดยไมตอ งสนใจวาตําแหนงของรูปดานทีจ่ ะเขียนจะอยู ณ ตําแหนงใด แตก็ไมควรจะอยูไกลกันกับรูป ดานอื่นๆ มากนัก เพื่อสะดวกในการมองเห็น ในการพิจารณาวา รูปชิน้ งานใดจะถูกเขียนในไฟลใดนัน้ ถาชิน้ งานปรากฏบนแบบแปลนทีพ่ มิ พลงกระดาษแผนเดียวกัน ชิ้นงานเหลานั้นควรจะตองอยูในไฟลเดียวกันดวย ตัวอยาง เชน แบบแปลน 1 แผน มีภาพฉายแสดง รูปดานหนา รูปหนาหลัง รูปดานซายและรูปดานขวา เราควรจะเขียนชิน้ งานรูปดานหนา รูปหนาหลัง รูปดานซายและรูปดานขวาพื้นที่โมเดลสเปสซึ่งอยูในไฟล .dwg เดียวกัน เปนตน อยางไรก็ตาม เรา สามารถแยกเขียนในแตละไฟล .dwg ไดเชนเดียวกัน เพราะ Sheet Set Manager จะสามารถชวยใน การจัดการไฟล .dwg จํานวนมากไดอยางสะดวก

2D Drafting

Note

หากเราตัดสินใจวาจะไมใช Sheet Set Manager เราสามารถนํารูป ดานนี้ไปจัดหนากระดาษ สราง วิวพอรทและกําหนดมาตราสวนในเลเอาทเปเปอรสเปสดวยวิธีเดิมไดทันที อยางไรก็ตาม เราควรใช Sheet Set Manager เพือ่ ความสะดวกรวดเร็วและเพือ่ ใหเกิดความสัมพันธระหวางขอมูลในแบบแปลน

Note

ในทีน่ ี้ เราจะใชรูปดานหนาดังรูปที่ 15.58 เพียงรูปเดียว แตจะสรางภาพฉายแสดงมุมมองรูปดานหนา รูปขยายประตู รูปขยายหนาตางในมาตราสวนทีแ่ ตกตางลงบนกระดาษเลเอาทแผนเดียวกัน โดยทัง้ หมด จะทําผาน Sheet Set Manager โดยมีขั้นตอนดังตอไปนี้

153. เริม่ บันทึกมุมมองของรูปดานหนาของบานเดีย่ วหลังนี้ โดย กอนอืน่ ใชคาํ สัง่ View4Zoom4Extents เพือ่ ขยายรูป ดานใหปรากฏเต็มพื้นที่วาดภาพ ใชคําสั่ง View4Zoom 4Realtime ยอชิน้ งานใหมขี นาดเล็กลงเล็กนอยดังรูปที่ 18.58 (ประมาณ 80-90 เปอรเซนตของพืน้ ทีว่ าดภาพ) 154. ใชคําสัง่ View4Named Views เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค View คลิกบนปุม New จะปรากฏไดอะล็อค New View ให พิมพชื่อภาพฉาย “รูปดาน 1” ในอิดิทบอกซ View Name พิมพชอื่ กลุม ยอย “แบบแปลนแสดงรูปดาน” ในอิดิทบอกซ View Category คลิกปุม OK บนไดอะล็อค New View คลิก ปุม OK บนไดอะล็อค View ภาพฉาย “รูปดาน 1” จะถูก บันทึกพรอมนําไปใชงานใน Sheet Set Manager

รูปที่ 18.59

chap-18.PMD

Note

หากชิ้นงานปรากฏเต็มพื้นที่วาดภาพ เมื่อมีการสรางวิวพอรทดวยคําสั่ง Place on Sheet วิวพอรทจะ ฟตพอดีกับชิน้ งานเกินไป ซึง่ ดูแลวอาจจะไมเหมาะสม ดังนัน้ จึงควรยอภาพใหมขี นาดเล็กลงประมาณ 80-90 เปอรเซนตของพืน้ ทีว่ าดภาพ

Note

หากไมตองการสรางกลุมยอยของภาพฉาย ใหปลอยอิดิทบอกซ View Category วางไว แตถาหาก ตองการจัดกลุมภาพฉายใน กลุม ยอยของ View List ใน Sheet Set Manager ใหพิมพช่อื กลุมยอยเขาไป ในอิดทิ บอกซ View Category ชือ่ กลุม ยอยจะปรากฏ ใน View List ของ Sheet Set Manager โดยอัตโนมัติ เมือ่ มีการสอดแทรกภาพฉายดวยคําสัง่ Place on Sheet ซึง่ การสรางกลุมยอยจะชวยใหเราสามารถแยก ประเภทภาพฉายและชวยใหการคนหาภาพฉายกระทําไดงายและรวดเร็วมากขึ้น

586

13/10/2549, 1:38

แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

587

155. ขยายภาพ โดยใชคําสัง่ View4Zoom 4Realtime ปรากฏดังรูปที่ 18.60 (ซาย)

และ View4Pan4Real Time

ให

รูปที่ 18.60

156. บันทึกมุมมองภาพฉายของรูปที่ 18.60 (ซาย) โดยใชคําสัง่ View4Named Views เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค View คลิกบนปุม New จะปรากฏไดอะล็อค New View ใหพมิ พชอื่ ภาพฉาย “แบบขยายหนาตาง 1” ในอิดิทบอกซ View Name พิมพชื่อกลุมยอย “แบบแปลนแสดง รูปหนาตาง” ในอิดทิ บอกซ View Category คลิกปุม OK บนไดอะล็อค New View คลิกปุม OK บนไดอะล็อค View 157. ขยายภาพ โดยใชคําสัง่ View4Zoom 4Realtime ปรากฏดังรูปที่ 18.60 (กลาง)

และ View4Pan4Real Time

ให

158. บันทึกมุมมองภาพฉายของรูปที่ 18.60 (กลาง) โดยใชคําสัง่ View4Named Views เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค View คลิกบนปุม New จะปรากฏไดอะล็อค New View ใหพมิ พชอื่ ภาพฉาย “แบบขยายหนาตาง 2” ในอิดิทบอกซ View Name เลือกชื่อกลุมยอย “แบบแปลนแสดงรูป หนาตาง” จากแถบรายการ View Category คลิกปุม OK บนไดอะล็อค New View คลิกปุม OK บนไดอะล็อค View 159. ขยายภาพ โดยใชคําสั่ง View4Zoom 4Realtime ใหปรากฏดังรูปที่ 18.60 (ขวา)

และ View4Pan4Real Time

160. บันทึกมุมมองภาพฉายของรูปที่ 18.60 (ขวา) โดยใชคําสัง่ View4Named Views เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค View คลิกบนปุม New จะปรากฏไดอะล็อค New View ใหพมิ พชอื่ ภาพฉาย “แบบขยายหนาตาง 3” ในอิดิทบอกซ View Name เลือกชื่อกลุมยอย “แบบแปลนแสดงรูป หนาตาง” จากแถบรายการ View Category คลิกปุม OK บนไดอะล็อค New View คลิกปุม OK บนไดอะล็อค View 161. ขยายภาพ โดยใชคําสั่ง View4Zoom4Realtime และ View4Pan4Real Time ใหปรากฏดังรูปที่ 18.61 162. บันทึกมุมมองภาพฉายของรูปที่ 18.61 โดยใชคาํ สัง่ View 4Named Views เมื่อปรากฏไดอะล็อค View คลิก บนปุม New จะปรากฏไดอะล็อค New View ใหพมิ พชอื่ ภาพฉาย “แบบขยายประตู 1” ในอิดทิ บอกซ View Name พิ มพ ชื่ อกลุ มย อ ย “แบบแปลนแสดงรู ป ประตู ” ใน อิดิทบอกซ View Category คลิกปุม OK บนไดอะล็อค New View คลิกปุม OK บนไดอะล็อค View ดังรูปที่ 18.62

รูปที่ 18.61

Note

chap-18.PMD

ตรวจสอบมุมมอง Views ทั้งหมดทีไ่ ดบันทึกไว โดยใชคําสั่ง View4Named Views เมือ่ ปรากฏ ไดอะล็อค View คลิกบนชือ่ ที่ตอ งการตรวจสอบ แลวคลิกบนปุม Set Current แลวคลิกบนปุม OK

587

13/10/2549, 1:38

588

163. กําหนดมุมมองรูปดาน 1 เปนมุม มอง(View)ใชงาน โดยใชคําสั่ง View4Named Views เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค View คลิกบน ชือ่ รูปดาน 1 แลวคลิกบนปุม Set Current แลวคลิกบนปุม OK เพือ่ ออกจากไดอะล็อค

2D Drafting

รูปที่ 18.62

Note

164. เปนอันเสร็จสิน้ สําหรับการเตรียม ชิ้ นงานสํ า หรั บ นํ า ไปจั ด หน า กระดาษใน Sheet Set Manager เราจะตองใชคําสั่ง File4Save As เพือ่ บันทึกไฟลแบบแปลนทีเ่ ก็บชิน้ งานนี้ เมื่อปรากฏไดอะล็อค Save Drawing As ใหแนใจวา Files of type ปรากฏเปน AutoCAD 2004 Drawing (*.dwg) เลือกโฟลเดอร C:\Documents and Settings\User name\My Documents\AutoCAD Sheet Sets ตัง้ ชือ่ ไฟล House.dwg แลวคลิกปุม Save เพือ่ บันทึกไฟลชิ้นงานและออกจากไดอะล็อค แลวใชคําสั่ง File4Close เพือ่ ปดไฟล House.dwg ไฟล House.dwg ที่ถกู สรางในแบบฝกหัดนีไ้ ดถกู บันทึกไวในโฟลเดอร \Exercise\Sheet Sets บนแผน DVD-ROM มัลติมีเดียชวยสอนแนบทายหนังสือคูมือเลมนี้ ผูอ านสามารถคัดลอกมาใชงานตอไปใน แบบฝกหัดนีไ้ ด

165. เริม่ จัดหนากระดาษ โดยเรียกคําสัง่ Tools4Sheet Set Manager จะปรากฏหนาตาง Sheet Set Manager คลิกบนปุม ของแถบคําสัง่ Open แลวเลือกคําสัง่ Open... หรือใชคาํ สัง่ File4 Open Sheet Set จะปรากฏไดอะล็อค Open Sheet Set ขึน้ มาบนจอภาพ ใหคนหาไฟล บานพักเดีย่ ว 2 ชัน้ .dst ซึง่ เราไดสรางไวในแบบฝกหัดบทที่ 17 โดยคลิกบนชือ่ ไฟลแลวคลิกปุม Open หนาตาง Sheet Set Manager จะปรากฏดังรูปที่ 18.63 (ซาย) Note

หากเรายังไมไดทําแบบฝกหัดในบทที่ 17 เราสามารถคัดลอกไฟล บานพักเดีย่ ว 2 ชัน้ .dst จากโฟลเดอร \Exercise\Sheet Sets บนแผน DVD-ROM แนบทายหนังสือไปเก็บไวในโฟลเดอร C:\Documents and Settings\User name\My Documents\AutoCAD Sheet Sets เพื่อใชงานในแบบฝกหัดนี้ (ตองไมลืมปลด สถานะ Read-Only) แลวจึงใชคําสัง่ Tools4Sheet Set Manager เปดออกมาใชงานไดเชนเดียวกัน

รูปที่ 18.63

166. จากรูปที่ 18.63 (ซาย) คลิกขวาบนชื่อชีทเซท บานเดี่ยว 2 ชัน้ เลือกคําสั่ง Properties จะ ปรากฏหนาตาง Sheet Set Properties ดังรูปที่ 11.52 (ซาย-บน) คลิกบนปุม ของอิดทิ บอกซ

chap-18.PMD

588

13/10/2549, 1:38

แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

589

Label block for views เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Select block ใหคลิกบนปุม แลวเลือก AutoCAD Drawing Template (*.dwt) จากแถบรายการ Files of type แลวคนหาและเลือกไฟล MySheetSetTemplate.dwt ทีไ่ ดสรางจากแบบฝกหัดบทที่ 17 แลวคลิกบนปุม Open เมือ่ กลับไป ยังไดอะล็อค Select block เลือกปุม เรดิโอ Choose blocks in the drawing file เลือกบล็อคชือ่ LabelBlock แลวคลิกบนปุม OK อิดทิ บอกซ Label block for views จะปรากฏ LabelBlock(C:\ Documents and Settings\Administrator\My Documents\AutoCAD Sheet Sets\ ของอิดิทบอกซ Callout blocks เมือ่ ปรากฏ MySheetSetTemplate.dwt) คลิกบนปุม ไดอะล็อค List of blocks ใหลบบล็อคทั้งหมดออกจากไดอะล็อค โดยคลิกบนปุม Delete แลวคลิกบนปุม Add จะปรากฏไดอะล็อค Select block ขึน้ มาบนจอภาพ ใหคลิกบนปุม แลวเลือก AutoCAD Drawing Template (*.dwt) จากแถบรายการ Files of type แลวเลือกไฟล MySheetSetTemplate.dwt ทีไ่ ดสรางจากแบบฝกหัดบทที่ 17 แลวคลิกบนปุม Open เมือ่ กลับไป ยังไดอะล็อค Select block เลือกปุม เรดิโอ Choose blocks in the drawing file เลือกบล็อคชือ่ CalloutBubble ใหปรากฏแถบสีนา้ํ เงิน แลวเลือกบล็อคทีอ่ ยูถ ดั ลงไปดานลางทัง้ หมด โดยกดปุม S แลวคลิกชือ่ บล็อค Section - Right ซึง่ อยูใ นลําดับสุดทาย แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏ ไดอะล็อค List of blocks ดังรูปที่ 18.63 (ขวา) แสดงชือ่ บล็อคทัง้ หมดทีถ่ กู เลือก แลวคลิกบนปุม OK อีกครัง้ เพือ่ กลับไปยังหนาตาง Sheet Set Properties ดังรูปที่ 11.52 (ซาย-บน) Note

หากเรายังไมไดทําแบบฝกหัดในบทที่ 17 เราสามารถคัดลอกไฟล MySheetSetTemplate.dwt จาก โฟลเดอร \Exercise\Sheet Sets บนแผน DVD-ROM แนบทายหนังสือไปเก็บไวในโฟลเดอร C:\ Documents and Settings\User name\My Documents\AutoCAD Sheet Sets เพื่อใชงานในขอ 166 ได

Note

ในไฟล MySheetSetTemplate.dwt ที่อยูในโฟลเดอร \Exercise\Sheet Sets บนแผน DVD-ROM มี การสรางบล็อคชือ่ LabelBlock ซึง่ เก็บบล็อคสัญลักษณแสดงชือ่ ภาพฉายและมาตราสวนของวิวพอรท เมื่อมีการสรางภาพฉาย หากมีการเลือก Label block for views จะปรากฏบล็อค LabelBlock แสดงชื่อ และสเกลจริงของวิวพอรทโดยอัตโนมัติ ซึง่ ผูเ ขียนไดแสดงขัน้ ตอนและวิธกี ารสรางบล็อค แสดงชือ่ และ สเกลจริงของวิวพอรทไวแลวในทายแบบฝกหัดบทที่ 17 อยางไรก็ตาม ผูอา นสามารถทําตามขั้นตอน เพื่อสรางบล็อคดวยตนเอง โดยสรางฟลดเก็บชื่อภาพฉายดวยคําสั่ง Insert4Field เลือก Sheet Set ในแถบรายการ Field category เลือก SheetSetPlaceholder ในชองหนาตาง Field names เลือก ViewTitle ในชองหนาต าง Placeholder type แล วสร างฟลด เก็บ มาตราส วนโดยเลือก ViewportScale ใน ชองหนาตาง Placeholder type เลือกฟอรแมต 1:# ในชองหนาตาง Temporary value แลวจึงแปลง ฟลดทั้งสองใหเปนบล็อค จึงจะบันทึกลงในไฟล MySheetSetTemplate.dwt แลวจึงจะสามารถนํา บล็อคไปใชใน Label block for views ได

167. ในขณะทีย่ งั คงปรากฏหนาตาง Sheet Set Properties ดังรูปที่ 11.52 (บน-ซาย) คลิกบนปุม ของ Sheet storage location เพือ่ ระบุโฟลเดอรทจี่ ะจัดเก็บไฟลแบบแปลนหรือชีททัง้ หมด โดย เลือกโฟลเดอร C:\ Documents and Settings\User name\My Documents\AutoCAD Sheet Sets 168. ในขณะที่ยังคงปรากฏหนาตาง Sheet Set Properties ดังรูปที่ 11.52 (บน-ซาย) คลิกบนปุม ของ Sheet creation template เพือ่ ระบุโฟลเดอรทจี่ ดั เก็บไฟลตารางรายการแบบทีจ่ ะนํา มาใชงานกับ Sheet ทีส่ รางใหม เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Select layout as Sheet Template ใหคลิก บนปุม แลวเลือกไฟล MySheetSetTemplate.dwt ในโฟลเดอร C:\ Documents and Settings\User name\My Documents\AutoCAD Sheet Sets หรือ C:\Documents and Settings\Administrator\Local Settings\Application Data\Autodesk\AutoCAD 2006\R16.2\ enu\Templateแลวคลิกบนปุม Open ใหเลือกเลเอาท ISO-A3-M (เนื่องจากชิ้นงานมีหนวย เปนเมตร) แลวคลิกบนปุม OK ของไดอะล็อค Select layout as Sheet Template แลวคลิกบนปุม OK ของหนาตาง Sheet Set Properties จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 18.64 (ซาย) ถามวาเราตอง การอับเดทการเปลีย่ นแปลงในกลุม ยอยซับเซทดวยหรือไม ในทีน่ ใี้ หคลิกบนปุม Yes

chap-18.PMD

589

13/10/2549, 1:38

590 รูปที่ 18.64

2D Drafting

169. จากรู ปที่ 18.63 (ซ า ย) คลิ ก แถบคํ า สั่ ง Resource Drawings บน Sheet Set Manager คลิกขวาบนไอคอน Add New Location เลือก คําสัง่ Add New Location คนหาโฟลเดอร C:\Documents and Settings\User name\My Documents\ AutoCAD Sheet Sets แลว คลิกปุม Open จะปรากฏชือ่ ไฟล House.dwg คลิกบนเครื่องหมาย + ของไฟล จะปรากฏรายชือ่ ของ ภาพฉายทีไ่ ดบนั ทึก ไวในคําสัง่ View4Named Views ดังรูปที่ 18.64 (ขวา)

รูปที่ 18.65

170. จากรูปที่ 18.64 (ขวา) เริม่ สรางชีทแผนวางๆ ขึ้นมาใหม โดยคลิกแถบคําสั่ง Sheet List แลว คลิกขวาบนกลุม ยอย(Subset)ของ แบบสถาปตยกรรม ซึง่ ปรากฏในชองหนาตาง Sheets แลว เลือกคําสัง่ New Sheet จะปรากฏไดอะล็อค New Sheet ปอนหมายเลขแผน A-01 ในอิดทิ บอกซ Number ปอนชือ่ ชีท แบบแสดงรูปดานหนา ในอิดิทบอกซ Sheet title จะปรากฏชือ่ ไฟล .dwg ในอิดทิ บอกซ File name ดังรูปที่ 18.65 (ซาย) แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏชือ่ ชีทใหม A-01 - แบบแสดงรูปดานหนา บนชองหนาตาง Sheets ของ Sheet List ใน Sheet Set Manager ดังรูปที่ 18.65 (ขวา)

171. จากรูปที่ 18.65 (ขวา) เริม่ จัดหนากระดาษ โดยคลิกขวาบนชือ่ ชีท A-01 - แบบแสดง รูปดานหนา เลือกคําสัง่ Open จะปรากฏ ตารางรายการแบบโดยมีตนแบบมาจาก เทมเพล็ทไฟล MySheetSetTemplate.dwt ดังรูปที่ 18.66 172. จากรูปที่ 18.66 เริม่ สรางภาพฉาย โดยคลิกแถบคําสัง่ Resource Drawings บน หนาตาง Sheet Set Manager ใหแน ใจว าเลเยอรใช งานเป นเลเยอร คลิ ก ขวาบนไอคอน เลือกคําสั่ง Place on Sheet เมือ่ ปรากฏขอความ Specify insertion point: ใหคลิกขวา จะปรากฏช็อทคัทเมนูแสดงสเกลตางๆ ดังรูปที่ 18.67 (ซาย) หาก ไมปรากฏสเกลทีต่ อ งการ เราสามารถเลือกสเกลทีใ่ กลเคียงไปกอน ซึง่ เราสามารถเปลีย่ นสเกลใน ภายหลังได ในทีน่ ี้ ใหเลือกสเกล 1:75 แลวคลิกซายประมาณจุดที่ 1 จะปรากฏดังรูปที่ 18.67 (ขวา)

chap-18.PMD

590

13/10/2549, 1:38

แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

591 รูปที่ 18.66

Note

หากไมปรากฏมาตราสวนหรือสเกลทีต่ อ งการใชงานบนเคอรเซอรเมนูดงั รูปที่ 18.67 (ซาย) ใหใชคําสัง่ Format4Scale List แลวคลิกบนปุม Add พิมพสเกลทีต่ อ งการใหปรากฏบนเคอรเซอรเมนูในอิดทิ บอกซ Name appearing in scale list ปอนมาตราสวนในอิดทิ บอกซ Paper units และ Drawing units ตามลําดับ

Note

จากรูปที่ 18.67 (ขวา) และรูปที่ 18.69 สังเกตุวาชื่อภาพฉายและมาตราสวนจะปรากฏบนมุมซายลาง ของวิวพอรทแสดงภาพฉายโดยอัตโนมัติ หากมีการเปลีย่ นสเกลใหกบั วิวพอรทใหม ตัวเลขมาตราสวน จะปรับปรุงตามไปดวยโดยอัตโนมัติ หลังจากที่มีการใชคําสั่ง Save หรือ Regen หรือ Regen all

Note

เนือ่ งจากขอมูลตัวอักษรตางๆ ทีป่ รากฏบนตารางรายการแบบมีทงั้ ตัวอักษรธรรมดาและตัวอักษรจาก ฟลดขอมูลที่มีการเชื่อมโยงมาจากคุณสมบัติที่กําหนดไวใน Sheet Set Manager ตัวอักษรขอมูลฟลด จะปรากฏพื้นหลังเปนสีเทาซึ่งเปนอุปสรรคตอการมองเห็น เราสามารถซอนสีเทาที่เปนพื้นหลังของ ฟลดไดดงั นี้

173. ใช คํ า สั่ ง Tools 4 Options ð User Preferences ปลดเครือ่ งหมาย ออกจาก เช็คบอกซ Display background of fields คลิกปุม Apply และ OK 174. บนหนาตาง Sheet Set Manager คลิกแถบ คําสัง่ View List จะปรากฏดังรูปที่ 18.68 (ซาย) เราสามารถกําหนดหมายเลขภาพ ฉาย(View number)ซึ่ งเป นตั ว เลขที่ จะ ปรากฏบนบล็อคสัญลักษณ Callout Block รูปที่ 18.67 โดยคลิกขวาบนชื่อ View รูปดาน 1 แลว เลือกคําสั่ง Rename & Renumber จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 18.68 (ขวา) ปอนคา 1 ใน อิดิทบอกซ Number แลวคลิกบนปุม OK รูปที่ 18.68

chap-18.PMD

591

13/10/2549, 1:38

592

Note

หากตองการเปลี่ยนชือ่ กํากับภาพฉาย เราสามารถพิมพช่อื ใหมเขาไปในอิดิทบอกซ View title ไดทนั ที โดยที่ไมจําเปนที่จะตองเปดไฟล House.dwg แลวใชคําสั่ง View4Named Views แกไขชื่อ View ที่ไดบันทึกไว หลังจากที่แกไขแลว เราสามารถใชคําสั่ง Tools4Update Fields เพื่อปรับปรุง

2D Drafting

รูปที่ 18.69

175. สอดแทรกสัญลักษณ Callout Block โดยขณะที่ อยูบ นหนาตาง Sheet Set Manager คลิกแถบ คําสัง่ View List จะปรากฏดังรูปที่ 18.68 (ซาย) คลิกขวาบนชื่อภาพฉาย 1 - รูปดาน 1 แลว เลือกคําสั่ ง Place Callout Block4 Elev Indicator - Up จะปรากฏขอความ Specify insertion point or... คลิกตรงจุดที่ 2 ของรูปที่ 18.67 (ขวา) เมื่ อปรากฏข อ ความ S# <SHEETNUMBER>: ใหคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ V# : ใหคลิกขวา จะปรากฏ ดังรูปที่ 18.69

Note

เสนกรอบวิวพอรทที่โปรแกรมสรางมาใหอยูในเลเยอร Viewport ซึ่งเปนเลเยอรที่สั่งไมพิมพ ดังนั้น เสนกรอบวิวพอรทจึงจะไมปรากฏบนเครือ่ งพิมพ

Note

หากสัญลักษณ Callout Block และ Label Block for Views ปรากฏในตําแหนงที่ไมเหมาะสม เรา สามารถคลิกใหปรากฏจุดกริ๊ปส แลวยายบล็อคไปอยูในตําแหนงใหมทเี่ หมาะสมไดตามตองการ

176. เนือ่ งจากบล็อคสัญลักษณ Callout และบล็อค LabelBlock นัน้ อยูใ นเลเยอร Viewport ดังนัน้ หากทําการพิมพแบบแปลน บล็อคสัญลักษณ ดังกลาวจะไมปรากฏบนเครือ่ งพิมพ เนื่องจาก เลเยอร Viewport ถูกกําหนดสถานะ ไมพมิ พไว ดังนัน้ เราจะตองเปลีย่ นเลเยอรใหกบั บล็อค ทัง้ หมด โดยในขณะที่ บรรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ คลิกบนบล็อคสัญลักษณ Callout และบล็อค LabelBlock ทีป่ รากฏในรูปที่ 18.69 ทั้งหมดใหปรากฏจุดกริ๊ปส แลวเลือกเลเยอร จากแถบรายการควบคุมเลเยอร แลวกดปุม D 177. จากรูปที่ 18.64 (ขวา) เริม่ สรางชีทแผนวางๆ ขึ้นมาใหม โดยคลิกแถบคําสั่ง Sheet List แลว คลิกขวาบนกลุม ยอย(Subset)ของ แบบสถาปตยกรรม ซึง่ ปรากฏในชองหนาตาง Sheets แลว เลือกคําสัง่ New Sheet จะปรากฏไดอะล็อค New Sheet ปอนหมายเลขแผน A-02 ในอิดทิ บอกซ Number ปอนชือ่ ชีท แบบขยายรูปประตูหนาตาง ในอิดทิ บอกซ Sheet title จะปรากฏชือ่ ไฟล .dwg ในอิดทิ บอกซ File name ดังรูปที่ 18.70 (ซาย) แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏชือ่ ชีทใหม A-02 - แบบขยายรูปประตูหนาตาง บนชองหนาตาง Sheets ของ Sheet List ใน Sheet Set Manager ดังรูปที่ 18.70 (ขวา)

รูปที่ 18.70

chap-18.PMD

592

13/10/2549, 1:38

แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

593

178. จากรูปที่ 18.70 (ขวา) เริม่ จัดหนากระดาษ โดยคลิกขวาบนชือ่ ชีท A-02 - แบบขยายรูปประตู หนาตาง เลือกคําสัง่ Open จะ ปรากฏตารางรายการแบบโดยมีตน แบบมาจากเทมเพล็ทไฟล MySheetSet Template.dwt ดังรูปที่ 18.71 รูปที่ 18.71

179. จากรูปที่ 18.71 สรางภาพฉายบนชีท(Sheet)แผนใหม ตามวิธใี นขอ 172 โดยเลือกภาพฉาย กําหนดสเกล 1:25 คลิกประมาณจุดที่ 1 แลวสรางภาพฉายตอไป กําหนดสเกล 1:25 คลิกซายประมาณจุดที่ 2 โดยเลือกภาพฉาย แลวสรางภาพฉาย โดยเลือกภาพฉาย กําหนดสเกล 1:40 คลิก กําหนด ประมาณจุดที่ 3 แลวสรางภาพฉาย โดยเลือกภาพฉาย สเกล 1:40 คลิกประมาณจุดที่ 4 จะปรากฏภาพฉายในวิวพอรทตางๆ ดังรูปที่ 18.72 (ซาย) รูปที่ 18.72

180. จากรูปที่ 18.72 (ซาย) ดับเบิล้ คลิกภาพฉาย แบบขยายประตู 1 เคอรเซอรจะสามารถเลือ่ นอยู ภายในวิวพอรทและเสนกรอบวิวพอรทจะปรากฏเปนเสนหนาทึบ คลิกแถบรายการควบคุม เลเยอร แลวคลิกบนไอคอน ของเลเยอร House|Wood จนกระทัง่ ไอคอนปรากฏเปน แลวทําเชนเดียวกันกับเลเยอร House|Roof, House|Outline, House|Decor, House|Cpac เสนตางๆ ทีไ่ มเกีย่ วของกับประตูจะถูกซอนไมใหปรากฏในเฉพาะวิวพอรททีถ่ กู เลือก ตอไปคลิก วิวพอรท แบบขยายหนาตาง1 แลวทําเชนเดียวกัน ตอไปคลิกวิวพอรท แบบขยายหนาตาง2 แลวทําเชนเดียวกัน ตอไปคลิกวิวพอรท แบบขยายหนาตาง3 แลวทําเชนเดียวกัน จะปรากฏ ดังรูปที่ 18.72 (ขวา)

รูปที่ 18.73

chap-18.PMD

593

181. จากรูปที่ 18.72 (ขวา) ปรับขนาดของวิวพอรทใหเหมาะสม กับชิ้ นงานที่ปรากฏในวิวพอรท โดยในขณะที่ บรรทัด Command: ไม ป รากฏคําสั่ งใดๆ คลิ กบนเส น กรอบ วิวพอรทจนกระทั่งปรากฏเปนเสนประและจุดกริ๊ปสบน ทั้งสีม่ ุมของวิวพอรท คลิกบนจุดกริ๊ปสของวิวพอรท แลว คลิก ณ ตําแหนงใหม เพือ่ ปรับขนาดของวิวพอรทใหเล็กลง คลิกบน Label Block ใหปรากฏจุดกริป๊ ส แลวคลิกบนจุด กริ๊ปสของ Label Block ยายตําแหนงใหเหมาะสมกับ ตําแหนงของวิวพอรท จนกระทัง่ ปรากฏดังรูป ที่ 18.73

13/10/2549, 1:38

594

Note

เราไมตอ งกังวลวาเสนกรอบที่เราไดปรับแตงขนาดใหมปรากฏไมสวยงาม เพราะเสนกรอบวิวพอรท ทัง้ หมดจะถูกซอนไมใหปรากฏบนเครือ่ งพิมพ เรายังสามารถปดเลเยอรวิวพอรทเพือ่ ซอนวิวพอรทได

2D Drafting

182. ตอไปสอดแทรกบล็อคสัญลักษณ Callout ไปยังภาพฉายทัง้ 4 ภาพ โดยกอนอืน่ เราตองกําหนด หมายเลขภาพฉาย(View number)เสียกอน โดยคลิกแถบคําสัง่ View List บนหนาตาง Sheet Set Manager แลวคลิกขวาบนชื่อภาพฉาย แบบขยายประตู 1 แลวเลือกคําสัง่ Rename & Renumber จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 18.68 (ขวา) แสดงชือ่ ภาพฉาย แบบขยายประตู 1 ใน อิดทิ บอกซ View Title ใหพมิ พ 2 ในอิดทิ บอกซ Number แลวคลิกปุม Next จะปรากฏชือ่ ภาพฉาย แบบขยายหนาตาง 1 พิมพ 3 ในอิดิทบอกซ Number คลิกปุม Next จะปรากฏชื่อภาพฉาย แบบขยายหนาตาง 2 พิมพ 4 ในอิดิทบอกซ Number คลิกปุม Next จะปรากฏชื่อภาพฉาย แบบขยายหนาตาง 3 พิมพ 5 ในอิดทิ บอกซ Number แลวคลิกบนปุม OK หนาตาง Sheet Set Manager จะปรากฏดังรูปที่ 18.74

รูปที่ 18.74

Note

183. จากรูปที่ 18.74 ใหแนใจวาแถบคําสัง่ View List บนหนาตาง Sheet Set Manager ถูกเลือก แลวคลิกขวาบนชือ่ ภาพฉาย แบบขยายประตู 1 แลวเลือกคําสัง่ Place Callout Block 4CalloutBubble จะปรากฏขอความ Specify insertion point or... คลิกตรงจุดที่ 1 ของรูปที่ 18.73 เมื่อปรากฏ ขอความ S# <SHEETNUMBER>: ใหคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ V# : ใหคลิกขวา แลวคลิกขวาบนชื่อ ภาพฉาย แบบขยายหนาตาง 1 แลวเลือกคําสัง่ Place Callout Block4CalloutBubble จะปรากฏขอความ Specify insertion point or... คลิกตรงจุดที่ 2 ของรูปที่ 18.73 เมื่อ ปรากฏขอความ S# <SHEETNUMBER>: ใหคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ V# : ใหคลิกขวา แลวทําซ้าํ กับ แบบขยายหนาตาง 2 โดยคลิกจุดที่ 3 และทําซ้าํ กับ แบบ ขยายหนาตาง 3 โดยคลิกจุดที่ 4 จะปรากฏดังรูปที่ 18.75

หากตองการแกไขหมายเลขแผน(Sheet number)ของบล็อคสัญลักษณ Callout ใหอางอิงแบบแปลน แผนอืน่ ๆ ใหดับเบิ้ลคลิกบนบล็อค Callout ที่ตอ งการแกไข จะปรากฏไดอะล็อค Enhanced Attribute Editor ใหแนใจวาแอททริบิวต S# ซึง่ เก็บวา Sheet number ถูกเลือก แลวดับเบิล้ คลิกบนคาทีป่ รากฏใน อิดิทบอกซ Value หรือคลิกขวาแลว เลือกคําสั่ง Edit Field แลวเลือกหมายเลขแผนใหมจากหนาตาง Sheet navigation tree ไดตามตองการ

รูปที่ 18.75

184. เนือ่ งจากบล็อคสัญลักษณ Callout และบล็อค LabelBlock นัน้ อยูใ นเลเยอร Viewport ดังนัน้ หากทําการพิมพแบบแปลน บล็อคสัญลักษณ ดังกลาวจะไมปรากฏบนเครือ่ งพิมพ เนื่องจาก เลเยอร Viewport ถูดกําหนดสถานะไมพมิ พไว ดังนั้น เราจะตองเปลี่ยนเลเยอรใหกับบล็อค ทัง้ หมด โดยในขณะทีบ่ รรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ คลิกบนบล็อคสัญลักษณ Callout และบล็อค LabelBlock ทีป่ รากฏในรูปที่ 18.75 ทั้งหมดใหปรากฏจุดกริ๊ปส แลวเลือกเลเยอร จากแถบรายการควบคุมเลเยอร แลวกดปุม D

chap-18.PMD

594

13/10/2549, 1:38

แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

595

185. ซอนเสนกรอบวิวพอรทของภาพฉายทัง้ หมด โดยเลือกเลเยอร 0 (ศูนย) จากแถบรายการควบคุม เลเยอร เพือ่ เปลีย่ นเลเยอร 0 เปนเลเยอรใชงาน แลวคลิกบนไอคอน ของเลเยอร Viewport เพื่อแชแข็งเลเยอรวิวพอรท แลวเลือกเลเยอร 0 เปนเลเยอรใชงานเชนเดิม เสนกรอบวิวพอรท ทัง้ หมดจะถูกซอน ดังรูปที่ 18.76 รูปที่ 18.76

186. ใชคาํ สัง่ Windows4A-01 แบบแสดงรูปดานหนา เพือ่ กลับเขาไปทํางานในชีท A-01 แบบแสดง รูปดานหนา แลวซอนเสนกรอบวิวพอรทดวยการแชแข็ง(Freeze)เลเยอร Viewport ตามวิธใี นขอ 185 จะปรากฏดังรูปที่ 18.77 รูปที่ 18.77

chap-18.PMD

595

13/10/2549, 1:38

596

Note

ตอไปเราจะเริ่มเขียนเสนบอกขนาดลงบนแบบแปลนหมายเลข A-01 และ A-02 อยางไรก็ตาม การ เขียนเสนบอกขนาดสามารถทําได 2 วิธคี อื (1) การเขียนเสนบอกขนาดในโมเดลสเปส (2) การเขียนเสน บอกขนาดในเลเอาทเปเปอรสเปส การเขียนเสนบอกขนาดในโมเดลสเปสนัน้ จะมีขนั้ ตอนทีย่ งุ ยากมาก เพราะการกําหนดความสูงของตัวเลขบอกขนาด(Dimension text)และขนาดของหัวลูกศร(Arrow size) จะขึน้ อยูกับมาตราสวนของวิวพอรท ซึ่งจะทําใหเราตองคํานวณหาสเกลแฟคเตอร(Overall scale of) ทีเ่ หมาะสม เพือ่ ทีจ่ ะทําใหความสูงของตัวเลขบอกขนาดและขนาดของหัวลูกศรปรากฏบนกระดาษใน ขนาดที่เราตองการ สวนการเขียนเสนบอกขนาดในเลเอาทเปเปอรสเปสนัน้ หากหนวยวัดของชิ้นงาน เปนมิลลิเมตร เราสามารถใชสเกลแฟคเตอร(Overall scale of) เทากับ 1 หากหนวยวัดของชิน้ งานเปน เมตร เราสามารถใชสเกล แฟคเตอร(Overall scale of) เทากับ 0.001 ไดทันทีโดยไมตอ งเสียเวลาคํานวณ อยางไรก็ตาม เพือ่ ใหผอู านไดเขาใจการเขียนเสนบอกขนาดทัง้ 2 วิธี ดังนัน้ ในแบบฝกหัดนี้ เราจะศึกษา การเขียนเสนบอกขนาดทั้ง 2 วิธี โดยในแบบแปลน A-01 เราจะเขียนเสนบอกขนาดในเลเอาทเปเปอร สเปส สวนในแบบแปลน A-02 เราเขียนเสนบอกขนาดในโมเดลสเปส แตผูอานจะตองจําไวเสมอวา ในงานเขียนแบบโปรเจกทหนึง่ เราจะตองเลือกใชวธิ ใี ดวิธหี นึง่ ในแบบแปลนทุกแผน เราจะเลือกใชวธิ ี หนึง่ ในแบบแปลนแผนหนึง่ แลวใชอกี วิธหี นึง่ ในอีกแบบแปลนหนึง่ ไมไดอยางเด็ดขาด ทีผ่ เู ขียนทําเชนนี้ ก็เพื่อใหผอู านไดเขาใจการเขียนเสนบอกขนาดทัง้ 2 วิธี สวนผูอ านจะนําวิธใี ดไปใชในงานจริงนั้น ขอ ใหผูอานไดศึกษาทั้ง 2 วิธีใหเขาใจเสียกอน จึงเลือกวิธีที่เหมาะสมกับงานของตนเองไดอยางถูกตอง

2D Drafting

Note

กอนที่เราเขียนเสนบอกขนาด เราจะตองสรางสไตลเสนบอกขนาดขึ้นมาใชงานเสียกอน ไมวาเราจะ เขียนเส นบอกขนาดด วยวิธี ใด ในระบบเมตริ ก เราจะตองเข าสู AutoCAD ดวยเทมเพล็ท ไฟล Acadiso.dwt เพราะในไฟลตน แบบดังกลาว มีการกําหนดคาความสูงของตัวเลขบอกขนาดเทากับ 2.5 หนวยและขนาดของหัวลูกศรมีคา เทากับ 2.5 หนวย ถาเราเขียนเสนบอกขนาดในโมเดลสเปส โดยใช สเกลแฟคเตอร(Use overall scale of)ของเสนบอกขนาดเทากับ 1 และใชสเกลวิวพอรท 1:1 จะทําให ตัวเลขบอกขนาดและหัวลูกศรที่พิมพลงบนกระดาษมีขนาดเทากับ 2.5 มิลลิเมตรพอดี แตถาสเกล วิวพอรทเปน 1:10 ในขณะทีส่ เกลแฟคเตอร (Use overall scale of)ยังคงเปน 1 จะทําใหตวั เลขบอกขนาด และหัวลูกศรทีพ่ ิมพลงบนกระดาษมีขนาดเทากับ 0.25 มิลลิเมตรซึง่ เปนขนาดทีเ่ ล็กมากจนไมสามารถ อานออกได แตถาปรับสเกลวิวพอรทเปน 1:100 ในขณะที่สเกลแฟคเตอร (Use overall scale of)ยังคง เทากับ 1 จะทําใหตวั เลขบอกขนาดและหัวลูกศรทีพ่ มิ พลงบนกระดาษมีขนาดเทากับ 0.025 มิลลิเมตรซึง่ เปนขนาดเล็กมากเชนเดียวกัน หากตองการปรับตัวเลขบอกขนาดใหปรากฏบนกระดาษเทากับ 2.5 มิลลิเมตรไมวาสเกลวิวพอรทเปน 1:10 หรือ 1:100 เราสามารถที่จะปรับสเกลแฟคเตอร(Use overall scale of) เพื่อขยายตัวเลขบอกขนาดและหัวลูกศรใหมีขนาดใหญขึ้น โดยนํา 10 ไปคูณดวย 2.5 จะได สเกลแฟคเตอร 25 หากเรานําคานี้ไปกําหนดใน Use overall scale of จะทําใหตัวเลขบอกขนาดและ หัวลูกศรปรากฏบนกระดาษมีขนาด 2.5 มิลลิเมตรหรือนํา 100 ไปคูณ 2.5 เราก็จะไดสเกลแฟคเตอร 250 หากเรานําคานี้ไปกําหนดใน Use overall scale of จะทําใหตวั เลขบอกขนาดและหัวลูกศรปรากฏ บนกระดาษมีขนาด 2.5 มิลลิเมตรตามที่ตอ งการ

Note

เริม่ สรางสไตลเสนบอกขนาดในแบบแปลนหมายเลข A-01 ซึง่ เราจะใชวิธีการเขียนเสนบอกขนาดใน เลเอาทเปเปอรสเปส โดยมีขั้นตอนดังนี้

187. ในขณะที่พ้นื ทีว่ าดภาพยังปรากฏแบบแปลนหมายเลข A-01 สรางเลเยอรใหม โดยใชคําสั่ง สรางเลเยอรใหมชอื่ Dim รหัสสี Color = Red (สีแดง), Format4Layer แลวคลิกบนปุม Linetype = Continuous, Lineweight = 0.18 mm. เพือ่ เก็บเสนบอกขนาด แลวคลิกบนปุม กําหนดใหเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน(Current layer) 188. ในขณะที่พื้นที่วาดภาพยังปรากฏแบบแปลนหมายเลข A-01 เริ่มสรางสไตลเสนบอกขนาด โดยใชคําสัง่ Format4Dimension Style จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 8.3 สังเกตุวาสไตล

chap-18.PMD

596

13/10/2549, 1:38

แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

597

ISO-25 เปนสไตลใชงาน ใหคลิกบนปุม New จะปรากฏไดอะล็อค Create New Dimension Style ดังรูปที่ 8.4 (ซาย) ใหพมิ พชื่อสไตล Architectural ใหแนใจวาแถบรายการ Used for ปรากฏ All dimensions แลวคลิกบนปุม Continue จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 8.7 แสดงแถบ คําสัง่ Line ในฟลด Dimension lines กําหนด Color = ByLayer, Linetype = ByLayer, Lineweight = ByLayer, Baseline spacing = 6 ในฟลด Extension lines กําหนด Color = ByLayer, Linetype ext line 1 = ByLayer, Linetype ext line 2 = ByLayer, Lineweight = ByLayer,แลวคลิกแถบคําสัง่ Symbol and Arrow ในฟลด Arrow heads กําหนด First = , Second = , Arrow size = 1.2 คลิกแถบคําสัง่ Text สรางสไตลตวั อักษร Simplex โดยคลิกบนปุม เมือ่ ปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 7.5 คลิกปุม New จะปรากฏไดอะล็อค ดังรูปที่ 7.6 พิมพชื่อสไตล Simplex ในอิดิทบอกซ Style name คลิกปุม OK เลือกฟอนท จากแถบรายการ Font name คลิกบนปุม Apply และปุม Close คลิกบน ของแถบรายการ Text style แลวเลือกสไตล Simplex ใหปรากฏบนแถบรายการ Text ปุม Style กําหนดให Text color = Magenta, Text height = 2.5, Vertical = Above, Text Alignment = Aligned with dimension line เลือกแถบคําสัง่ Fit กําหนดให Fit Options = Arrow ใหแนใจวา Use overall scale of = 0.001 (หากชิ้นงานและตารางรายการแบบมีหนวยเปนมิลลิเมตรให กําหนดคาเทากับ 1 แตในทีน่ ี้ ชิน้ งานและตารางรายการแบบมีหนวยเปนเมตร จึงตองกําหนดคา เทากับ 0.001) แลวคลิกใหปรากฏเครือ่ งหมาย หนาเช็คบอกซ Place text manually ซึง่ เราจะ สามารถกําหนดตําแหนงตัวเลขบอกขนาดตามตําแหนงทีเ่ ราตองการไดอยางอิสระ เลือกแถบ คําสัง่ Primary Units ในฟลด Linear dimensions ใหแนใจวา Unit format = Decimal, Precision = 0.00 , Decimal Seperator = ‘.’ (Period) ปลดเครือ่ งหมาย ออกจากเช็คบอกซ Trialing ในฟลด Zero supression เพือ่ แสดงเลข 0 (ศูนย) หลังจุดทศนิยม แลวคลิกปุม OK เพือ่ กลับไปยัง ไดอะล็อค Dimension Style Manager ใหคลิกเพือ่ เลือกสไตล Architectural แลวคลิกบนปุม Set Current เพือ่ กําหนดใหเปนสไตลเสนบอกขนาดใชงานและคลิกบนปุม Close เพือ่ ออกจาก ไดอะล็อค แถบรายการควบคุมสไตลเสนบอกขนาด จะปรากฏ ซึง่ แสดงสไตล เสนบอกขนาดใชงาน 189. เรียกเสนประเซ็นเตอรในเลเยอร CenterLine กลับมาปรากฏบนพืน้ ที่วาดภาพ โดยกอนอื่น เขาสูโหมดฟลอสติง้ โมเดลสเปส โดยคลิกบนปุม บนบรรทัดแสดงสถานะหรือดับเบิ้ล คลิกภายในขอบเขตของวิวพอรท แลวละลายเลเยอร House|CenterLine คลิกปุม ไอคอน ของเลเยอร House|CenterLine จนปรากฏเปน แลวเลือกเลเยอร Dim เพือ่ กําหนดใหเลเยอร เปนเลเยอรใชงานเชนเดิม เสนประเซ็นเตอรจะกลับมาปรากฏบนพืน้ ที่ วาดภาพ แตยงั คงปรากฏเปนเสนเต็ม คลิกบนปุม บนบรรทัดแสดงสถานะหรือดับเบิล้ คลิกภายนอกขอบเขตของวิวพอรท เพือ่ กลับสูโ หมดเลเอาทเปเปอรสเปส 190. ปรับสเกลเสนประใหม โดยพิมพ LTS หรือ LTSCALE ผานบรรทัด Command: แลวกําหนดคา 0.000314 เสนประเซ็นเตอรจะปรากฏเปนเสนประ โดยเสนขีดยาวของเสนประเซ็นเตอรจะมี ความยาวประมาณ 10 มิลลิเมตรหรือ 0.01 เมตรพอดี จะปรากฏดังรูปที่ 18.78 (ซาย) Note

chap-18.PMD

เหตุทเี่ สนประเซ็นเตอรไมปรากฏเปนเสนประตัง้ แตตอนตน เนือ่ งจากในแบบแปลนใชงานตัวแปรระบบ LTSCALE นั้ นมีคาเทากั บ 1 และค าเริ่ มต นของเสนขีดยาวเส นประ CENTER ที่ ระบุไว ในไฟล Acadiso.lin ในโฟลเดอร C:\Documents and Settings\User name\Application Data\Autodesk\ AutoCAD 2006\R16.2\enu\Support มีคา เทากับ 31.75 หนวย เนือ่ งจากชิน้ งานและตารางรายการแบบมี หนวยเปนเมตร เสนขีดยาวจึงมีคาเทากับ 31.75 เมตร ในขณะที่ตารางรายการแบบที่เรากําลังใชงาน มีขนาดเพียง 0.42x0.297 เมตร เราจึงเห็นเสนประปรากฏเปนเสนเต็ม หากเราตองการใหเสนขีดยาวของ เสนประเซ็นเตอรปรากฏบนกระดาษเลเอาทมขี นาด 0.01 เมตรหรือ 10 มิลลิเมตร เนือ่ งจากแบบแปลนมี หนวยเปนเมตร เราจึงตองนําคา 0.01 ไปหารดวย 31.75 เราจึงจะได 0.000314 ซึง่ สามารถนําไปกําหนด ใหกบั ตัวแปรระบบ LTSCALE ได คา 0.000314 นีถ้ ือวาเปนคามาตรฐานของแบบแปลนทีม่ หี นวยเปน เมตร เราสามารถนําไปใชงานในแบบแปลนอื่นๆ ที่มีหนวยเปนเมตรไดทันที

597

13/10/2549, 1:38

598 รูปที่ 18.78

2D Drafting

Note

หากเสนประปรากฏขาดหายไปบางชวงเนือ่ งจากถูกเสนของวัตถุตา งๆ ปดบัง หากเราตองการแกไข เรา สามารถใชคําสั่ง Insert4Xref Manager คลิกบนชือ่ ไฟล House.dwg แลวคลิกบนปุม Open บน ไดอะล็อค แลวคลิกบนปุม OK เพือ่ เปดไฟล House.dwg ออกมาแกไข ละลายเลเยอร CenterLine โดยคลิก บนไอคอน ของเลเยอร CenterLine จนกระทัง่ ปรากฏเปนไอคอน เสนประจะปรากฏบนพืน้ ที่ วาดภาพ แลวใชคําสั่ง Tools4Display Order4Bring to Front เลือกเสนประเซ็นเตอรทั้งหมด เพื่อสงไปอยูดานหนาสุด แลวแชแข็งเลเยอร CenterLine ไวเชนเดิม โดยคลิกบนไอคอน ของ เลเยอร CenterLine จนกระทั่งปรากฏเปนไอคอน แลวใชคําสั่ง File4Save เพื่อบันทึกการ เปลีย่ นแปลงแลว ใชคําสัง่ File4Close เพือ่ ปดไฟล เมื่อกลับมายังแบบแปลนใชงาน เรียกคําสัง่ Insert 4Xref Manager คลิกบนชือ่ ไฟล House.dwg แลวคลิกบนปุม Reload แลวคลิกบนปุม OK เสนประ เซ็นเตอรจะปรากฏอยางถูกตองดังรูปที่ 18.78 (ซาย) เนือ่ งจากรูปดานหนาของบานถูกเก็บในไฟลใชงาน แบบเอกซเรฟ(External Reference) ดังนัน้ หากตองการแกไขสิ่งใดในไฟล House.dwg เราจะตองเปด ไฟล House.dwg ออกมาแกไขตามวิธที ไี่ ดกลาวขางบนนี้ แลวจะตอง Save เพือ่ บันทึกการเปลีย่ นแปลง ในไฟล เมื่อตองการใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในไฟลแบบแปลนใชงาน เราจะตองเรียกคําสั่ง Insert 4 Xref Manager คลิกบนชือ่ ไฟล House.dwg แลวคลิกบนปุม Reload จึงจะเกิดการเปลีย่ นแปลงในไฟล แบบแปลนใชงาน อันที่จริง เราสามารถใชคําสั่ง Tools4Xref and Block In-place Editing4Edit Reference In-Place เพือ่ แกไขเปลีย่ นแปลงขอมูลในไฟลเอกซเรฟ โดยทีไ่ มตอ งเปดไฟลออกมาแกไข ไดเชนเดียวกัน

Note

เมือ่ เราสรางสไตลเสนบอกขนาดขึน้ มาแลว หากตองการนําไปใชกบั ไฟลแบบแปลนอืน่ ๆ ก็ใหเปดไฟล แบบแปลนนัน้ ออกมาพรอมๆ กับเปดไฟลทมี่ สี ไตลเสนบอกขนาดตนแบบ เราจะสามารถใชคําสัง่ Tools 4DesignCenter แลวเลือกแถบคําสัง่ Open Drawings คลิกที่ Dimstyles แลวคลิกและลากสไตล เสนบอกขนาด Architectural ไปปลอยในไฟลแบบแปลนอื่นไดโดยไมตองสรางสไตลใหม

Note

กอนเขียนเสนบอกขนาด เราจะตองทําใหพนื้ ทีด่ า นลางของรูปที่ 18.78 (ซาย) ใหเปนพืน้ ทีว่ า ง โดยเคลือ่ น ยายบล็อค Label Block และบล็อค Callout ลงดานลางใหมีพื้นที่เพียงพอสําหรับเขียนเสนบอกขนาด

191. เริ่มเขียนเสนบอกขนาด ใหแนใจวาเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน และ ใหแนใจวาเรากําลังอยูใ นโหมดเลเอาทเปเปอรสเปส โดยสังเกตุจากไอคอน ซึง่ ปรากฏเปนรูป สามเหลีย่ ม ใหแนใจวาในคําสั่ง Tools4OptionsðUser Preferences ปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Make new dimension associative แลวเขียนเสนบอกขนาด โดยใชคําสั่ง Dimension4Linear ใหปรากฏดังรูปที่ 18.78 (ขวา)

chap-18.PMD

598

13/10/2549, 1:38

แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

599

หากชวงใดมีเสนบอกขนาดติดตอกัน เราสามารถใชคําสัง่ Dimension4Continue เพือ่ เขียนเสน บอกขนาดแบบตอเนื่องได หากชวงใดมีเสนบอกขนาดซอนกัน เราสามารถใชคําสั่ง Dimension4 Baseline เพือ่ เขียนเสนบอกขนาดแบบซอนเปนระดับชัน้ ได

Note

192. จากรูปที่ 18.78 แกไขสวนตอ(Extension lines)ของเสนบอกขนาดในแนวนอนทัง้ หมดใหมคี วาม ยาวคงที่ โดยในขณะทีบ่ รรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ คลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ เลือกเสน บอกขนาดแบบ Crossing เสนบอกขนาดทีถ่ กู เลือก จะปรากฏจุดกริป๊ สสนี ้ําเงิน ใหเรียกคําสัง่ Modify4Properties คนหาและคลิกบนแถบรายการ Ext line fixed เลือก On จากแถบ รายการ เพื่อเปดโหมดความยาวคงที่ แลวปอนคาความยาวของสวนตอเทากับ 5 หนวย ใน อิดทิ บอกซ Ext line fixed length จะทําใหสว นตอ(Extension lines)ของเสนบอกขนาดมีความยาว เทากันทัง้ หมด แลวกดปุม D เพือ่ ยกเลิกการเลือกวัตถุ 193. จากรูปที่ 18.78 ลดขนาดของบล็อคสัญลักษณ Callout โดยในขณะที่ยังปรากฏหนาตาง Properties ที่เรียกออกมาใชงานในขอทีแ่ ลว คลิกบนบล็อค Callout ตรงจุดที่ 3 จะปรากฏจุด กริป๊ สสนี า้ํ เงินบนบล็อคทีถ่ กู เลือก ปรับ Scale X = 0.8, Scale Y = 0.8 แลวกดปุม D เพือ่ ยกเลิก การเลือกวัตถุ จะปรากฏดังรูปที่ 18.79 รูปที่ 18.79

194. ใชคําสั่ง File4Save เพือ่ บันทึกการเปลีย่ นแปลงในไฟลแบบแปลน รูปตัวอยาง Preview ของชีท A-01 - แบบแปลนแสดงรูปดานหนา บนหนาตาง Sheet Set Manager จะแสดง ภาพฉายแบบแปลนอยางถูกตอง Note

chap-18.PMD

เปนอันเสร็จสิ้นขัน้ ตอนการเขียนเสนบอกขนาดบนพื้นทีเ่ ลเอาทเปเปอรสเปส อันทีจ่ ริง แบบแปลนที่ ปรากฏในรูปที่ 18.79 ยังไมสมบูรณนัก เนื่องจากยังขาดบล็อคสัญลักษณกําหนดแนว A, B, C, D, E, F ดังรูปที่ 18.80 ซึ่งผูเขียนไมตองการที่จะอธิบายรายละเอียดในการสรางใหสิ้นเปลืองหนากระดาษ เพราะมีขั้นตอนงายๆ เพียงเขียนดวยวงกลม โดยใชคําสั่ง Draw4Circle4Center, Radius แลวเขียนตัวอักษรแอททริบิวตภายในวงกลม โดยใชคําสั่ง Draw4Block4Define Attributes แลวจึงแปลงใหเปนบล็อคดวยคําสั่ง Draw4Block4Make แลวจึงนํามาสอดแทรกตามตําแหนง ตางๆ โดยสามารถกรอกตัวอักษรในวงกลมผานไดอะล็อคไดอยางสะดวกดังรูปที่ 18.80

599

13/10/2549, 1:39

600 รูปที่ 18.80

2D Drafting

Note

หากผูอานไมตองการสรางบล็อคสัญลักษณ A, B, C, D, E, F ดวยตนเองดังรูปที่ 18.80 เราสามารถ ใชคําสั่ง Tools4DesignCenter คนหาไฟล A-01 แบบแสดงรูปดานหนา.dwg จากโฟลเดอร \Exercise\Sheet Sets บนแผน DVD-ROM แนบทายหนังสือคูม อื เลมนี้ แลวคนหาบล็อคชือ่ A-Symbol คลิกและลากบล็อคดังกลาวไปปลอยบนพืน้ ทีว่ าดภาพของแบบแปลนใชงานไดทนั ที แตตอ งไมลมื ทีจ่ ะ ใชคําสั่ง Format4Unit กําหนดหนวยวัด Meters ในแถบรายการ Units to scale inserted contents เสียกอน มิฉะนั้น บล็อคที่ไดอาจจะมีขนาดไมถูกตอง

Note

หากตองการเขียนคําอธิบายหรือตัวอักษรตางๆ ลงบนแบบแปลน เราสามารถใชคําสัง่ Draw4Text4 Multiline Text หรือคําสัง่ Draw4Text4Single Line Text เขียนตัวอักษรลงบนพืน้ ทีเ่ ลเอาท เปเปอรสเปสดวยความสูงของตัวอักษรทีก่ ําหนดดวยขนาดจริงไดทนั ที เนือ่ งจากแบบแปลนมีหนวยวัด เปนเมตร หากตองการเขียนตัวอักษรสูง 2 มิลลิเมตร ใหปอนคาความสูง 0.002 หนวย เปนตน

Note

ตอไปเราจะเริม่ เขียนเสนบอกขนาดลงบนชีท A-02 แบบขยายประตูหนาตาง ดวยวิธกี ารเขียนเสนบอก ขนาดในโมเดลสเปส ซึ่งจะมีความซับซอนและยุงยากมาก เมื่อเปรียบเทียบกับการเขียนบอกขนาดใน เลเอาทเปเปอรสเปสทีไ่ ดแสดงขั้นตอนไปแลว โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

195. ใชคําสัง่ Window 4A-02 แบบขยายประตูหนาตาง จะปรากฏเลเอาทดงั รูปที่ 18.76 Note

เพื่อไมใหเสียเวลาในการสรางสไตลเสนบอกขนาดใหม เราจะนําสไตลเสนบอกขนาด Architectural และเลเยอร Dim ที่ไดสรางไวในไฟล A-01 แบบแสดงรูปดานหนา.dwg เขามาใชงานดังนี้

196. เรียกหนาตาง DesignCenter ออกมาใชงาน โดยใชคําสัง่ Tools4DesignCenter จะ ปรากฏดังรูปที่ 11.4 คลิกบนแถบ Open Drawings เพื่อแสดงเฉพาะแบบแปลนที่กําลังเปด ใชงาน แลวคนหาและคลิกบนเครื่องหมาย + ของไฟล A-01 แบบแสดงรูปดานหนา.dwg คลิกหัวขอ Dimstyles คลิกและลากสไตลเสนบอกขนาด Architectural ไปปลอยบนเลเอาท

chap-18.PMD

600

13/10/2549, 1:39

แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

601

A-02 แบบขยายประตูหนาตาง แลวคลิกหัวขอ Layers คลิกและลากเลเยอร Dim ไปปลอยบน เลเอาท A-02 แบบขยายประตูหนาตาง กําหนดใหสไตลเสนบอกขนาด Architectural เปน สไตลใชงาน โดยเลือก ในแถบรายการควบคุมสไตลเสนบอกขนาด แลว ในแถบรายการ กําหนดใหเลเยอร Dim เปนเลเยอรใชงาน โดยเลือก ควบคุมเลเยอร แลวปดหนาตาง DesignCenter Note

จากรูปที่ 18.76 เราจะเห็นวาในเลเอาทมีวิวพอรททั้งหมด 4 วิวพอรท ซึ่งใน 2 วิวพอรทมีมาตราสวน 1:25 และอีก 2 วิวพอรทมีมาตราสวน 1:40 ดังนัน้ กอนการเขียนเสนบอกขนาด เราจะตองคํานวณหา สเกลแฟคเตอร(Overall scale)เสียกอน เราจะใชคา สเกลแฟคเตอร 0.001 ตามวิธเี ขียนเสนบอกขนาดใน เลเอาทเปเปอรสเปสไมได เพราะเสนบอกขนาดในโมเดลสเปสจะแปรผันไปตามสเกลของวิวพอรท

197. คํานวณสเกลแฟคเตอรของเสนบอกขนาดสําหรับมาตราสวน 1:25 ตามสูตรในหัวขอ 8.24.1 Overall scale=(Textsize*Scale factor)/2.5 หากตองการใหตวั เลขบอกขนาดปรากฏมีความสูง 2.5 มิลลิเมตรบนกระดาษเลเอาท เมือ่ แทนคาสูตร (2.5*25)/2.5 จะได Overall scale =25 แตเนือ่ งจากแบบแปลนมีหนวยเปนเมตร ดังนัน้ ตองนําคา 25/1000 จึงไดเทากับ 0.025 Note

หากตองการใหตัวเลขบอกขนาดปรากฏมีความสูง 2 มิลลิเมตรบนกระดาษเลเอาท เมื่อแทนคาสูตร (2*25)/2.5 จะได Overall scale =20/1000 = 0.02 หากตองการใหตัวเลขบอกขนาดปรากฏมีความสูง 1.5 มิลลิเมตรบนกระดาษเลเอาท เมือ่ แทนคาสูตร (1.5*25)/2.5 จะได Overall scale =15/1000 = 0.015

198. คํานวณสเกลแฟคเตอรของเสนบอกขนาดสําหรับมาตราสวน 1:40 ตามสูตรในหัวขอ 8.24.1 Overall scale=(Textsize*Scale factor)/2.5 หากตองการใหตวั เลขบอกขนาดปรากฏมีความสูง 2.5 มิลลิเมตรบนกระดาษเลเอาท เมือ่ แทนคาสูตร (2.5*40)/2.5 จะได Overall scale =40 แตเนือ่ งจากแบบแปลนมีหนวยเปนเมตร ดังนัน้ ตองนําคา 40/1000 จึงไดเทากับ 0.04 Note

หากตองการใหตัวเลขบอกขนาดปรากฏมีความสูง 2 มิลลิเมตรบนกระดาษเลเอาท เมื่อแทนคาสูตร (2*40)/2.5 จะได Overall scale =32/1000 = 0.032 หากตองการใหตวั เลขบอกขนาดปรากฏมีความสูง 1.5 มิลลิเมตรบนกระดาษเลเอาท เมือ่ แทนคาสูตร (1.5*40)/2.5 จะได Overall scale =24/1000 = 0.024

Note

คาตัวเลข 2.5 มาจากในสูตรไดมาจาก Text height ในคําสั่ง Format4Dimension Style ðModify ðText หากมีการเปลีย่ นแปลงคา Text height เปนคาอื่น เราจะตองนําคานั้นมาใชในสูตรแทนคา 2.5

199. เริม่ เขียนเสนบอกขนาดเขาไปวิวพอรท แบบขยายประตู 1 ซึง่ มีมาตราสวน 1:25 ดังนัน้ เราจะ ตองปรับคา Overall scale ใหเปน 25 โดยใชคาํ สัง่ Format4Dimension Style คลิกชือ่ สไตล Architectural คลิกปุม Modify คลิกแถบคําสัง่ Fit กําหนดคา 0.025 ในอิดทิ บอกซ Use overall scale of แลวออกจากไดอะล็อคทัง้ หมด เขาสูโ หมดฟลอสติง้ โมเดลสเปส โดยคลิกบนปุม บนบรรทั ดแสดงสถานะหรื อดั บเบิ้ ลคลิ กภายในขอบเขตของวิ วพอร ท แล วคลิกวิ วพอร ท แบบขยายประตู 1 เคอรเซอรจะสามารถเลือ่ นไปมาไดในวิวพอรท สังเกตุวา จะปรากฏไอคอน ทีม่ มุ ซายลางของวิวพอรท เริม่ เขียนเสนบอกขนาด โดยใชคําสัง่ Dimension4Linear ใหปรากฏดังรูปที่ 18.81 (ซาย) Note

chap-18.PMD

หากวิวพอรทมีขนาดเล็กหรือมีขนาดใกลเคียงกับชิน้ งานมากเกินไป ทําใหเราไมมพี นื้ ทีใ่ นการเขียนเสน บอกขนาด เราจะตองกลับสูโหมดเลเอาทเปเปอรสเปส โดยคลิกบนปุม แลวละลายเลเยอร Viewport โดยคลิกบนไอคอน ของเลเยอร Viewport จนกระทัง่ ไอคอนปรากฏเปน เสนกรอบ วิวพอรทจะปรากฏบนเลเอาท เราสามารถคลิกใหปรากฏจุดกริ๊ปส แลวปรับขนาดวิวพอรทไดตาม ตองการ แลวจึงกลับแชแข็งเลเยอร Viewport เสนกรอบวิวพอรทจึงจะถูกซอนเชนเดิม

601

13/10/2549, 1:39

602 รูปที่ 18.81

2D Drafting

200. เขียนเสนบอกขนาดตอไป โดยคลิกวิวพอรท แบบขยายหนาตาง 1 แลวใชคําสัง่ Dimension4 ใหแนใจวาปรากฏไอคอน ที่มมุ ซายลางของวิวพอรท เขียนเสนบอกขนาด Linear ใหปรากฏดังรูปที่ 18.81 (ขวา) Note

ในขณะทีเ่ คอรเซอรเลือ่ นไปมาอยูใ นวิวพอรท หามมิใหใชคําสัง่ ZOOM ใดๆ เพราะจะทําใหมาตราสวน ของวิวพอรทเปลีย่ นแปลง เนือ่ งจากเรายังมิไดลอ็ ควิวพอรท หากตองการล็อควิวพอรท กอนอืน่ จะตอง กลับสูโหมดเลเอาทเปเปอรสเปส แลวจึงละลายเลเยอร Viewport แลวใชคําสั่ง Modify4Properties คลิกเสนกรอบวิวพอรททีต่ อ งการล็อคหรือคลิกบนเสนกรอบ วิวพอรททัง้ หมดทีต่ อ งการล็อคให ปรากฏจุดกริ๊ปส เลือก Yes จากแถบรายการ Display locked แลวกดปุม D ตอไป เราจะสามารถ ใชคําสั่ง ZOOM ไดอยางอิสระ โดยที่เราไมตองเกรงวาจะทําใหสเกลของวิวพอรทเปลี่ยนแปลง

201. เริม่ เขียนเสนบอกขนาดในวิวพอรท แบบขยายหนาตาง 2 แตกอ นอืน่ เราจะตองสรางสไตลเสน บอกขนาดใหม โดยคัดลอกสไตลเสนบอกขนาด Architectural มาใชงาน โดยใชคําสัง่ Format4 Dimension Style คลิกบนสไตลเสนบอกขนาด Architectural คลิกบนปุม New เมือ่ ปรากฏ ไดอะล็อค Create New Dimension Style เปลีย่ นชือ่ สไตลเสนบอกขนาดเปน Architectural-2 ใหแนใจวาปรากฏ Architectural ในแถบรายการ Start with และปรากฏ All dimensions ใน แถบรายการ Use for แลวคลิกบนปุม Continue คลิกแถบคําสัง่ Fit ปอนคา 0.04 ซึง่ คํานวณได จากขอ 198 เขาไปในอิดทิ บอกซ Use overall scale of แลวคลิกบนปุม OK เมือ่ กลับสูไ ดอะล็อค รูปที่ 18.82 Dimension Style Manager คลิกบนชื่อสไตล Architectural-2 คลิกปุม Set Current เพือ่ กําหนด ใหเปนสไตลใชงาน แลวออกจากไดอะล็อค แลว คลิกวิวพอรท แบบขยายหนาตาง 2 เคอรเซอร จะสามารถเลือ่ นไปมาไดในวิวพอรท สังเกตุวา จะ ที่ มุมซายล างของวิ วพอรท ปรากฏไอคอน เขียนเสนบอกขนาด โดยใชคําสั่ง Dimension4 Linear ใหปรากฏดังรูปที่ 18.82 (ซาย) 202. เขียนเสนบอกขนาดตอไป โดยคลิกวิวพอรท แบบขยายหนาตาง 3 แลวใชคําสัง่ Dimension4 Linear ใหแนใจวาปรากฏไอคอน ที่มมุ ซายลางของวิวพอรท เขียนเสนบอกขนาด ใหปรากฏดังรูปที่ 18.82 (ขวา) Note

chap-18.PMD

อันทีจ่ ริงการเขียนเสนบอกขนาดในโมเดลสเปส เราจะตองสรางเลเยอร Dim-1, Dim-2, Dim-3, Dim4 ตามจํานวนของวิวพอรท เพราะวาหากชิน้ งานทีเ่ ราใหขนาดอยูใ กลกนั มาก เสนบอกขนาดทีป่ รากฏใน วิวพอรทหนึง่ จะไปปรากฏในอีกวิวพอรทหนึง่ ดวย เพราะเราสามารถกําหนดใหเลเยอรหนึง่ ใหปรากฏ ในบางวิวพอรทและไมปรากฏในบางวิวพอรท โดยใช Freeze or thaw in current viewport แตในแบบฝกหัดนี้ เราไมมีความจําเปนตองสรางเลเยอรเนื่องจากชิ้นงานมีระยะหางกันพอสมควร

602

13/10/2549, 1:39

แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

603

203. กลับสูโ หมดเลเอาทเปเปอรสเปส โดยคลิกบนปุม บนบรรทัดแสดงสถานะหรือดับเบิล้ คลิกภายนอกขอบเขตของวิวพอรท จะปรากฏดังรูปที่ 18.83 รูปที่ 18.83

204. ใชคําสัง่ File4Save เพือ่ บันทึกการเปลีย่ น แปลงในไฟลแบบแปลน รูปตัวอยาง Preview ของชีท A-02 - แบบขยายประตูหนาตาง บนหนาตาง Sheet Set Manager จะแสดงภาพฉาย แบบแปลนอยางถูกตอง Note

เปนอันวาเราไดศกึ ษาการเขียนเสนบอกขนาดทัง้ 2 วิธคี อื การเขียนเสนบอกขนาดในเลเอาทเปเปอรสเปส และการเขียนเสนบอกขนาดในโมเดลสเปสเสร็จสิ้นทั้ง 2 วิธีแลว ผูอานจะตองเลือกใชวิธีใดวิธีหนึ่ง ในการเขียนแบบในงานจริง อยางไรก็ตาม เราจะเห็นวาการเขียนเสนบอกขนาดในเลเอาทนั้นสะดวก และรวดเร็วกวาการเขียนเสนบอกขนาดในโมเดลสเปส

205. ตอไปเราจะสรางชีท(Sheet)แผนใหมสําหรับสารบัญแบบ โดยในขณะทีป่ รากฏหนาตาง Sheet Set Manager ใหคลิกขวาบนชือ่ ชีทเซท บานเดีย่ ว 2 ชัน้ ในชองหนาตาง Sheets แลวเลือกคําสัง่ New Sheet จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 18.84 (ซาย) พิมพหมายเลขแผน A-00 ในอิดทิ บอกซ Number พิมพชอื่ ชีท สารบัญแบบ ในอิดิทบอกซ Sheet title โปรแกรมจะตั้งชื่อไฟล A-00 สารบัญแบบ.dwg ใหโดยอัตโนมัติ แลวคลิกบนปุม OK หนาตาง Sheet Set Manager จะปรากฏ ดังรูปที่ 18.84 (ขวา) รูปที่ 18.84

chap-18.PMD

603

13/10/2549, 1:39

604 สารบัญแบบทีส่ รางจาก Sheet Set Manager คือตารางซึง่ แสดงรายชือ่ แบบแปลนทัง้ หมดทีม่ ีชอื่ ปรากฏ อยูบนชองหนาตาง Sheet Set Manager โดยอัตโนมัติ หากมีการเพิ่มเติมชีทแผนใหม(New Sheet) หรือมีการเปลีย่ นชือ่ ชีทหรือเปลี่ยนหมายเลขแผน(Rename & Renumber) หรือลบชีท(Remove Sheet) ออกจาก Sheet Set Manager เราสามารถปรับปรุง(Update)ตารางสารบัญแบบตามการเปลีย่ นแปลงไป ดวย เพียงแตคลิกขวาบนตารางสารบัญแบบแลวเลือกคําสั่ง Update Sheet List Table เทานัน้ การสราง ตารางสารบัญแบบดวย Sheet Set Manager จึงชวยใหเราประหยัดเวลาไมตอ งพิมพรายชื่อแบบแปลน จํานวนมากเขาไปในตารางสารบัญแบบ เพราะโปรแกรมจะจัดการนํารายชื่อและหมายเลขแผนจาก Sheet Set Manager มาสอดแทรกบนตารางสารบัญแบบโดยอัตโนมัติ และยังเชือ่ มโยงความสัมพันธกบั รายชื่อแบบแปลนทั้งหมดที่ปรากฏอยูใน Sheet Set Manager อีกดวย

Note

2D Drafting

206. จากรูปที่ 18.84 (ขวา) เรียงลําดับสารบัญแบบใหม โดยคลิกและลากชีท A-00 - สารบัญแบบ บนชองหนาตาง Sheets บนหนาตาง Sheet Set Manager ไปปลอยบนชีทเซท บานเดีย่ ว 2 ชัน้ ชีท A-00 - สารบัญแบบ จะยายไปอยูลาํ ดับบนสุดดังรูปที่ 18.85 (ซาย) รูปที่ 18.85

207. จากรูปที่ 18.85 (ขวา) คลิกขวาบนชือ่ ชีท A-00 สารบัญแบบ แลวเลือกคําสัง่ Open จะปรากฏ ตารางรายการแบบเปลาๆ ดังรูปที่ 18.85 (ขวา) 208. จากรูปที่ 18.85 (ซาย) สรางตารางสารบัญแบบ โดยคลิกขวาบนชื่อชีทเซท บานเดี่ยว 2 ชั้น ในชองหนาตาง Sheets บนหนาตาง Sheet Set Manager แลวเลือกคําสัง่ Insert Sheet List Table จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 18.86 คลิกใหปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Show Subheader เพือ่ แสดงชื่อกลุมยอยบนตารางและจัดชีทตางๆ ใหอยูใ นกลุม พิมพชื่อตาราง ตารางสารบัญแบบ ในอิดิทบอกซ Title Text แกไข Heading text ในชองหนาตาง Column Settings ให Sheet Number เปน หมายเลขแผน และ Sheet Title เปน ชือ่ แบบแปลน ตามลําดับ รูปที่ 18.86

chap-18.PMD

604

13/10/2549, 1:39

แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม

605

แลวคลิกบนปุม เพือ่ กําหนดสไตลตารางใหม จะปรากฏไดอะล็อค Table Style ดังรูปที่ 5.20 (1) คลิก บนปุม New เพือ่ สรางสไตล ตารางใหม จะปรากฏไดอะล็อค Create New Table Style ดังรูปที่ 5.20 (2) ใหพมิ พชื่อสไตล SheetListTable แลวคลิกบนปุม Continue จะปรากฏ ไดอะล็อคดังรูปที่ 5.20 (3) แสดงแถบ Data เปนแถบใชงาน เราจะตองกําหนดคาตางๆ ดังนี้ Text style = AngsanaUPC, Text height = 0.004, Text color = Magenta, Fill color = None, Alignment = Middle Center, Grid lineweight = ByLayer, Grid color = ByLayer, Table direction = Down, Cell magins Horizontal = 0.004, Cell magins Vertical = 0.004 แลวคลิก แถบ Column Heads ใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Include Header rows แลวกําหนดคาตางๆ ดังนี้ Text style = AngsanaUPC, Text height = 0.0045, Text color = Red, Fill color = None, Alignment = Middle Center, Grid lineweight = ByLayer, Grid color = ByLayer, Table direction = Down, Cell magins Horizontal = 0.004, Cell magins Vertical = 0.004 แลวคลิกแถบ Title ใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Include Title row แลวกําหนดคาตางๆ ดังนี้ Text style = AngsanaUPC, Text height = 0.007, Text color = Blue, Fill color = Yellow, Alignment = Middle Center, Grid lineweight = ByLayer, Grid color = ByLayer, Table direction = Down, Cell magins Horizontal = 0.004, Cell magins Vertical = 0.004 แลวคลิกบนปุม OK เพือ่ ออกจากไดอะล็อค คลิกบนชือ่ SheetListTable แลวคลิกปุม Set Current เพื่อกําหนดใหเปนสไตลตารางใชงาน แลวคลิกบนปุม Close เมื่อกลับไปยัง ไดอะล็อคดังรูปที่ 18.86 ใหแนใจวาสไตลตาราง SheetListTable ปรากฏบนแถบรายการ Table Style name แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏไดอะล็อคเตือนวาสารบัญแบบจะถูกสรางโดย อัตโนมัตจิ ากรายชือ่ ชีทใน Sheet Set ถาหากเราแกไขตารางสารบัญแบบดวยตนเองโดยไมผา น Sheet Set Manager รายชือ่ แบบแปลนจะหายไปจากตารางสารบัญแบบเมือ่ มีการปรับปรุง ดวยคําสัง่ Update Sheet List Table คลิกใหปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Don’t show me this again เพือ่ ไมใหแสดงไดอะล็อคเตือนในครัง้ ตอไป ใหคลิกบนปุม OK จะปรากฏขอความ Specify insertion point: ใหแนใจวาเรากําลังอยูใ นโหมดเลเอาทเปเปอรสเปส โดยสังเกตุจาก ไอคอน ซึง่ ปรากฏเปนรูปสามเหลีย่ ม แลวคลิกตรงจุดที่ 1 ของรูปที่ 18.85 (ขวา) จะปรากฏ ตารางสารบัญแบบดังรูปที่ 18.87 (ซาย) รูปที่ 18.87

Note

จากรูปที่ 18.87 (ซาย) เราจะสังเกตุเห็นวาไมปรากฏชื่อกลุมยอย แบบวิศวกรรม เนื่องจากในกลุม แบบวิศวกรรมยังไมมชี ที อยูใ นกลุม ดังนัน้ เราจะทดลองสรางชีทแผนใหมในกลุม แบบวิศวกรรม ดังนี้

209. จากรูปที่ 18.87 (ขวา) คลิกขวาบนชื่อกลุม แบบวิศวกรรม แลวเลือกคําสั่ง New Sheet จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 18.84 (ซาย) พิมพหมายเลขแผน S-01 ในอิดิทบอกซ Number พิมพชอื่ ชีท แบบแปลนเสาและฐานราก ในอิดิทบอกซ Sheet title โปรแกรมจะตั้งชือ่ ไฟล S-01 แบบแปลนเสาและฐานราก.dwg ใหโดยอัตโนมัติ แลวคลิกบนปุม OK หนาตาง Sheet Set Manager จะปรากฏดังรูปที่ 18.88 (ซาย)

chap-18.PMD

605

13/10/2549, 1:39

606 รูปที่ 18.88

2D Drafting

หลังจากที่เราไดเพิ่มชีทแผนใหม S-01 - แบบแปลนเสาและฐานราก เขาไปในกลุม แบบวิศวกรรม แลว แตบนตารางสารบัญแบบยังไมปรากฏการเพิม่ ชือ่ ชีทแผนใหม เราสามารถปรับปรุง(Update)การ เปลี่ยนแปลงขอมูลในตารางสารบัญแบบใหตรงกับรายชื่อ Sheet ทั้งหมดที่อยูใน Sheet Set Manager ดังนี้

Note

210. จากรูปที่ 18.87 (ซาย) ในขณะที่บรรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ คลิก ณ จุดใดๆ บน ตารางสารบัญแบบใหปรากฏจุดกริป๊ สสนี า้ํ เงิน แลวคลิกขวาบนตารางสารบัญแบบ จะปรากฏ ช็อทคัทเมนู ใหเลือกคําสัง่ Update Sheet List Table ตารางสารบัญแบบจะไดรบั การปรับปรุง เพิม่ ชีทแผนใหมเขาไปในตารางดังรูปที่ 18.88 (ขวา) และรูปที่ 18.89 Note

หากตอไปมีชที แผนใหมเพิม่ เติมขึน้ มาในหนาตาง Sheet Set Manager อีก เราก็สามารถปรับปรุงขอมูล ในตารางสารบัญแบบใหเปลีย่ นแปลงตามแบบแปลนใหมทเี่ พิ่มขึ้นไดอยางสะดวกและรวดเร็ว

รูปที่ 18.89

Note

chap-18.PMD

หลังจากที่ไดสรางชีทใหม โดยเลือกจากกลุมหรือซับเซท แบบวิศวกรรม เราจะสังเกตุเห็นวาชีท S-01 - แบบแปลนเสาและฐานราก จะถูกสรางขึ้นอยูในซับเซท แบบวิศวกรรม ดังรูปที่ 18.88 (ซาย) หากเราตองการยายกลุม เราสามารถทําได โดยคลิกและลากบนชีทไปปลอยในซับเซทกลุม ใหมไดตาม ตองการ

606

13/10/2549, 1:39

แบบฝกหัดที่ 2 งานเขียนแบบสถาปตยกรรม Note

607

หลังจากที่เราไดสรางภาพฉายดวยคําสั่ง Place on Sheet แลว เราสามารถคลิกแถบคําสั่ง View List เพือ่ ดูรายชือ่ ภาพฉายที่มอี ยูท ั้งหมดใน Sheet Set Manager ดังรูปที่ 18.90 (ซาย) หากตองการแสดงภาพ ฉายใดบนพื้นทีว่ าดภาพ เราสามารถคลิกขวาบนชื่อภาพฉาย แลวเลือกคําสัง่ Display โปรแกรมจะทํา การเปดไฟล .dwg ที่มีภาพฉายนั้นออกมา แลวแสดงภาพฉายนั้นบนพื้นที่วาดภาพ ดวยวิธีนี้ เราจะ สามารถคนหาและเรียกภาพฉายในแบบแปลนออกมาใชงานไดอยางรวดเร็ว

รูปที่ 18.90

chap-18.PMD

Note

จากตัวอยางการใชงาน Sheet Set ในแบบฝกหัดนี้ เราจะเห็นไดวา การใช Sheet Set Manager ชวยใน การนําตารางรายการแบบเขามาใชงาน จัดหนากระดาษ สรางวิวพอรทและกําหนดมาตราสวนจะ คอนขางสะดวกกวาวิธกี ารเขียนแบบและจัดหนากระดาษแบบธรรมดาเปนอยางมาก หากมีชีทจํานวน มาก เราจะสามารถจัดการกับชีทตางๆ ไดโดยงาย เพราะสามารถควบคุมไดจาก Sheet Set Manager เพียงจุดเดียว นอกจากนี้ เรายังสามารถสัง่ พิมพชที (Sheet)ทุกแผนโดยคลิกขวาบนชือ่ ชีทเชท บานเดีย่ ว 2 ชั้น แลวใชคําสั่ง Publish4Publish to Plotter หรือสั่งพิมพเฉพาะแบบแปลนทุกแผนที่อยูในกลุม โดยคลิกขวาบนชื่อกลุม แลวเลือกคําสั่ง Publish4Publish to Plotter ไดเชนเดียวกัน ถาหากตอง การพิมพชที (Sheet)บางแผนไมวา ชีทนัน้ จะอยูใ นกลุม หรือในซับเซทใด เราสามารถกดปุม E คางไว แลวคลิกเพื่อเลือกแบบแปลนบางแผนหรือหลายแผนที่ตอ งการพิมพ แลวคลิกขวาบนชีททีถ่ ูกเลือก แลวเลือกคําสั่ง แลวเลือกคําสั่ง Publish4Publish to Plotter ไดเชนเดียวกัน

Note

หากเราตองการแกไขขอมูลตัวอักษรในตารางรายการแบบในระดับ Sheet Set หรือในระดับ Sheet ก็สามารถทําไดโดยถาตองการแกไขในระดับ Sheet Set นั่ นหมายถึงขอมูลตัวอักษรของชีท ทุกๆ แผนจะเปลี่ยนแปลงเหมือนกันทัง้ หมดโดยอัตโนมัติ อาทิ เชน หากตองการแกไขชื่อเจาของโครงการ ซึ่งชีททุกแผนจะตองมีชื่อเจาของโครงการเหมือนกัน เราสามารถทําไดโดยคลิกขวา บนชื่อชีทเซท บานเดี่ยว 2 ชั้น ในแถบคําสั่ง Sheet List แลวเลือกคําสั่ง Properties เมื่อปรากฏไดอะล็อค Sheet Set Properties คนหาฟลดขอมูล Owner แลวแกไขขอมูลใหมไดตามตองการ ขอมูลของชีททุกแผนทีอ่ ยูใ น Sheet Set Manager จะไดรับการเปลีย่ นแปลงตามไปดวยโดยอัตโนมัติ แตถาเราตองการแกไขขอมูล ตัวอักษรในตารางรายการแบบของชีทเฉพาะบางแผน ใหคลิกขวาบนชื่อชีท (ในชีทเซทบานเดี่ยว 2 ชัน้ เรามีชที A-01 - แบบแสดงรูปดานหนา, A-02 - แบบขยายประตูหนาตาง) แลวเลือกคําสัง่ Properties เราสามารถแกไขชือ่ Approver, Draftman, Inspector ใหแตกตางหรือไมใหเหมือนกับขอมูลในชีทแผน อื่นๆ ได (ถามี) ซึ่งการที่เราจะกําหนดวาขอมูลใดสามารถอับเดทชีททุกแผนเหมือนกันทั้งหมดและ ขอมูลใดจะอับเดทเฉพาะชีทบางแผน เราจะตองกําหนดในขั้นตอนการสรางฟลดขอมูลตัวอักษรใน ชีทเซทดังตัวอยางในบทที 17

607

13/10/2549, 1:39

608

Note

ในการสรางชีทแผนที่ 3 หรือแผนที่ 4 หรือแผนตอๆ ไป เราจะตองเขียนเฉพาะชิ้นงานในโมเดลสเปส ดวยขนาดจริง 1 หนวย เทากับ 1 เมตร แลวใชคําสัง่ View4Named Views บันทึกมุมมองภาพฉาย View name และกําหนดกลุมยอย Category แลวบันทึกลงในไฟล .dwg ในโฟลเดอรที่กําหนดใน แถบคําสั่ง Resource Drawings เสียกอน แลวจึงใชคําสั่ง New Sheet เพือ่ สราง Sheet แผนใหม แลวจึง เปด Open ชีทใหม ออกมาสรางภาพฉายและกําหนดสเกลดวยคําสั่ง Place on sheet แลวจึงบันทึก Save การเปลีย่ นแปลงบนชีท รายชือ่ ชีทแผนใหมจะปรากฏบน Sheet List และรายชือ่ ภาพฉายจะปรากฏ เพิ่มเติมใน View List ใน Sheet Set Manager โดยอัตโนมัติ

2D Drafting

211. ใชคําสัง่ File4Save เพือ่ บันทึกการเปลีย่ น แปลงในไฟลแบบแปลน รูปตัวอยาง Preview ของชีท A-00 - สารบัญแบบ บนหนาตาง Sheet Set Manager จะแสดงภาพฉายแบบแปลน อยางถูกตอง เปนอันวาเราไดศกึ ษาแนวทางการใชงาน Sheet Set Manager มาจนครบถวนทัง้ หมดแลว ผูเ ขียนหวังเปนอยางยิง่ วา ผูอา นจะสามารถนําแนวทางปฏิบตั ิในแบบฝกหัดนีไ้ ปประยุกตใชงานในการสรางแบบแปลนหรือชีท(Sheet)ตางๆ ภายในชีทเซท(Sheet Set)ของตนเอง ในปจจุบนั Sheet Set Manager เริม่ เปนทีร่ จู กั และเริม่ ใชงานกันแพรหลายบางแลว เนือ่ งจากผูใ ช AutoCAD เริม่ รูจ กั และเขาใจถึงประสิทธิภาพและความสะดวกรวดเร็วในการจัดการแบบแปลนมากขึน้ ในอนาคต หากเราไมรจู กั วิธกี ารใชงาน Sheet Set Manager จะเปนอุปสรรคอยางยิง่ ตอการทํางาน เนือ่ งจาก Sheet Set Manager จะเปนมาตรฐานใหมแหงการเขียนแบบ ซึง่ ชวยใหการจัดการแบบแปลนจํานวนมากทีม่ อี ยูใ นโครงการ หนึง่ ๆ สามารถทําไดโดยงายและรวดเร็ว ดังนัน้ ตอไปจะไมมนี กั เขียนแบบคนใดทีไ่ มรจู กั การใช Sheet Set Manager อนึง่ การใชงาน Sheet Set Manager ในแบบฝกหัดนีม้ ไิ ดเปนเพียงจุดเริม่ ตนในการศึกษา Sheet Set Manager เทานัน้ เนือ่ งจากมีการอธิบายขัน้ ตอนการใชงาน Sheet Set Manager อยางละเอียด หากผูอ า นไดปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนตางๆ ในแบบฝ กหั ดอย างละเอี ยดก็ จะสามารถเข าใจและสามารถนําแนวทางไปประยุ กต ใช ในงานจริ งได อย างมี ประสิทธิภาพ เนือ่ งจากผูเขียนไดอธิบายจุดสําคัญตางๆ อาทิ เชน การสรางสารบัญแบบ การเขียนเสนบอกขนาด การสอดแทรกบล็อค Label block for view และการสอดแทรกบล็อค Callout ไวในแบบฝกหัดนีไ้ วอยางครบถวน *****************************************************

chap-18.PMD

608

13/10/2549, 1:39

Related Documents

Autocad 2d
June 2020 26
Autocad 2d
August 2019 28
Autocad 2006 2d Chap-14
November 2019 2
Autocad 2006 2d Chap-12
November 2019 4
Autocad 2006 2d Chap-04
November 2019 4
Autocad 2006 2d Chap-18
November 2019 4