Autocad 2006 2d Chap-17

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Autocad 2006 2d Chap-17 as PDF for free.

More details

  • Words: 8,869
  • Pages: 38
ตอนที่ 2 แบบฝกหัดงานเขียนแบบ จุดประสงคของตอนที่ 2 n

เพื่อใหผูเริม่ ตนใชโปรแกรมเขาใจและสามารถนําคําสั่งตางๆ ที่ไดศึกษามาแลวจากตอนที่ 1 สามารถนํามาประยุกตใชงานตามสถานการณตา งๆ ไดอยางถูกตอง

n

เพือ่ ใหผเู ริม่ ตนสามารถฝกทักษะและทําตามขัน้ ตอนในการเขียนแบบแปลน 2 มิตใิ นงานจริง

n

เพือ่ ใหผทู มี่ ปี ระสบการณจากรีลสี กอนๆ สามารถเขียนแบบไดอยางถูกตองตามหลักเกณฑการ เขียนแบบ การจัดกระดาษและการพิมพแบบแปลนดวย AutoCAD 2006 โดยใชประโยชนจาก Sheet Set Manager

n

เพือ่ ใหผอู า นรูจ กั เทคนิคการใชคําสัง่ ตางๆ และสามารถนําตัวอยางในแบบฝกหัดไปประยุกตใช ในงานเขียนแบบแปลนประเภทตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ

ตอนที่ 2 เปนแบบฝกหัดซึง่ มีเนือ้ หาเกีย่ วกับการสรางเทมเพล็ทบรรจุไตเติล้ บล็อคแบบทีใ่ ชงานกันทัว่ ไปและแบบทีใ่ ช งานรวมกับ Sheet Set Manager ผูอ า นจะไดรจู กั วิธกี ารสรางเทมเพล็ทบรรจุตารางรายการแบบขึน้ มาใชงานดวยตนเอง โดยสามารถนําไปใชกบั ชิน้ งานทัว่ ไปหรือนําไปใชกบั ชิน้ งานรวมกับ Sheet Set Manager และยังมีแบบฝกหัดสําหรับ การเขียนชิ้นงานเพื่อนําไปใชกับไตเติ้ลบล็อคแบบ Sheet Set Manager ผูอานจะไดรูจกั วิธีการเขียนแบบชิน้ งาน การจัดหนากระดาษ การกําหนดมาตราสวน โดยใชงานรวมกับ Sheet Set Manager ซึง่ เปนวิธกี ารเขียนแบบมาตรฐาน ใหมทมี่ คี วามสะดวกและรวดเร็วมากทีส่ ดุ ในปจจุบนั สําหรับ ตอนที่ 2 ของหนังสือคูม อื เลมนี้ ผูอ า นจะตองมีการใชไฟลแบบฝกหัด .dwg จากแผน DVD-ROM แนบหนังสือ คูม ือเลมนีค้ วบคูกบั การอานหนังสือคูม อื ไปดวยอยูเสมอๆ ในขณะทีเ่ ราอยูใน AutoCAD 2006 เราสามารถใชคําสัง่ File4Open เปดไฟลแบบฝกหัด .dwg จากโฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM แนบหนังสือคูม อื ฯ ซึง่ มีการ ตัง้ ชือ่ ไฟลแบบฝกหัด .dwg โดยใชรหัสดังตอไปนี้

17-515-01-1.dwg

chap-17.PMD

511

17

หมายถึ ง

บทที่ 16

515

หมายถึ ง

หนาที่ 517

01

หมายถึ ง

รูปที่ 1

1

หมายถึ ง

รูปยอยที่ 1

13/10/2549, 1:37

เมือ่ ทราบรหัสของไฟลแบบฝกหัดทีถ่ กู บันทึกในโฟลเดอร \Exercise ในแผน DVD-ROM แนบทายหนังสือคูม อื เลมนีแ้ ลว หากเราอานหนังสือไปถึงหนาใดทีม่ กี ารอธิบายวิธกี ารใชคําสัง่ ตางๆ และตองการทําตามแบบฝกหัดนัน้ เราก็สามารถ เปดไฟลแบบฝกหัดที่อยูใ นหนานัน้ ออกมาใชงานได โดยดูจากหมายเลขบท หมายเลขหนาและลําดับรูปที่มีอยูใน หนังสือหนานัน้ และดูจากรหัสของชือ่ ไฟลแบบฝกหัด อีกประการหนึง่ รูปบางรูปทีป่ รากฏในหนังสือคูม อื เลมนีอ้ าจจะ ไมมไี ฟลแบบฝกหัดประกอบ ทั้งนี้ขนึ้ อยูกับความจําเปนในการใชแบบฝกหัดนัน้ ดวย อนึง่ ไมวา เราจะตองการนํา AutoCAD 2006 ไปใชในสาขาวิชาใดๆ เราก็ควรทีจ่ ะทดลองทําตามแบบฝกหัดในงานเขียนแบบประเภทตางๆ ทัง้ หมด ในหนังสือเลมนีเ้ พือ่ นําแนวทางและเทคนิคตางๆ ทีส่ อดแทรกอยูใ นแตละแบบฝกหัดไปประยุกตใชในงานของตนเอง ไดอยางถูกตอง

chap-17.PMD

512

13/10/2549, 1:37

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางตาราง รายการแบบ Sheet Set การสรางตารางรายการแบบใน AutoCAD นัน้ มีอยูห ลายแบบคือแบบเกาๆ ทีส่ รางบนพืน้ ทีโ่ มเดลสเปสและแบบใหมที่ สรางบนพืน้ ทีเ่ ลเอาทในเปเปอรสเปส แบบทีส่ รางในโมเดลสเปสนัน้ ลาสมัยไปแลว ในปจจุบนั ตารางรายการแบบที่ นิยมใชใน AutoCAD เปนตารางรายการแบบที่สรางบนพื้นที่เลเอาทเปเปอรสเปส เพราะสะดวกตอการกําหนด มาตราสวน(Scale)ระหวางชิน้ งานที่อยูในโมเดลสเปสกับตารางรายการแบบที่อยูในเลเอาทเปเปอรสเปส ตาราง รายการแบบที่สรางบนพืน้ ที่เลเอาทใน AutoCAD 2006 ยังสามารถแบงออกเปน 4 แบบคือ (1) ตารางรายการแบบ ธรรมดาทีใ่ ชกนั ทัว่ ไป ตารางรายการแบบนีจ้ ะมีเพียงการเขียนเสนกรอบตารางและเขียนตัวอักษรกํากับชองวางตางๆ ในตารางเทานั้น เมื่ อนําตารางรายการแบบไปใชงานในไฟลแบบแปลนใด ขอมูลในตารางรายการแบบจะไมมี ความสัมพันธกบั ไฟลตารางรายการแบบตนฉบับ (2) ตารางรายการแบบกรอกขอมูลแอทริบวิ ต ตารางรายการแบบ นี้มีการเขียนเสนกรอบตารางตัวอักษรกํากับชองตางๆ ในตาราง พรอมทั้งมีการสรางขอมูลตัวอักษรแอททริบิวต เพือ่ เพิม่ ความสะดวกในการกรอกขอมูลเขาไปยังตารางรายการแบบและจะไมมคี วามสัมพันธกบั ไฟลตารางรายการ แบบตนฉบับเหมือนแบบแรก (3) ตารางรายการแบบเอกซเรฟ ตารางรายการแบบนี้มีการเขียนเสนกรอบตาราง ตัวอักษรกํากับชองตางๆ ในตารางบนพืน้ ทีโ่ มเดลสเปส โดยนําไปใชงานแบบเอกซเรฟ ซึง่ จะรักษาความสัมพันธกบั ตารางรายการแบบตนฉบับไวเสมอ หากมีการเปลี่ยนแปลงไฟลตนฉบับ ตารางรายการแบบทีน่ าํ ไปใชงานในแบบ แปลนใดๆ ก็จะเปลีย่ นแปลงตามไปดวยโดยอัตโนมัติ (4) ตารางรายการแบบ Sheet Set ตารางรายการแบบนีม้ ีการ รวมความสามารถในการกรอกขอความตัวอักษร โดยใชแอททริบิวตรวมกับฟลด(Field)ขอมูล เพื่อสรางความ สัมพันธระหวางขอความตางๆ ทีอ่ ยูในตารางรายการแบบกับขอความตางๆ ทีก่ าํ หนดในคุณสมบัติของ Sheet Set Manager จึงทําใหเราสามารถแกไขขอความตัวอักษรตางๆ ในตารางรายการแบบทีอ่ ยูใ นไฟลแบบแปลน .dwg ทัง้ หมด ในโครงการไดอยางสะดวก เพราะเพียงแกไขคุณสมบัติของ Sheet Set Manager การเปลี่ยนแปลงก็จะเกิดขึ้น กับตารางรายการแบบในไฟล .dwg ทัง้ หมด โดยอัตโนมัติ นอกจากทีก่ ลาวมานี้ เรายังสามารถกําหนดความสัมพันธ ของขอมูลในตารางรายการแบบไดในระดับรวม(Sheet Set)ชีททุกแผนและระดับยอย(Sheet)ชีทแตละแผน นั่น หมายถึงเราสามารถแกไขขอมูลขอความตัวอักษรในไฟลแบบแปลนทุกแผนใหเปลีย่ นแปลงเหมือนกันทัง้ หมดหรือ เลือกที่จะแกไขขอมูลขอความตัวอักษรในไฟลแบบ แปลนแตละแผนหรือเฉพาะแผนใดแผนหนึง่ หรือหลายๆ แผน ไดอยางอิสระ ในแบบฝกหัดนี้ เราจะศึกษาวิธกี ารสรางตารางรายการแบบ Sheet Set เนือ่ งจากเราสามารถนําตาราง รายการแบบนีไ้ ปใชงานกับแบบแปลนธรรมดาโดยทัว่ ไป และยังสามารถนําไปใชกบั การจัดการแบบแปลนใน Sheet Set Manager ไดอกี ดวย เหตุผลทีส่ ําคัญอีกประการหนึ่ง ในปจจุบนั มีผใู ชงาน Sheet Set Manager เพิม่ ขึน้ อยาง ตอเนือ่ ง ดังนัน้ เราจึงตองศึกษาการใช Sheet Set Manager เพือ่ รองรับการเปลีย่ นแปลงระบบของการเขียนแบบใน อนาคต Note

chap-17.PMD

ตารางรายการแบบ Sheet Set นีส้ ามารถนําไปใชกบั แบบแปลนใดก็ได ไมจําเปนทีจ่ ะตองนํามาใชงาน รวมกับ Sheet Set เทานั้น แตถานําไปใชกับแบบแปลนทั่วๆ ไป ขอมูลขอความตัวอักษรในตารางจะ ไมมีความสัมพันธกับไฟลตารางรายการแบบตนฉบับเทานั้น

513

13/10/2549, 1:37

514

Note

ชีท(Sheet)มีความหมายเหมือนกับเลเอาท(Layout) หรือพูดงายๆ ก็คือแบบแปลน 1 แผน สวนชีทเซท (Sheet Set)หมายถึงกลุมของชีทหรือแบบแปลนหลายๆ แผนนัน่ เอง

2D Drafting

Note

อันที่จริง ตารางรายการแบบ Sheet Set จะมีประโยชนสูงสุดเมื่อใชงานรวมกับ Sheet Set Manager อยางไรก็ตาม Sheet Set Manager เปนฟเจอรทเี่ ริม่ มีใชใน AutoCAD 2005 และเริม่ นิยมใชมากขึ้นอยาง ตอเนือ่ งจนมาถึง AutoCAD 2006 ในปจจุบนั เนือ่ งจากขอดีของตารางรายการแบบ Sheet Set ทีส่ ามารถ แกไขเปลีย่ นแปลงขอมูลตางๆ ในไฟลแบบแปลนทั้งหมดไดอยางสะดวกรวดเร็ว อนึง่ ถึงแมวา เราจะ มิไดใชงาน Sheet Set Manager เราก็สามารถนําตารางรายการแบบ Sheet Set นี้ไปใชงานกับแบบ แปลนธรรมดาที่ใชงานกันทั่วๆ ไปได โดยสามารถใชรวมกับ Sheet Set Manager หรือไมใชรวมกับ Sheet Set Manager ก็ได แตถานําตารางรายการแบบนี้ไปใชงานกับ Sheet Set Manager หากมีการ เปลีย่ นแปลงขอมูลในตารางรายการแบบนีจ้ ะสามารถอับเดทขอมูลตัวอักษรตางๆ ทีอ่ ยูใ นตารางไดทงั้ ระดับรวม(ชีททุกแผน)และระดับยอย(ชีทบางแผน)ไดโดยอัตโนมัติ

โดยทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาให ตารางรายการแบบ(Title block)ซึง่ โปรแกรมสรางมาใหใน AutoCAD 2006 ถูกบรรจุอยูใ น เทมเพล็ท(Template)ไฟลฟอรแมต .dwt ซึ่งเก็บไวในโฟลเดอร C:\Documents and Settings\User name\Local Settings\Application Data\Autodesk\ AutoCAD 2006\R16.2\enu\Template (เปนไตเติ้ลบล็อคแบบธรรมดา ไมไดถกู ออกแบบมาใชงานรวมกับ Sheet Set Manager) โดยปกติ กอนทีเ่ ราจะเริม่ สรางตารางรายการแบบ เราจะตอง ทราบขนาดกระดาษ(Paper size)และพืน้ ทีท่ เี่ ครือ่ งพิมพสามารถพิมพได(Printable area)เสียกอน เราจึงจะสามารถ กําหนดขนาดของตารางรายการแบบไดอยางถูกตอง ทัง้ นี้ เพือ่ ปองกันไมใหมสี ว นใดสวนหนึง่ ของตารางยืน่ ออกไปนอก ขอบเขตของพืน้ ทีท่ เี่ ครือ่ งพิมพสามารถพิมพได ซึง่ อาจจะทําใหขอบของตารางรายการแบบขาดหายไปบางสวน เมือ่ พิมพลงกระดาษ โดยทัว่ ไป ไมวา เครือ่ งพิมพจะมีขนาดใหญหรือเล็กเทาใดก็ตาม เราจะไมสามารถพิมพเต็มพืน้ ทีข่ อง กระดาษไดทงั้ หมด ซึง่ จะมีสวนขอบกระดาษ(Margin)ดานซาย ดานขวา ดานลางและดานบนทีไ่ มสามารถพิมพได ถาเรานําขนาดขอบกระดาษทัง้ 4 ดานลบออกจากขนาดกระดาษ เราจะไดพน้ื ทีท่ สี่ ามารถพิมพไดของเครือ่ งพิมพดงั ตารางในรูปที่ 17.1

ขนาดกระดาษตาม มาตรฐาน ISO

ขนาดกระดาษ (Paper size) (ม.ม.)

A4 A3 A2 A1 A0 Note

chap-17.PMD

297 x 210 420 x 297 594 x 420 841 x 594 1189 x 841

พื้นที่พิมพ (Printable area) (ม.ม.) 263 x 200 386 x 287 560 x 410 807 x 584 1155 x 831

รูปที่ 17.1

พื้นที่พิมพที่ระบุในตารางขางบนนีจ้ ะขึน้ อยูกบั ยี่หอและรุนของเครือ่ งพิมพ เครือ่ งพิมพแตละรุน และ แตละยีห่ อ มีพนื้ ทีพ่ มิ พหรือพืน้ ทีท่ สี่ ามารถพิมพไดตา งกัน กอนทีจ่ ะเริม่ เขียนตารางรายการแบบ เราควร ทราบพืน้ ทีท่ สี่ ามารถพิมพไดทแี่ นนอนของเครือ่ งพิมพเสียกอน เพือ่ ทีเ่ ราจะไดกําหนดขนาดของตาราง รายการแบบไมเกินขอบเขตที่เครื่องพิมพสามารถพิมพได(Printable area)

514

13/10/2549, 1:37

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางไตเติ้ลบล็อค Note

515

โดยปกติ พืน้ ทีพ่ ิมพของเครือ่ งพิมพแตละเครือ่ งถูกกําหนดมาดวยไดรฟเวอรของเครือ่ งพิมพนนั้ พืน้ ทีท่ ี่ สามารถพิมพไดของเครือ่ งพิมพทโี่ ปรแกรมกําหนดมาใหสว นใหญจะมีการคลาดเคลือ่ นไปบางเล็กนอย ซึง่ จะมีขนาดเล็กกวาขนาดทีเ่ ครือ่ งพิมพจะพิมพไดจริง เนือ่ งจากความคลาดเคลือ่ นของพืน้ ทีพ่ มิ พมีไม มากนัก เราจึงสามารถยอมรับความคลาดเคลือ่ นดังกลาวได ถึงแมวา จะทําใหเราเสียพื้นที่พมิ พไปบาง แตก็ทําใหเราแนใจวาแบบแปลนที่สั่งพิมพจะอยูภายในขอบเขตที่เครื่องพิมพสามารถพิมพไดอยาง แนนอน อยางไรก็ตาม ถาหากเราตองการทราบขนาดที่แนนอนของพื้ นที่ ที่สามารถพิมพไดของ เครื่องพิมพใดๆ เราสามารถทําการทดลองพิมพงา ยๆ โดยกําหนดขอบกระดาษ(Margin)ทัง้ 4 ดานใหมี คาเปน 0 (ศูนย)ในคอนฟกเกอเรชั่นของเครื่องพิมพ .pc3 นั้น แลวเขียนเสนตรงในแนวนอนและใน แนวตั้งขึ้นมาอยางละเสนใหยาวนอกไปนอกขอบกระดาษทั้ง 4 ดานดังรูปที่ 17.2 (ซาย) แลวสั่งพิมพ เสนตรงทัง้ สองนัน้ ลงในกระดาษและวัดพืน้ ทีท่ เี่ ครือ่ งพิมพสามารถพิมพไดของกระดาษแตละขนาดดังรูป ที่ 17.2 (ขวา) แลวบันทึกลงในคอนฟกเกอเรชั่นของเครื่องพิมพ .pc3 เราก็จะไดพื้นที่พิมพที่ถูกตอง แมนยํา ซึ่งเราสามารถเขียนตารางรายการแบบที่อยูภายในพื้นที่ที่สามารถพิมพไดนี้

เสนตรงสําหรับทดสอบ

รูปที่ 17.2

พืน้ ทีท่ พี่ ิมพไดจริง

Note

ถาเราวางแผนที่จะเขียนไตเติล้ บล็อคทีม่ ีขนาดเล็กกวาพื้นที่พมิ พของเครือ่ งพิมพมากๆ ซึง่ กรอบตาราง หางจากขอบกระดาษทัง้ 4 ดาน ดานละประมาณ 25 มิลลิเมตร เราไมจําเปนทีจ่ ะตองสนใจพืน้ ทีท่ เี่ ครือ่ ง พิมพสามารถพิมพไดแมแตนอย เพราะวาคงจะไมมีเครื่องพิมพเครื่องใดที่มีขอบกระดาษกวางกวา ดานละ 25 มิลลิเมตร สวนใหญขอบกระดาษ(Margin)ซึง่ ไมสามารถพิมพไดจะอยูใ นชวง 5-25 มิลลิเมตร ซึง่ ก็ขนึ้ อยูก ับขนาดกระดาษรุน และยีห่ อ ของเครือ่ งพิมพดว ย

Note

หากเราทราบขนาดกระดาษ รุนและยี่หอ เครื่องพิมพกอ นที่จะสรางตารางรายการแบบ จะทําใหงายตอ การกําหนดขนาดของตารางรายการแบบให อยู ในขอบเขตในพื้ นที่ ที่ เครื่ องพิ มพ สามารถพิมพ ได เพราะพื้นที่ทสี่ ามารถพิมพไดของเครือ่ งพิมพจะปรากฏ ใหเห็นเปนเสนประบนเลเอาทของกระดาษที่ ถูกเลือกมาใชงาน

Note

ในการสรางตารางรายการแบบซึ่งใชเครือ่ งพิมพรนุ หนึง่ หรือยีห่ อหนึง่ หากเราเผื่อขอบกระดาษไวมาก พอ เราจะสามารถนําตารางรายการแบบไปใชงานกับเครื่องพิมพรุนอื่นหรือยี่หออื่นๆ ได แตถาเราใช ขนาดของตารางรายการแบบพอดีมากเกินไปกับพืน้ ทีท่ สี่ ามารถพิมพไดของเครือ่ งพิมพยหี่ อ หนึง่ เมือ่ นํา ตารางรายการแบบดังกลาวไปพิมพกบั เครือ่ งพิมพอกี ยีห่ อ หนึง่ อาจจะมีสว นหนึง่ สวนใดของตารางขาด หายไปได

ในแบบฝกหัดนี้ เราจะศึกษาวิธกี ารสรางตารางรายการแบบ ซึง่ ใชรหัสสีควบคุมความหนาและคุณสมบัติอื่นๆ ของ เสน(Color dependent plot style) จํานวน 4 แผนคือขนาด A4 สําหรับใชกบั ชิน้ งานทีม่ หี นวยเปนมิลลิเมตร จํานวน 1 แผนและขนาด A4 สําหรับใชกบั ชิน้ งานทีม่ หี นวยเปนเมตรจํานวน 1 แผน ขนาด A3 สําหรับใชกบั ชิน้ งานทีม่ หี นวยเปน

chap-17.PMD

515

13/10/2549, 1:37

516

มิลลิเมตร จํานวน 1 แผนและขนาด A3 สําหรับใชกบั ชิน้ งานทีม่ หี นวยเปนเมตรจํานวน 1 แผน ตารางรายการแบบทัง้ 4 แผนนีจ้ ะสามารถนําไปใชกับชิน้ งานธรรมดาโดยทัว่ ไปและสามารถนําไปใชงานกับ Sheet Set Manager เราจะ ทําการสรางตารางรายการแบบซึง่ ทัง้ 4 แผนจะมีรปู แบบเหมือนกันทัง้ หมดและจะเก็บบันทึกตารางรายการแบบทัง้ หมด ไวในเทมเพล็ทไฟล MySheetSetTemplate.dwt เพียงไฟลเดียว ซึง่ ภายในไฟลจะมี 4 เลเอาท(Layouts) เราจะสราง ตารางรายการแบบขนาด A4 หนวยมิลลิเมตร เปนตนแบบเพียงแผนเดียว แลวจะคัดลอกเพือ่ นําไปเปลีย่ นสเกลใหเปน ขนาด A4 หนวยเมตรและนําไปยืดออกใหมขี นาด A3 หนวยเปนมิลลิเมตรและ A3 หนวยเปนเมตรตามลําดับ นอกจาก ตารางรายการแบบแลว เราจะสรางบล็อคแอททริบวิ ตกาํ กับภาพฉาย(Label block for views) ซึง่ จะแสดงชือ่ ภาพฉาย และวิวพอรทสเกล เมือ่ มีการสรางวิวพอรทโดยอัตโนมัติ หากมีการเปลีย่ นสเกลของวิวพอรทหรือเปลีย่ นชือ่ ภาพฉาย บล็อคแอททริบวิ ตกาํ กับภาพฉายจะปรับปรุง(Update)ชือ่ และสเกลตามไปดวยโดยอัตโนมัติ นอกจากบล็อคกํากับ ภาพฉายแลว เรายังจะสรางบล็อคแอททริบิวตสัญลักษณรูปดานและรูปตัด(Callout blocks)ซึ่งจะมีการอับเดท โดยอัตโนมัตเิ ชนเดียวกัน เมือ่ เราไดทราบแนวทางในการสรางตารางรายการแบบพอทีจ่ ะเขาใจวาเรากําลังจะทําอะไร บางในแบบฝกหัดนีแ้ ลว เราจะเริม่ ลงมือสรางตารางรายการแบบ Sheet Set โดยมีขนั้ ตอนดังตอไปนี้

2D Drafting

Note

ในการสรางตารางรายการแบบในแบบฝกหัดนี้ เราจะใชวิธีที่ถูกตองตามหลักเกณฑมาตรฐานในการ สรางตารางรายการแบบ แตจะใชรปู แบบงายๆ มีขอ มูลขอความตัวอักษรในตารางไมมากนัก เพือ่ หลีก เลี่ยงขั้นตอนที่ซ้ําซาก อยางไรก็ตาม ผูอานจะสามารถนําแนวทางและวิธีการจากขั้นตอนตางๆ ใน แบบฝกหัดนี้ ไปสรางตารางรายการแบบมาตรฐานของตนเองได

1.

เริม่ สรางไฟลตน แบบ .dwt สําหรับบรรจุตารางรายการแบบ โดยเลือกรูปแบบควบคุมการพิมพ โดยใช Color dependent plot styles แบบกําหนด Lineweight โดยใชคําสัง่ File4New แลวเลือกไฟลตน แบบ Acadiso.dwt

Note

เราตองแนใจวาไดเลือกไฟล Acadiso.dwt ไมใช Acad.dwt เพราะไฟล Acad.dwt เปนระบบอังกฤษ สวนไฟล Acadiso.dwt เปนระบบเมตริก หากเราเริม่ ตนไฟลตน แบบผิด จะสงผลใหคา เริม่ ตนตางๆ ไมตรงตามมาตรฐาน ไปดวย เราอาจจะตองเสียเวลาตามไปแกไขคาเริม่ ตนตางๆ ของ Dimension Style และ Linetype

Note

ไมวา จะเลือกสรางไฟล .dwt แบบ Color dependent plot styles หรือ Named plot styles ก็ตาม เราสามารถนํา เทมเพล็ทไฟลแบบ Color dependent plot styles ไปใชกบั ไฟลแบบแปลนโหมด Named plot styles ได ในทํานองเดียวกัน เราสามารถนําเทมเพล็ทไฟลแบบ Named plot styles เขาไปใชกบั ไฟลแบบแปลนโหมด Color dependent plot styles โดยทีไ่ มตอ งสรางเทมเพล็ทไฟลทงั้ สองแบบทีเ่ หมือนกัน

Note

ในการสังเกตุวาแบบแปลนที่เรากําลังเขียนอยูใ นโหมด Color dependent plot styles หรือ Named plot styles นั้น เราสามารถสังเกตุไดจากแถบรายการสุดทายบนทูลบาร Object Properties ถาแถบรายการ นั้นกลายเปนสีเทาแสดงวาเรากําลังอยูในโหมด Color dependent plot styles ดังรูปที่ 17.3

รูปที่ 17.3 เพื่อใหสามารถนํา Layout ตางๆ ในไฟลตนแบบไปใชกับไฟลชิ้นงาน .dwg ตางๆ ได เราจะตองสราง ตารางรายการแบบในโหมด Layout1 หรือ Layout2 ไมสามารถที่จะสรางในโหมด Model ได

Note 2.

chap-17.PMD

คลิกบนแถบ Layout1 เพือ่ เขาสูโ หมดเลเอาทเปเปอรสเปสของ Layout1 จะปรากฏดังรูปที่ 17.4

516

13/10/2549, 1:37

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางไตเติ้ลบล็อค

517

หากปรากฏ Page Setup Manager ดังรูปที่ 15.3 แสดงวาในคําสั่ง Tools4Options ในแถบคําสั่ง Display มีเครื่องหมาย บนเช็คบอกซ Show Page Setup Manager for new layouts เราสามารถปลด เครือ่ งหมาย ออกจากเช็คบอกซดงั กลาวหรือจะปลดเครือ่ งหมาย ออกจากเช็คบอกซ Display when creating a new layout บนไดอะล็อค Page Setup Manager ก็ไดเชนเดียวกัน ใหคลิกปุม Close เพื่อ ออกจากไดอะล็อค จะปรากฏดังรูปที่ 17.4 เชนเดียวกัน

Note

3.

ลบเสนกรอบวิวพอรททีโ่ ปรแกรมสรางมาให โดยคลิกบนเสน กรอบวิวพอรท จนกระทัง่ ปรากฏจุดกริป๊ สสนี า้ํ เงินทีม่ มุ ทัง้ สีข่ อง กรอบวิวพอรท แลวกดปุ ม = บนคียบอรดหรือใชคําสั่ ง Modify4Erase เสนกรอบวิวพอรทจะถูกลบทิง้

4.

เปลีย่ นชือ่ เลเอาท Layout1 โดยคลิกขวาบนแถบ Layout1 เลือก คําสัง่ Rename แลวพิมพชอื่ ISO-A4-MM เขาไปแทนที่

5.

ลบเลเอาท Layout2 โดยคลิกขวาบนแถบ Layout2 เลือกคําสัง่ Delete คลิกบนปุม OK

ขอบกระดาษ กรอบวิวพอรท พื้นที่ที่สามารถพิมพได

รูปที่ 17.4

6.

ใชคาํ สัง่ Format4Layer คลิกบนปุม New Layer สรางเลเยอรใหม 3 เลเยอรคอื เลเยอร TB-Frame สีเทารหัสสี Color = 8, ความหนาเสน Lineweight = 0.35 mm , เลเยอร TB-Text สีมว ง รหัสสี Color = 6 (Magenta), ความหนาเสน Lineweight 0.25 mm และเลเยอร Viewport โดยใชรหัสสีและความหนาเสนทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาให แลวกําหนดสถานะไมพมิ พ No Plot ใหกบั เลเยอร Viewport แลวคลิกขวาบนเลเยอร TB-Frame และเลือกคําสัง่ Set Current เพือ่ กําหนดใหเลเยอร TB-Frame เปนเลเยอรใชงานดังรูปที่ 17.5 แลวคลิกบนปุม Apply และ OK ตามลําดับ

รูปที่ 17.5

7.

ใหแนใจวาเลเยอร TB-Frame เปนเลเยอรใชงาน เริ่มเขียน เครือ่ งหมายตัดขอบกระดาษ(Crop mark) ในทีน่ ี้ เราจะเขียนสีเ่ หลีย่ มผืนผา แลวจึงตัดออกใหเปน เครือ่ งหมายตัดขอบกระดาษ โดยใชคําสัง่ Draw4Rectangle เขียนสีเ่ หลีย่ มผืนผาความ กวางและความยาวเทากับกระดาษ A4 (297x210)ดังนี้

Command: _rectang

0,0 {พิมพแอบโซลุทคอรออรดเิ นท 0,0 แลวกดปุม Q เพือ่ กําหนดมุมแรกของสีเ่ หลีย่ มผืนผา} Specify other corner point or [Area/Dimensions/Rotation]: 297,210 {พิมพแอบโซลุท คอรออรดเิ นท 297,210 แลวกดปุม Q เพือ่ กําหนดอีกมุมหนึง่ ของสีเ่ หลีย่ มผืนผา จะปรากฏ ดังรูปที่ 17.6} Specify first corner point or [Chamfer/Elevation/Fillet/Thickness/Width]:

เราจะสังเกตุเห็นวากรอบสี่เหลีย่ มผืนผาทีถ่ ูกสรางขึ้นจะปรากฏเยื้องกับขอบเงากระดาษเล็กนอย

Note 8.

chap-17.PMD

จากรูปที่ 17.6 (ซาย) ระเบิดเสนสีเ่ หลีย่ มผืนผา โดยใชคาํ สัง่ Modify4Explode เมือ่ ปรากฏ ขอความ Select objects คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1 แลวคลิกขวาหรือกดปุม Q เพือ่ ออจากคําสัง่

517

13/10/2549, 1:37

518

2D Drafting รูปที่ 17.6

9.

จากรูปที่ 17.6 (ซาย) เริม่ สรางเสนคูข นาน เพือ่ กําหนดแนวตัดขอบกระดาษหางดานละ 5 หนวย หรือ 5 มิลลิเมตร โดยใชคําสัง่ Modify4Offset

Command: _offset

{จากรูปที่ 17.6 (ซาย) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด}

Current settings: Erase source=No Layer=Source OFFSETGAPTYPE=0

5 {ปอนระยะหาง 5 หนวย} Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1} Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกตรงจุดที่ 2} Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 3} Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกตรงจุดที่ 2} Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 4} Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกตรงจุดที่ 2} Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 5} Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกตรงจุดที่ 2} Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกขวาหรือ Q เพื่ อออกจากคําสั่ง จะปรากฏดังรูปที่ 17.6 (ขวา)} Specify offset distance or [Through/Erase/Layer] :

10. จากรูปที่ 17.6 (ขวา) ตัดเสนและลบเสนทีไ่ มตองการ โดยใชคําสัง่ Modify4Trim Command: _trim

{จากรูปที่ 17.6 (ขวา) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด}

Current settings: Projection=UCS, Edge=None Select cutting edges ...

{เลือกขอบตัด} {คลิกขวาหรือ Q เพือ่ ใหโปรแกรมเลือกขอบตัดโดยอัตโนมัต}ิ

Select objects or <select all>:

Select object to trim or shift-select to extend or [Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]:

{คลิกเสนตรงจุดที่ 6, 7, 8, 9}

Select object to trim or shift-select to extend or

{พิมพ R เพือ่ เลือกตัวเลือก eRase ลบวัตถุ} {คลิกเสนตรงจุดที่ 10, 11, 12, 13} Select objects to erase: {คลิกขวาหรือ Q เพือ ่ ออกจากโหมดการลบวัตถุ}

[Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]: R Select objects to erase or <exit>:

Select object to trim or shift-select to extend or

{คลิกขวาหรือ Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ Trim จะปรากฏเครือ่ งหมายตัดขอบกระดาษดังรูปที่ 17.7 (ซาย) }

[Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]:

11. ขยายภาพวัตถุทงั้ หมด โดยใชคําสัง่ View4Zoom4Extents

chap-17.PMD

518

จะปรากฏดังรูปที่ 17.7 (ซาย)

13/10/2549, 1:37

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางไตเติ้ลบล็อค

519

รูปที่ 17.7

12. คลิกขวาบนแถบเลเอาท ISO-A4-mm เลือกคําสัง่ Page Setup Manager หรือใชคําสัง่ File4 Page Setup Manager เมือ่ ปรากฏ ไดอะล็อค Page Setup Manager ดังรูปที่ 15.3 คลิก บนปุม New เพือ่ บันทึกชือ่ การตัง้ คาหนากระดาษ จะปรากฏไดอะล็อค New Page Setup ดังรูปที่ 15.4 ยอมรับชือ่ Setup1 ที่โปรแกรมตัง้ มาให โดยคลิกบนปุม OK จะปรากฏไดอะล็อค Page Setup ดังรูปที่ 15.5 คลิกแถบรายการ Printer/plotter Name เลือกคอนฟกเกอเรชัน่ เครือ่ งพิมพ DWF6 ePlot.pc3 และคลิกแถบรายการ Plot style table (Pen assignments) เลือกไฟล acad.ctb (ในกรณีตองการพิมพส)ี หรือเลือกไฟล Monochrome.ctb (ในกรณีที่ตองการพิมพขาวดํา) ในทีน่ ใี้ หเลือก acad.ctb คลิกแถบรายการ Paper size เลือกกระดาษขนาด ISO A4 (297.00 x 210.00 MM) กําหนดขอบเขตในการพิมพ โดยคลิกแถบรายการ What to plot เลือก Window จะปรากฏขอความ Specify first corner: ใหพิมพ 0,0 เพือ่ กําหนดมุมซายลางของพื้นทีพ่ มิ พ จะปรากฏขอความ Specify opposite corner: ใหพิมพ 297,210 เพือ่ กําหนดมุมขวาบนของ พืน้ ทีพ่ มิ พ คลิกใหปรากฏเครือ่ งหมาย หนาเช็คบอกซ Center the plot เพือ่ ทําใหกระดาษกับ ขอบกระดาษอยูต รงกันพอดี ใหแนใจวา Scale = 1:1 แลวคลิกบนปุม OK เพื่อออกจาก ไดอะล็อค Page Setup เมือ่ กลับไปยังไดอะล็อค Page Setup Manager ใหแนใจวา Setup1 ถูกเลือก แลวคลิกบนปุ ม Set Current แล วคลิกบนปุ ม Close เพื่ อออกจากไดอะล็อค เครือ่ งหมายตัดขอบกระดาษจะซอนทับพอดีกบั เงาขอบกระดาษดังรูปที่ 17.7 (ขวา) Note

ทดลองเลือ่ นเคอรเซอรไปทีม่ ุมลางดานซายของขอบกระดาษ ถาคาคอรออรดเิ นทปรากฏเปน 0,0 หรือ ใกล เ คี ยงแสดงว าถู กต อง ทดลองเลื่ อนเคอร เซอร ไปที่ มุ ม บนด านขวาของขอบกระดาษ ถ าค า คอรออรดเิ นทปรากฏเปน 297,210 หรือใกลเคียงแสดงวาถูกตอง

Note

เริ่มเขียนกรอบนอกสุดของตารางรายการแบบใหอยูภายในขอบเขตของกระดาษ ในที่นี้ เราจะเขียน กรอบนอกสุดของตารางใหหา งขอบกระดาษดานละ 15 ม.ม. เทาๆ กันทุกดาน จุดคอรออรดเิ นทของมุม ซายลางของกระดาษ A4 เทากับ 0,0 มุมขวาบนเทากับ 297,210 ดังนัน้ เพือ่ ใหขอบกระดาษหางจากกรอบ ของตารางรายการแบบดานละ 15 ม.ม. จุดคอรออรดิเนทที่เราจะเขียนกรอบกระดาษก็คือ 15,15 และ 282,195 ตามลําดับ

13. ใหแนใจวาเลเยอรใชงานคือเลเยอร เริม่ เขียนสีเ่ หลีย่ มผืนผาซึง่ ใช เปนกรอบของตารางรายการแบบ โดยใชคําสัง่ Draw4Rectangle Command: _rectang

{ปดโหมด

+ เพือ่ ใหสามารถปอนแอบโซลุทคอรออรดเิ นท}

15,15 {กําหนดมุมซายลางของสีเ่ หลีย่ มผืนผา โดยพิมพคา แอบโซลุทคอรออรดเิ นท 15,15} Specify other corner point or [Area/Dimensions/Rotation]: 282,195 {กําหนดมุมขวาบน ของสีเ่ หลีย่ มผืนผา โดยพิมพคา แอบโซลุทคอรออรดเิ นท 282,195 จะปรากฏดังรูปที่ 17.8 (ซาย)} Specify first corner point or [Chamfer/Elevation/Fillet/Thickness/Width]:

chap-17.PMD

519

13/10/2549, 1:37

520

Note

เหตุที่ตอ งปดโหมด หรือไดนามิกอินพุท ก็เพราะวาตามทีโ่ ปรแกมกําหนดมาให มีการตัง้ คาจุดที่ 2 และจุดตอๆ ไปเปน Polar format และ Relative coordinates ดังนั้น หากเราไมปดโหมด การ ปอนคาแอบโซลุทคอรออรดเิ นทจะกลายเปนรีเลทีฟคอรออรดเิ นทโดยอัตโนมัติ เราสามารถคลิกขวาบน แลวเลือกคําสั่ง Settings คลิกบนปุม Settings ในฟลด Pointer input ดังรูปที่ 17.8 (ขวา) ปุม

2D Drafting

รูปที่ 17.8

Note

รูปที่ 17.9

สังเกตุวา เสนกรอบตารางรายการแบบดานลางและดานบน ยืน่ ออกไปนอกขอบเขตของเสนประซึง่ แทน พื้นที่ที่สามารถพิมพได นั่นหมายถึงดานลางและดานบนของเสนกรอบจะขาดหายไปไมปรากฏบน เครือ่ งพิมพหรือไมปรากฏในไฟล .dwf เราสามารถแกไขปญหานีไ้ ด โดยลดขนาดขอบกระดาษเพือ่ เพิม่ พืน้ ทีท่ ี่สามารถพิมพไดดังนี้

14. คลิกขวาบนเลเอาท ISO-A4-MM แลวเลือกคําสัง่ Page Setup Manager เลือก Setup1 แลว คลิกบนปุม Modify จะปรากฏ ไดอะล็อค Page Setup ใหคลิกบนปุม Properties ของเครือ่ งพิมพ DWF6 ePlot.pc3 ทีป่ รากฏในแถบรายการ Printer/Plotter Name เลือกแถบคําสัง่ Device and Document Settings คลิกหัวขอ Modify Standard Paper Size (Printalble Area) เลือกกระดาษ แผนทีต่ อ งการปรับขอบกระดาษ ISO A4 (297.00 x 210.00 MM) ซึง่ ปรากฏในชองหนาตาง Modify Standard Paper Size ดังรูปที่ 17.9 อานคาพืน้ ทีท่ ี่สามารถพิมพไดจาก Printable area คลิก บนปุม Modify ปอนคา 5 มิลลิเมตรเขาไปในอิดิทบอกซ Top (ขอบบน) Bottom (ขอบลาง) Left (ขอบซาย) และ Right (ขอบ ขวา) ดังรูปที่ 17.10 (ซาย) คลิกปุม Next ยอมรับชือ่ ไฟล DWF6 ePlot ที่โปรแกรมตั้งมาให โดยคลิกปุม Next คลิกปุม Finish ไฟล .pmp ซึง่ บันทึกการปรับแตงจะถูกสรางขึน้ และแนบเขากับ ไฟล .pc3 ซึง่ ควบคุมการทํางานของเครือ่ งพิมพ คลิกบนปุม OK จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 17.10 (ขวา) เลือกปุมเรดิโอ Save changes to the following file บันทึกการเปลีย่ นแปลง ในไฟล .pc3 โดยคลิกบนปุม OK ขอบกระดาษ จะถูกปรับใหเหลือเพียง 5 มิลลิเมตร ซึง่ จะเสนกรอบตารางรายการแบบไมมีสว นใดสวน หนึง่ ยืน่ ออกไปภายนอกพื้นที่ทสี่ ามารถพิมพได เนือ่ งจากพื้นทีท่ สี่ ามารถพิมพไดมขี นาดใหญ มากขึน้ คลิกปุม OK เพือ่ ออกจากไดอะล็อค Page Setup จะปรากฏขอความดังรูปที่ 17.11

รูปที่ 17.10

chap-17.PMD

520

13/10/2549, 1:37

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางไตเติ้ลบล็อค

521

รูปที่ 17.11

รูปที่ 17.12

ถามวา Page Setup ทีเ่ รากําลังแกไขนัน้ อางอิงไปใชงานในเลเอาท เราตองการอับเดทหรือไม ใหคลิกบนปุม Yes และคลิกบนปุม Close เพือ่ ออกจากไดอะล็อค Page Setup Manager เลเอาท ISO-A4-MM จะปรากฏดังรูปที่ 17.12 (ซาย)

Note

จากรูปที่ 17.12 สังเกตุวาเสนประทีแ่ สดงพืน้ ทีท่ สี่ ามารถพิมพไดถกู ปรับใหเหลือ 5 มิลลิเมตรจากขอบ กระดาษทั้งสี่ดา น เมือ่ ทําการพิมพแบบแปลนหรือสรางไฟล .dwf กรอบกระดาษจะไมขาดหายไปบาง สวนและจะปรากฏอยางถูกตอง

Note

หากตอไปเราเปลี่ยนเครื่องพิมพในแถบรายการ Printer/Plotter Name บนไดอะล็อค Page Setup หรือ ไดอะล็อค Plot พื้นที่ทสี่ ามารถพิมพไดก็จะเปลีย่ นแปลงไปตามคอนฟกเกอเรชัน่ .pc3 ของเครื่องพิมพ เราจะตองทําตามขอ 14 ใหม เพราะการปรับในขอ 14 ไดถกู บันทึกในไฟล DWF6 ePlot.pmp ซึง่ แนบเขา กับไฟลคอนฟกเกอเรชั่น DWF6 ePlot.pc3 เทานั้น

Note

เราไดสรางเสนกรอบนอกสุดของตารางรายการแบบอยูใ นเลเยอร TB-Frame ซึง่ เราไดกําหนดใหเลเยอร TB-Frame มี Lineweight เทากับ 0.35 ม.ม. ดังนั้น เสนกรอบดังกลาวนี้จึงมีความหนาเทากับ 0.35 เพราะใชความหนาเสนตามคุณสมบัติ ByLayer ดวย หากเราตองการเปลี่ยนแปลงความหนาเสนใหม เปน 0.7 ม.ม. โดยไมใชคุณสมบัติตาม ByLayer เราสามารถทําไดดังนี้

15. จากรูปที่ 17.12 (ซาย) กําหนดความหนาเสน Lineweight ใหกบั กรอบสี่เหลี่ยมผืนผา โดยให แนใจวาบรรทัดปอนคําสัง่ Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ แลวคลิกบนเสนตรงจุดที่ 1 สีเ่ หลีย่ ม ผืนผาจะกลายเปนเสนประพรอมทัง้ ปรากฏจุดกริป๊ สสนี า้ํ เงิน ใหคลิกบนแถบรายการ Lineweight ดังรูปที่ 17.12 (ขวา) แลวเลือกความหนาเสน 0.70 mm เพือ่ กําหนดความหนาใหมใหสเ่ี หลีย่ ม ผืนผา แลวกดปุม D เพือ่ ยกเลิกการเลือกสีเ่ หลีย่ มผืนผา บนบรรทัดแสดงสถานะ 16 จากรูปที่ 17.12 (ขวา) ตรวจสอบความหนาเสน โดยคลิกปุม เพื่อเปดโหมดการแสดงความหนาเสนบนพื้นที่วาดภาพ Lineweight แลวใชคําสั่ง View4 Zoom4Window แลวคลิกจุดที่ 2 และจุดที่ 3 เพือ่ ขยายมุมซายลางของกระดาษใหปรากฏ ดังรูปที่ 17.13 (ซาย) 17. จากรูปที่ 17.13 (ซาย) แปลงเสนโพลีไลนสเี่ หลีย่ มผืนผาใหกลายเปนเสนตรงธรรมดา โดยใชคาํ สัง่ Modify4Explode แลวคลิกบนเสนกรอบตารางรายการแบบตรงจุดที่ 1 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสั่ง

chap-17.PMD

521

13/10/2549, 1:37

522

2D Drafting เสนกรอบของตาราง รายการแบบหนา 0.7 ม.ม. รูปที่ 17.13

18. ยอนกลับไปยังจอภาพเดิม โดยใชคําสัง่ View4Zoom4Previous (ขวา)

จะปรากฏดังรูปที่ 17.13

19. จากรู ปที่ 17.13 (ขวา) เริ่ มสร างตารางรายละเอียดแบบแปลน โดยสร างเส นคู ขนานใน แนวดิง่ ทีร่ ะยะหาง 65 หนวย โดยใชคําสัง่ Modify4Offset Command: _offset

{จากรูปที่ 17.13 (ขวา) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด}

Current settings: Erase source=No Layer=Source OFFSETGAPTYPE=0

60 {ปอนระยะหาง 60 หนวย} Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 2} Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกตรงจุดที่ 3} Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกขวาหรือ Q เพื่ อออกจากคําสั่ง จะปรากฏดังรูปที่ 17.14 (ซาย)} Specify offset distance or [Through/Erase/Layer] <65.0000>:

รูปที่ 17.14

20. จากรูปที่ 17.14 (ซาย) คลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ OFFSET หรือใชคําสัง่ Modify4Offset สรางเสนคูขนานในแนวนอนหางจากจุดที่ 1 ขึน้ ดานบนที่ระยะหาง 42, 84 และ 126 หนวย ตามวิธใี นขอที่ 19 แลวคลิกเสนจุดที่ 1 ในบรรทัด Select object to offset แลวคลิกจุดที่ 2 ในบรรทัด Specify point on side to offset จะปรากฏดังรูปที่ 17.14 (ขวา) 21. จากรูปที่ 17.14 (ขวา) ตัดเสน โดยใชคําสัง่ Modify4Trim Command: _trim

{จากรูปที่ 17.14 (ขวา) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด}

Current settings: Projection=UCS, Edge=None

{เลือกขอบตัด} Select objects or <select all>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 3 เพือ ่ ใชเปนขอบตัด} Select objects: {คลิกขวาหรือ Q เพือ ่ ออกจากโหมดการเลือกขอบตัด} Select cutting edges ...

chap-17.PMD

522

13/10/2549, 1:37

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางไตเติ้ลบล็อค

523

Select object to trim or shift-select to extend or

F {พิมพตวั เลือก F เพือ่ กําหนดโหมดการเลือก แบบ Fence ซึง่ จะเลือกตัดเสนไดหลายๆ เสน} Specify first fence point: {คลิกตรงจุดที่ 4} Specify next fence point or [Undo]: {คลิกตรงจุดที่ 5} Specify next fence point or [Undo]: {คลิกขวาหรือ Q เพือ ่ ออกจากโหมด Fence} [Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]:

Select object to trim or shift-select to extend or

{คลิกขวาหรือ Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ Trim จะปรากฏเครือ่ งหมายตัดขอบกระดาษดังรูปที่ 17.15 (ซาย) }

[Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]:

รูปที่ 17.15

22. จากรูปที่ 17.15 (ซาย) ใชคําสัง่ View4Zoom4Window แลวคลิกจุดที่ 1 และจุดที่ 2 เพือ่ ขยายมุมซายลางของตารางรายการแบบใหปรากฏดังรูปที่ 17.15 (กลาง) 23. จากรูปที่ 17.15 (กลาง) ใชคาํ สัง่ Modify4Offset สรางเสนคูข นานในแนวนอนหางจากจุดที่ 3 ลงดานลางทีร่ ะยะหาง 14 และ 28 หนวย ตามวิธีในขอที่ 19 แลวคลิกเสนจุดที่ 3 ในบรรทัด Select object to offset แลวคลิกจุดที่ 4 ใน บรรทัด Specify point on side to offset จะปรากฏ ดังรูปที่ 17.15 (ขวา) 24. จากรูปที่ 17.15 (กลาง) คลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ OFFSET หรือใชคําสัง่ Modify4Offset สรางเสนคูขนานในแนวนอนหางจากจุดที่ 5 ลงดานลางที่ระยะหาง 6, 12 และ 18 หนวย ตามวิธใี นขอที่ 19 แลวคลิกเสนจุดที่ 5 ในบรรทัด Select object to offset แลวคลิกจุดที่ 6 ในบรรทัด Specify point on side to offset จะปรากฏดังรูปที่ 17.15 (ขวา) 25. จากรูปที่ 17.15 (ขวา) เขียนเสนตรง โดยใชคําสัง่ Draw4Line {คลิกบนปุม แลวคลิกซายเมือ่ ปรากฏ ตรงจุดที่ 7} Specify next point or [Undo]: {คลิกบนปุม  แลวคลิกซายเมือ่ ปรากฏ ตรงจุดที่ 8} Specify next point or [Undo]: {คลิกขวาหรือ Q เพือ ่ ยุตคิ าํ สัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 17.16 (ซาย)} Command: _line Specify first point:

26. จากรูปที่ 17.15 (ขวา) ใชคําสัง่ Modify4Offset สรางเสนคูข นานในแนวดิง่ หางจากจุดที่ 9 ไปทางขวา 12 หนวย ตามวิธใี นขอที่ 19 แลวคลิกเสนจุดที่ 9 ในบรรทัด Select object to offset แลวคลิกจุดที่ 10 ในบรรทัด Specify point on side to offset จะปรากฏดังรูปที่ 17.16 (ซาย) 27. จากรูปที่ 17.15 (ขวา) คลิกขวาเพื่อทําซ้ําคําสัง่ OFFSET หรือใชคําสัง่ Modify4Offset สรางเสนคูข นานในแนวดิง่ หางจากจุดที่ 11 ไปทางซายทีร่ ะยะหาง 10 หนวย ตามวิธใี นขอที่ 19 แลวคลิกเสนจุดที่ 11 ในบรรทัด Select object to offset แลวคลิกจุดที่ 10 ในบรรทัด Specify point on side to offset จะปรากฏดังรูปที่ 17.16 (ซาย)

chap-17.PMD

523

13/10/2549, 1:37

524

2D Drafting

รูปที่ 17.16

28. จากรูปที่ 17.16 (ซาย) ตัดเสนทีไ่ มตอ งการ โดยใชคําสัง่ Modify4Trim Command: _trim

{จากรูปที่ 17.16 (ซาย) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด}

Current settings: Projection=UCS Edge=None Select cutting edges ...

{เลือกขอบตัด}

{คลิกเสนตรงจุดที่ 1} {คลิกขวาหรือ Q เพือ่ ออกจากโหมดการเลือกขอบตัด}

Select objects or <select all>: 1 found Select objects:

Select object to trim or shift-select to extend or [Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]:

{ตัดเสน โดยคลิกตรงจุดที่ 2}

Select object to trim or shift-select to extend or [Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]:

{ตัดเสน โดยคลิกตรงจุดที่ 3}

Select object to trim or shift-select to extend or [Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]:

{คลิกขวาหรือ Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ }

29. จากรูปที่ 17.16 (ซาย) คลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ TRIM หรือใชคําสัง่ Modify4Trim ตัดเสน ตอไปตามวิธีในขอ 28 โดยแลวเลือกเสนตรงจุดที่ 4 และ 5 ในบรรทัด Select cutting edges แลวคลิกบนเสนจุดที่ 6, 7, 8 และ 9 ในบรรทัด object to trim จะปรากฏดังรูปที่ 17.16 (กลาง) 30. จากรูปที่ 17.16 (กลาง) แกไขความหนาเสนใหเปน 0.13 ม.ม. โดยในขณะทีบ่ รรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ ใหคลิกจุดที่ 10-11 และจุดที่ 12-13 เพือ่ เลือกเสนทีอ่ ยูภ ายในตารางแบบ Crossing เสนทีถ่ กู เลือกจะปรากฏจุดกริป๊ สสนี า้ํ เงิน เลือกความหนาเสน 0.13 จากแถบรายการ แลวกดปุม D เพือ่ ยกเลิกการเลือก เสนทีถ่ กู เลือกจะมีความหนาเสน 0.13 ม.ม. โดยจะไมใชความหนาเสน 0.35 ตามทีก่ าํ หนดไวในเลเยอร TB-Frame ถึงแมวา เสน ดังกลาวจะอยูใ นเลเยอร TB-Frame ก็ตาม 31. จากรูปที่ 17.16 (กลาง) แกไขความหนาเสนใหเปน 0.35 ม.ม. ตามทีก่ ําหนดในเลเยอร โดยใน ขณะทีบ่ รรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ ใหคลิกเสนจุดที่ 14, 15, 16 และ 17 เสนทีถ่ กู เลือก ของ จะปรากฏจุดกริป๊ สสนี ้ําเงิน เลือกความหนา ByLayer จากแถบรายการ Lineweight แลวกดปุม D เพือ่ ยกเลิกการเลือก เสนทีถ่ กู เลือกจะมีความหนาเสน 0.35 ม.ม. ตามทีก่ ําหนดในเลเยอร TB-Frame 32. ขยายไตเติล้ บล็อคใหมขี นาดใหญเต็มพืน้ ทีว่ าดภาพ โดยใชคําสัง่ View4Zoom4Extents จะปรากฏดังรูปที่ 17.16 (ขวา) Note

chap-17.PMD

เปนอันวาเราไดเขียนกรอบตารางรายการแบบเสร็จเรียบรอยแลว ตอไปเริ่มเขียนตัวอักษรกํากับชอง ตางๆ ภายในตาราง โดยตัวอักษรชุดแรกทีจ่ ะเขียนเปนขอมูลทีไ่ มมีการเปลีย่ นแปลง แตเปนขอมูลทีจ่ ะ บอกใหเราทราบวาแตละชองในตารางจะใชสําหรับกรอกขอมูลใดเทานั้น ดังนั้น จึงมีวิธีการเขียน เหมือนกับการเขียนตัวอักษรธรรมดา

524

13/10/2549, 1:37

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางไตเติ้ลบล็อค

525

33. เริม่ สรางสไตลตวั อักษร โดยใชคําสัง่ Format4Text Style เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Text Style คลิกปุม New แลวตั้งชื่อสไตล AngsanaUPC แลวเลือกฟอนท AngsanaUPC.ttf จาก แถบรายการ Font Name คลิกบนปุม Apply และ Close Note

หากไมตอ งการใชฟอนทภาษาไทย .ttf ของวินโดว เราสามารถคัดลอกฟอนทภาษาไทย Angsana.shx และฟอนทภาษาไทย Cordia.shx จากโฟลเดอร \Thai fonts จากแผน DVD-ROM แนบทายหนังสือคูม อื เลมนีไ้ ปเก็บไวในโฟลเดอร C:\Program Files\AutoCAD 2006\Fonts แลวออกจาก AutoCAD และกลับ เขาโปรแกรมใหม เราจึงจะสามารถใชฟอนทภาษาไทย .shx แทนฟอนทของวินโดวซงึ่ มักจะมีปญหา สระเยื้องหรือสระลอยในการพิมพอยูเสมอๆ ได

Note

ในการสรางสไตลตวั อักษร เราเพียงแตต้งั ชือ่ สไตลและเลือกฟอนทก็เพียงพอตอการใชงานโดยทัว่ ไป เรายังไมควรทีจ่ ะกําหนดพารามิเตอรอนื่ ๆ บนไดอะล็อค แตควรทีจ่ ะตัง้ ชือ่ สไตลใหตรงกับชือ่ ฟอนททจี่ ะ นํามาใชงาน เพือ่ ทีเ่ ราจะไดทราบวาสไตลนนั้ มีฟอนทใดเปนฟอนทใชงาน โดยไมตอ งเสียเวลาใชคําสัง่ Format4Text Style เปดสไตลนั้นออกมา เพื่อดูวาสไตลนั้นใชฟอนทใด

34. จากรูปที่ 17.16 (ขวา) ใชคําสั่ง View4Zoom4Window แลวคลิกจุดที่ 19 และจุดที่ 20 เพือ่ ขยายมุมขวาลางของตารางรายการแบบใหปรากฏดังรูปที่ 17.17 (ซาย) เปลีย่ นเลเยอร ใช งานเปนเลเยอร

รูปที่ 17.17

35. จากรูปที่ 17.17 (ซาย) เริม่ เขียนตัวอักษรสูง 2 ม.ม. โดยจัดตําแหนงใหอยูช ดิ ซายบน(Top Left) ของตาราง โดยใชคําสัง่ Draw4Text4Single Line Text {จากรูปที่ 17.17 (ซาย) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด} Current text style: "AngsanaUPC" Text height: 2.5000 {โปรแกรมรายงานสไตลตวั อักษร ใชงานและความสูง} Specify start point of text or [Justify/Style]: J {เลือกตัวเลือก Justify เพือ ่ กําหนดการจัด ตัวอักษรชิดซายขวา} Enter an option [Align/Fit/Center/Middle/Right/TL/TC/TR/ML/MC/MR/BL/BC/BR]: TL {เลือกโหมด TL (Top Left) เพือ่ กําหนดใหตวั อักษรชิดบนซาย} Specify top-left point of text: {ใชสายตากะตําแหนงคราวๆ คอนไปทางดานบนของบรรทัดและ ชิดดานซาย โดยคลิกตรงจุดที่ 1 โดยประมาณ (ตองแนใจวา OSNAP อยูใ นสถานะปด)} Specify height <2.5000>: {พิมพคา ความสูง 2 หนวยและกดปุม  Q} Specify rotation angle of text <0>: {คลิกขวาหรือ Q เพือ ่ ยอมรับคามุม 0 องศาเพือ่ เขียน ตัวอักษรในแนวนอน} ผูเ ขียนแบบ {พิมพขอ ความตัวอักษร “ผูเ ขียนแบบ” แลวกดปุม Q} {กดปุม Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 17.17 (ขวา)} Command: _dtext

chap-17.PMD

525

13/10/2549, 1:37

526

Note

ตัวอักษรและขอความภาษาไทยทีป่ รากฏบนบรรทัดปอนคําสัง่ Command: จะไมสามารถอานออกได แตตัวอักษรที่ปรากฏบนพื้ นที่วาดภาพจะสามารถอานออกได ดังนั้น เราจะตองอานตัวอักษรและ ขอความจากตําแหนงทีพ่ ิมพตวั อักษรบนพื้นทีว่ าดภาพ หากตองการใหบรรทัดปอนคําสัง่ Command: สามารถแสดงขอความภาษาไทยได เราจะตองดาวนโหลดฟอนท Fixed-Width Font ภาษาไทย Courier MonoThai (COURMON.TTF) จากเวบไซต http://software.thai.net/tis-620/courierthai.html แลวคัดลอกไปไวในโฟลเดอร \Windows\Fonts แลวใชคําสั่ง Tools4Options ð Display ð Fonts ðCourier MonoThai ð Apply&Close บรรทัดปอนคําสั่ง Command: จึงจะสามารถแสดงขอความ บนบรรทัด Command: เปนภาษาไทยได

2D Drafting

36. จากรูปที17.17 ่ (ขวา) คัดลอกตัวอักษร “ผูเขี ยนแบบ” ไปยังตําแหนงตางๆ โดยใชคําสัง่ Modify4 Copy {จากรูปที่ 17.17 (ขวา) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะเปด} Select objects: 1 found {คลิกบนตัวอักษร “ผูเ ขียนแบบ” ตรงจุดที่ 2} Select objects: {คลิกขวาหรือ Q} Specify base point or displacement: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปบนจุดที่ 3 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร ใหคลิกซาย} Command: _copy

Specify second point of displacement or <use first point as displacement>:

{เลือ่ นเคอรเซอรไปบนจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร หรือ ใหคลิกซาย แลวเลือ่ นเคอรเซอร ไปยังจุดที่ 5, 6 แลวคลิกซาย} Specify second point of displacement: '_pan {คลิกบนปุม  แลวคลิกและลากเพือ่ ดึงพืน้ ที่ วาดภาพลงดานลางใหมองเห็นสวนบนเหนือจากจุดเดิมขึน้ ไปเล็กนอยดังรูปที่ 17.18 (ซาย) >>Press ESC or ENTER to exit, or right-click to display shortcut menu.

{คลิกขวาและเลือก Exit} Resuming COPY command.

{เพือ่ ออกจากคําสัง่ PAN และกลับสูค าํ สัง่ COPY} {เลือ่ นเคอรเซอรไปบนจุดที่ 7 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร

Specify second point of displacement:

หรือ ใหคลิกซาย}

{คลิกบนปุม แลวคลิกและลากเพือ่ ดึงพืน้ ที่ วาดภาพลงดานลาง ใหมองเห็นสวนบนเหนือจากจุดเดิมขึน้ ไปเล็กนอยดังรูปที่ 17.18 (ขวา) คลิก ขวาและเลือก Exit เพือ่ กลับสูค าํ สัง่ COPY} Specify second point of displacement: {คลิกจุดที่ 8 แลวคลิกขวาหรือ Q เพือ ่ ออกจาก คําสัง่ COPY} Specify second point of displacement: '_pan

รูปที่ 17.18

37. ใชคําสัง่ View4Zoom4Realtime ดังรูปที่ 17.19 (ซาย)

และใชคําสัง่ View4Pan4Real Time

ใหปรากฏ

38. จากรูปที่ 17.19 (ซาย) แกไขขอความตัวอักษร โดยใชคาํ สัง่ Modify4Object4Text4Edit (หรือดั บเบิ้ ลคลิ กบนตั วอักษรที่ ต องการแก ไข) คลิ กตั วอักษรจุดที่ 1 แกไขข อความเป น “ผูตรวจแบบ” คลิกตัวอักษรจุดที่ 2 แกไขขอความเปน “ผูอนุมัติแบบ” คลิกตัวอักษรจุดที่ 3

chap-17.PMD

526

13/10/2549, 1:37

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางไตเติ้ลบล็อค

527

แกไขขอความเปน “หมายเลขแผน” คลิกตัวอักษรจุดที่ 4 แกไขขอความเปน “เจาของโครงการ” คลิกตัวอักษรจุดที่ 5 แกไขขอความเปน ““ชือ่ โครงการและทีต่ งั้ ” จะปรากฏดังรูปที่ 17.19 (ขวา) Note

หากตองการใหคาํ สัง่ นีแ้ สดงไดอะล็อค Edit Text เหมือนในรีลสี กอน ใหพมิ พตวั แปรระบบ DTEXTED แลวกําหนดคา 1 รูปที่ 17.19

39. ใชคําสัง่ View4Zoom4Realtime ดังรูปที่ 17.20 (ซาย)

และใชคําสัง่ View4Pan4Real Time

ใหปรากฏ

รูปที่ 17.20

40. จากรูปที่ 17.20 (ซาย) คัดลอกตัวอักษร “ชือ่ โครงการและทีต่ งั้ ” ไปยังตําแหนงใหม โดยใชคําสัง่ Modify4Copy ตามวิธใี นขอ 36 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: คลิกบนตัวอักษรตรง จุดที่ 1 แลวคลิกขวาหรือกดปุม Q เมือ่ ปรากฏขอความ Specify base point ... ปดโหมด # แลวคลิกประมาณจุดกึง่ กลางของตัวอักษรตรงจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify second point... คลิกประมาณจุดกึง่ กลางของตารางตรงจุดที่ 3 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 17.20 (ขวา) 41. จากรูปที่ 17.20 (ขวา) ปรับจุดการชิดซายขวา Justification จากเดิม Top Left ใหเปน Middle Center เพื่อบังคับใหตัวอักษรปรับตัวเขาหาจุดกึง่ กลาง(Middle Center)ของตัวอักษร โดยใช คําสัง่ Modify4Object4Text4Justify เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: คลิกบน ตัวอักษรตรงจุดที่ 4 แลวคลิกขวาหรือกดปุม Q เมือ่ ปรากฏขอความ Enter a justification option [Left/Align/Fit/Center/Middle/Right/TL/TC/TR/ML/MC/MR/BL/BC/BR] <MC>: พิมพตัวเลือก MC แลวกดปุม Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ 42. จากรูปที่ 17.20 (ขวา) แกไขขอความตัวอักษร โดยใชคําสัง่ Modify4Object4Text4Edit (หรือดับเบิล้ คลิกบนตัวอักษรทีต่ อ งการแกไข) คลิกตัวอักษรจุดที่ 4 แกไขขอความเปน “ครัง้ ที”่ ตัวอักษร “ครัง้ ที”่ จะถูกปรับใหอยูต รงกลางโดยอัตโนมัตดิ งั รูปที่ 17.21 (ซาย)

chap-17.PMD

527

13/10/2549, 1:37

528

2D Drafting รูปที่ 17.21

43. จากรูปที่ 17.21 (ซาย) คัดลอกตัวอักษร “ครัง้ ที”่ ไปยังชองถัดไปซึ่งอยูท ดี่ านขวา โดยใชคําสัง่ Modify4Copy {จากรูปที่ 17.21 (ซาย) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะเปด} {คลิกบนตัวอักษร “ครัง้ ที”่ ตรงจุดที่ 1} Select objects: {คลิกขวาหรือ Q} Specify base point or [Displacement] : _m2p {พิมพ m2p แลวกดปุม  Q หรือกดปุม S แลวคลิกขวา แลวเลือกคําสัง่ Mid Between 2 Points เพือ่ หาจุดกึง่ กลาง ระหวางจุด 2 จุด} First point of mid: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย } Second point of mid: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 3 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย } Specify second point or <use first point as displacement>: _m2p {พิมพ m2p แลว กดปุม Q หรือกดปุม S แลวคลิกขวา แลวเลือกคําสัง่ Mid Between 2 Points เพือ่ หา จุดกึง่ กลาง ระหวางจุด 2 จุด} First point of mid: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย } Second point of mid: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 5 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย } Specify second point or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 17.21 (ขวา) } Command: _copy

Select objects:

44. จากรูปที่ 17.21 (ขวา) แกไขขอความตัวอักษร โดยใชคําสัง่ Modify4Object4Text4Edit (หรือดั บเบิ้ ลคลิ กบนตั วอักษรที่ ต องการแก ไข) คลิ กตั วอักษรจุดที่ 6 แกไขข อความเป น “รายการแกไขแบบ” ตัวอักษร “รายการแกไขแบบ” จะถูกปรับใหอยูตรงกลางโดยอัตโนมัติ ดังรูปที่ 17.22 (ซาย)

รูปที่ 17.22

Note

หากไมจําเปน เราจะไมใชวิธเี ขียนตัวอักษรขึน้ มาใหม เราจะใชวธิ ีคดั ลอก แลวแกไขขอความ เนือ่ งจาก วิธีนี้จะชวยรักษาความสัมพันธของระยะหางและการจัดชิดซายขวาของตัวอักษร อีกประการหนึ่ง การเขียนตัวอักษรขึ้นมาใหมจะเปนการยากทีจ่ ะกําหนดตําแหนงใหตรงกับตัวอักษรทีม่ ีอยูเ ดิมได

45. ขยายภาพวัตถุทงั้ หมด โดยใชคําสัง่ View4Zoom4Extents

chap-17.PMD

528

จะปรากฏดังรูปที่ 17.22 (ขวา)

13/10/2549, 1:37

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางไตเติ้ลบล็อค Note

รูปที่ 17.23

529

เริ่มสรางขอมูลฟลดสําหรับกรอกขอมูลเขาตารางสําหรับ Sheet Set Manager โดยขอมูลดังกลาวจะ สามารถอับเดทไดโดย อัตโนมัตใิ นระดับชีทเซท(Sheet Set)ทุกแผนและระดับชีท(Sheet)แตละแผน

46. เรียกหนาตาง Sheet Set Manager ออกมาใชงาน โดยใชคําสั่ง Tools4Sheet Set Manager เรียกคําสั่ง New Sheet Set จากแถบรายการดังรูปที่ 17.23 จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 11.53 (ซาย) เลือกปุม เรดิโอ An example sheet set เพือ่ เรียกเทมเพล็ท ตนแบบ คลิกปุม Next จะปรากฏดังรูปที่ 11.53 (กลาง) เลือกชีทเซท ตนแบบ Architectural Metric Sheet Set แลวคลิกปุม Next จะ ปรากฏดังรูปที่ 11.53 (ขวา) ตัง้ ชือ่ ไฟลชที เซทในอิดทิ บอกซ Name of new sheet set ในทีน่ ี้ตงั้ ชือ่ วา บานเดีย่ ว 2 ชัน ้ ลบขอความ ทัง้ หมดในชองหนาตาง Description (optional) ซึง่ เราสามารถปอน ขอความบรรยายลักษณะของชีทเซทหรือไมกไ็ ด ในทีน่ ไี้ มตอ งปอน ขอความใดๆ หากตองการเลือก โฟลเดอรในการจัดเก็บไฟลชที เซท แลวเลือกโฟลเดอรทตี่ องการ ในทีน่ ใี้ หใชโฟลเดอรที่โปรแกรมกําหนด .dst ใหคลิกบนปุม มาใหคอื C:\Documents and Settings\User name\My Documents\AutoCAD Sheet Sets ตอไปคลิกปุม Sheet Set Properties จะปรากฏดังรูปที่ 17.24 ปอนขอมูล โครงการบานเดี่ยว 2 ชัน ้ ใน อิดทิ บอกซ Project name เพิม่ ฟลดขอ มูลใหม โดย คลิกปุม Edit Custom Properties จะปรากฏดังรูปที่ 17.25 (ซาย) คลิกปุม Delete 6 ครัง้ เพือ่ ลบขอมูลฟลด (Field) ทั้ งหมดที่ ปรากฏในชองหนาตาง Custom Properties แลวเพิ่มขอมูลใหม โดยคลิกปุม Add จะ ปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 17.25 (ขวา) ปอนฟลดขอ มูล Owner ในอิดิ ทบอกซ Name ป อนข อมู ลเริ่ มต น บริษทั เอบีซี เอนจิเนียริง่ จํากัด ในอิดทิ บอกซ Default value เลือกปุม เรดิโอ Sheet Set แลวคลิก ปุม OK แลวปอนขอมูลตางๆ ทีเ่ หลืออยูท งั้ หมด โดยดู ตัวอยางฟลดขอ มูลจากไดอะล็อค Custom Properties ดังรูปที่ 17.25 (ซาย) เมือ่ ปอนขอมูลทัง้ หมดแลว คลิก ปุม OK บน ไดอะล็อค Custom Properties คลิกปุม OK บน ไดอะล็อค Sheet Set Properties เมือ่ กลับมา ยังไดอะล็อคดังรูปที่ 11.53 (ขวา) คลิกปุม Next จะ ปรากฏดังรูปที่ 11.55 (ซาย) คลิกปุม Finish เปนอัน เสร็จสิ้นการสรางฟลดขอมูลสําหรับตารางรายการ รูปที่ 17.24 แบบ หนาตาง Sheet Set Manager จะปรากฏดังรูปที่ 17.26 (ซาย) รูปที่ 17.25

chap-17.PMD

529

13/10/2549, 1:37

530 รูปที่ 17.26

2D Drafting

Note

หากตองการใหโปรแกรมสรางโฟลเดอรยอ ยตามซับเซท(Subset)ที่ถกู สรางขึน้ ใน Sheet Set Manager เราสามารถคลิกใหปรากฏเครื่องหมาย บนเช็คบอกซ Create a folder hierarchy based on subsets แตในทีน่ ี้ เราตองการจัดเก็บไฟลชีทเซททัง้ หมดไวในโฟลเดอรเดียวกัน

Note

เนือ่ งจากฟลดขอ มูลทีเ่ ราสรางขึน้ มานัน้ จะนําไปใชงานในตารางรายการแบบ ดังนัน้ เราจะตองพิจารณา วาฟลดขอมูลใดจะมีขอมูลตัวอักษรเหมือนกันในแบบแปลนทุกๆ แผน ฟลดขอมูลใดจะมีขอมูล ตัวอักษรไมเหมือนกันในบางแผน ดังนัน้ การเลือกปุมเรดิโอ Sheet Set หรือ Sheet จะเปนการบอกให โปรแกรมทราบวาขอมูลจะเหมือนกันทุกแผนหรือขอมูลจะมีความแตกตางกันในบางแผน ตัวอยางเชน ฟลดขอมูล Owner เปนขอมูลที่จะตองเหมือนกันทุกๆ แผน ดังนั้น จึงตองเลือก Sheet Set สวน ฟลดขอมูล Draftsman เปนขอมูลที่ไมจําเปนตองเหมือนกันทุกแผน เพราะบางคนอาจจะเขียนแบบ โครงสราง อีกคนหนึง่ อาจจะเขียนแบบไฟฟา ชือ่ ผูเ ขียนในแบบแปลนแตละแผนจึงเปนขอมูลตัวอักษร ที่ไมเหมือนกันได ดังนั้น จึงตองเลือก Sheet เปนตน

47. จากรูปที่ 17.26 (ซาย) ลบซับเซท(Subset)ทีป่ รากฏในชองหนาตาง Sheet Set Manager ให เหลือเพียงซับเซท General และซับเซท Architectural โดยคลิกขวาบนชือ่ ซับเซททีไ่ มตอ งการ แลวเลือกคําสั่ง Remove Subset ตอไปเปลี่ยนชือ่ ซับเซท โดยคลิกขวาบนซับเซท General แลวเลือกคําสัง่ Rename Subset จะปรากฏไดอะล็อค Subset Properties เปลีย่ นชือ่ General เปน แบบสถาปตยกรรม แลวคลิกปุม OK คลิกขวาบนซับเซท Architectural แลวเลือกคําสัง่ Rename Subset จะปรากฏไดอะล็อค Subset Properties เปลีย่ นชื่อ Architectural เปน แบบวิศวกรรม คลิกปุม OK หนาตาง Sheet Set Manager จะปรากฏดังรูปที่ 17.26 (ขวา) Note

เมือ่ กําหนดฟลดขอ มูลใหกบั Sheet Set Manager แลว ตอไปเราจะนําฟลดขอ มูลจาก Sheet Set Manager ไปเขียนตัวอักษรแสดงขอมูลฟลดบนตารางรายการแบบดังนี้ รูปที่ 17.27

chap-17.PMD

530

13/10/2549, 1:37

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางไตเติ้ลบล็อค

531

48. ใชคําสัง่ Format4Layer คลิกบนปุม New Layer สรางเลเยอรใหมชอื่ TB-Text-Field โดยกําหนดใหมีสสี ม รหัสสี Color = 30 เสนหนา Lineweight = 0.18 mm แลวคลิกขวาบนชือ่ เลเยอร TB-Text-Field คลิกปุม Set Current เพือ่ กําหนดให TB-Text-Field เปนเลเยอรใชงาน แลวคลิกบนปุม Apply และ OK ตามลําดับ 49. จากรูปที่ 17.22 (ขวา) ขยายภาพตารางรายการแบบ โดยใชคาํ สัง่ View4Zoom4Window แลวคลิกจุดที่ 1 และจุดที่ 2 เพือ่ ขยายตารางรายการแบบใหปรากฏดังรูปที่ 17.27 (ซาย) 50. จากรูปที่ 17.27 (ซาย) เริ่มสรางแอททริบิวต เพื่อเชื่อมโยงขอมูลตางๆ ที่สรางไวใน Sheet Set โดยกอนอืน่ ใหแนใจวาเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน แลวใชคาํ สัง่ Draw4Block4Define Attributes จะ ปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 17.27 (ขวา) ปอน ProjectName ในอิดทิ บอกซ Tag แลวคลิกปุม Insert field จะปรากฏไดอะล็อค Field ดังรูปที่ 17.28 เลือก Sheet Set ในแถบรายการ Field category คลิกบน SheetSet ในชอง หนาตาง Field names สังเกตุวา จะปรากฏชีทเซท บานเดี่ยว 2 ชั้น ในชองหนาตาง Sheet navigation tree คลิกฟลดขอ มูล ProjectName ในชองหนาตาง Property แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏข อมู ลตั วอั กษร โครงการบ าน เดีย่ ว 2 ชัน้ ของ ProjectName ทีเ่ ราไดกาํ หนด ไวใน Sheet Set ในอิดทิ บอกซ Value ดังรูปที่ 17.27 (ขวา) เลือกการจัดตัวอักษรชิดกลางซาย Middle Left จากแถบรายการ Justification ให แนใจวา Text Style = AngsanaUPC, Height = รูปที่ 17.28 # บนบรรทัด 2 แลวคลิกปุม OK จะปรากฏขอความ Specify start point: ใหแนใจวา แสดงสถานะอยูใ นสถานะปด คลิกประมาณจุดที่ 1 เพือ่ กําหนดตําแหนงแอททริบวิ ต จะปรากฏ ดังรูปที่ 17.29 51. ใชคําสั่ง View4Zoom4Extents และใชคําสัง่ View 4Pan4Real Time ใหปรากฏดังรูปที่ 17.30 (ซาย)

รูปที่ 17.29

52. จากรู ป ที่ 17.30 (ซ า ย) เริ่ มคั ด ลอกแอททริ บิ ว ต PROJECTNAME ไปยังตําแหนงตางๆ โดยใชคําสัง่ Modify 4Copy ตามวิธใี นขอ 36 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: เลือกแอททริบิวตตรงจุดที่ 1 แลวคลิกขวา เมื่อ ปรากฏขอความ Specify base point... ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด คลิกจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify second point ... คลิกจุดที่ 3, 4, 5, 6 แลวกดปุม D เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 17.30 (กลาง)

53. จากรูปที่ 17.30 (กลาง) คัดลอกแอททริบวิ ตตอ ไป โดยใชคาํ สัง่ Modify 4Copy ตามวิธใี นขอ 36 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: เลือกแอททริบวิ ตตรงจุดที่ 7 และจุดที่ 8 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Specify base point... ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะปด คลิกจุดที่ ) อยูใ นสถานะเปด 9 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify second point ... ใหแนใจวา เลือ่ นเคอรเซอรลงในแนวดิง่ พิมพคา 5 หนวย แลวกดปุม Q แลวกดปุม D เพือ่ ออกจาก คําสัง่ คัดลอกแอททริบวิ ตตอ ไป โดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ หรือใชคาํ สัง่ Modify 4Copy

chap-17.PMD

531

13/10/2549, 1:37

532

2D Drafting

รูปที่ 17.30

ตามวิธใี นขอ 36 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects: เลือกแอททริบวิ ตตรงจุดที่ 11 แลวคลิกขวา # อยูใ นสถานะปด คลิกจุดที่ เมือ่ ปรากฏ ขอความ Specify base point... ใหแนใจวา 12 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify second point ... ใหแนใจวา ) อยูใ นสถานะเปด เลื่อนเคอรเซอรไปทางดานขวา คลิกประมาณจุดที่ 13 แลวกดปุม D เพือ่ ออกจากคําสั่ง จะปรากฏดังรูปที่ 17.30 (ขวา)

รูปที่ 17.31

54. จากรูปที่ 17.30 (ขวา) แกไขแอททริบิวต โดยใชคําสั่ง Modify4Object4Text4Edit แลวคลิกแอททริบวิ ต จุดที่ 14 หรือดับเบิล้ คลิกแอททริบิวตจดุ ที่ 14 เมื่อปรากฏ ไดอะล็อค Edit Attribute Definition เปลีย่ นชือ่ Tag เปน LOCATION ดั บเบิ้ ลคลิ กฟ ลดขอมู ลในอิ ดิ ทบอกซ Default หรือคลิกขวาบนอิดิทบอกซ Default เลือกคําสั่ง Edit Field หรือลบฟลดขอ มูลในอิดทิ บอกซ Default แลวเลือกคําสัง่ Insert Field เลือก Sheet Set ในแถบรายการ Field category คลิกบน SheetSet ในชองหนาตาง Field names สังเกตุวา จะปรากฏชีทเซท บานเดีย่ ว 2 ชัน ้ ในชองหนาตาง Sheet navigation tree คลิกฟลดขอ มูล Location ในชองหนาตาง Property แลวคลิกปุม OK ฟลดขอมูลในอิดิทบอกซ Default จะ เปลีย่ นแปลงเปน ถนนกาญจนาพิเษก บางใหญ นนทบุรี ดังรูปที่ 17.31 แลวคลิกปุม OK เพือ่ ออกจากไดอะล็อค 55. จากรูปที่ 17.30 (ขวา) ทําซ้ําขอ 54 กับแอททริบวิ ตจดุ ที่ 15 โดยเปลีย่ นชือ่ Tag เปน OWNER และเลือกฟลดขอ มูล Owner ฟลดขอมูลในอิดทิ บอกซ Default จะเปลีย่ นแปลงเปน บริษท ั เอ บี ซี เอนจิเนียริง่ จํากัด คลิกปุม OK 56. จากรูปที่ 17.30 (ขวา) ทําซ้าํ ขอ 54 กับแอททริบวิ ตจดุ ที่ 16 โดยเปลีย่ นชือ่ Tag เปน ADDRESS และเลือกฟลดขอมูล Address ฟลดขอมูลในอิดิทบอกซ Default จะเปลี่ ยนแปลงเปน ถนนพระราม V ตลิง่ ชัน กรุงเทพฯ คลิกปุม OK 57. จากรูปที่ 17.30 (ขวา) ใชคําสัง่ Modify4Object4Text4Edit แลวคลิกแอททริบวิ ตจดุ ที่ 17 หรือดับเบิล้ คลิกแอททริบวิ ตจดุ ที่ 17 เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Edit Attribute Definition เปลีย่ นชือ่ Tag เปน DRAFTSMAN ลบฟลดขอ มูลในอิดทิ บอกซ Default คลิกขวาบนอิดทิ บอกซ Default เลือกคําสั่ง Insert Field เลือก Sheet Set จากแถบรายการ Field category คลิกบนฟลด CurrentSheetCustom ในชองหนาตาง Field names พิมพ Draftsman เขาไปในอิดทิ บอกซ

chap-17.PMD

532

13/10/2549, 1:37

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางไตเติ้ลบล็อค

533

Custom property name แลวคลิกปุม OK จะปรากฏฟลดขอมูลวางเปลา อิดทิ บอกซ Default คลิกปุม OK

บน

58. จากรูปที่ 17.30 (ขวา) ใชคําสัง่ Modify4Object4Text4Edit แลวคลิกแอททริบวิ ตจดุ ที่ 18 หรือดับเบิล้ คลิกแอททริบวิ ตจดุ ที่ 18 เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Edit Attribute Definition เปลีย่ นชือ่ Tag เปน INSPECTOR ลบฟลดขอ มูลในอิดทิ บอกซ Default คลิกขวาบนอิดทิ บอกซ Default เลือกคําสั่ง Insert Field เลือก Sheet Set จากแถบรายการ Field category คลิกบนฟลด CurrentSheetCustom ในชองหนาตาง Field names พิมพ Inspector เขาไปในอิดิทบอกซ บน Custom property name แลวคลิกปุม OK จะปรากฏฟลดขอมูลวางเปลา อิดทิ บอกซ Default คลิกปุม OK 59. จากรูปที่ 17.30 (ขวา) ใชคําสัง่ Modify4Object4Text4Edit แลวคลิกแอททริบวิ ตจดุ ที่ 19 หรือดับเบิล้ คลิก แอททริบวิ ตจดุ ที่ 19 เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Edit Attribute Definition เปลีย่ นชือ่ Tag เปน APPROVER ลบฟลดขอ มูลในอิดทิ บอกซ Default คลิกขวาบนอิดทิ บอกซ Default เลือกคําสั่ง Insert Field เลือก Sheet Set ในแถบรายการ Field category แลวคลิกบนฟลด CurrentSheetCustom ในชองหนาตาง Field names พิมพ Approver เขาไปในอิดิทบอกซ บน Custom property name แลวคลิกปุม OK จะปรากฏฟลดขอมูลวางเปลา อิดทิ บอกซ Default คลิกปุม OK 60. จากรูปที่ 17.30 (ขวา) เปลีย่ นจุด Justification ของแอททริบวิ ต Projectname จากเดิม Middle Left ใหเปน Middle Center โดยใชคําสั่ง Modify4Object4Text4Justify แลวคลิกบน แอททริบิวต Projectname ตรงจุดที่ 20 เลือกตัวเลือก MC แลวกดปุม Q เราจะไมสามารถ มองเห็นการเปลีย่ นแปลงใดๆ นอกจากเราจะคลิกใหปรากฏจุดกริป๊ ส จึงจะเห็นจุดกริป๊ สปรากฏ เพิม่ ขึน้ ใหมอยูต รงจุดศูนยกลางของแอททริบวิ ต 61. จากรูปที่ 17.30 (ขวา) ใชคําสัง่ Modify4Object4Text4Edit แลวคลิกแอททริบวิ ตจดุ ที่ 20 หรือดับเบิล้ คลิกแอททริบวิ ตจดุ ที่ 20 เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Edit Attribute Definition เปลีย่ นชือ่ Tag เปน SH_NO ลบฟลดขอมูลในอิดิทบอกซ Default คลิกขวาบนอิดิทบอกซ Default เลือกคําสั่ง Insert Field เลือก Sheet Set ในแถบรายการ Field category คลิกบนฟลด CurrentSheetNumber ในชองหนาตาง Field names แลวคลิกปุม OK จะปรากฏฟลดขอมูล วางเปลา บนอิดิทบอกซ Default คลิกปุม OK จะปรากฏดังรูปที่ 17.32 (ซาย) 62. จากรูปที่ 17.32 (ซาย) ใชคําสั่ง Modify4Properties เมื่อ ปรากฏหนาตาง Properties คลิก แอททริบวิ ต SH_NO แกไขความ สูงในอิดทิ บอกซ Height จากเดิม 2 หนวย ใหเปน 5 หนวย ปดหนา µè Ò§PropertiesáÅé Ç¡´ »Ø ÁD è เพื่ อยกเลิ ก การเลื อกวั ตถุ จะ ปรากฏดังรูปที่ 17.32 (ขวา) 63. ขยายไตเติ้ ลบล็ อ คให มี ข นาด ใหญเต็มพื้ นที่วาดภาพ โดยใช คําสั่ง View4Zoom4Extents ตารางรายการแบบจะ ปรากฏดังรูปที่ 17.33 รูปที่ 17.32

chap-17.PMD

533

13/10/2549, 1:37

534 รูปที่ 17.33

2D Drafting

Note

เปนอันวาเราไดสรางตารางรายการแบบขนาด A4 หนวยมิลลิเมตรเกือบจะเสร็จเรียบรอยแลว เหลือ เพียงขัน้ ตอนเดียวคือการแปลงตารางรายการแบบใหเปนบล็อคเทานัน้ สวนวิวพอรทนัน้ เราไมจําเปน ตองสราง เนือ่ งจากการใช Sheet Set Manager จะมีการสรางวิวพอรทใหโดยอัตโนมัติ แตเนื่องจากเรา จําเปนจะตองสรางตารางรายการแบบ A4 หนวยเมตร A3 หนวยมิลลิเมตรและ A3 หนวยเมตร โดยใช ตารางรายการแบบ A4 หนวยมิลลิเมตรดังรูปที่ 17.33 แผนนีเ้ ปนตนแบบ ดังนัน้ เราจึงจะยังไมแปลงให เปนบล็อค เพื่อที่เราจะไดไมตองเสียเวลาระเบิดตารางรายการแบบออกมาเพื่ อที่ จะสามารถแกไข เปลี่ยนแปลงได พอเราสรางตารางรายการแบบทุกขนาดเสร็จเรียบรอยทั้งหมด เราจึงจะแปลงตาราง รายการแบบทัง้ หมดใหเปนบล็อคพรอมๆ กันในคราวเดียว

Note

เริ่มสรางตารางรายการแบบขนาด A3 หนวยวัดเปนมิลลิเมตร โดยใชตารางรายการแบบขนาด A4 มิลลิเมตรดังรูปที่ 17.33 เปนตนแบบดังนี้

64. จากรูปที่ 17.33 คัดลอกเลเอาท ISO-A4-MM โดยคลิกขวาบนแถบเลเอาท ISO-A4-MM แลวเลือกคําสัง่ Move or Copy จะปรากฏไดอะล็อค Move or Copy คลิกใหปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Create a copy แลวคลิกบนปุม OK เพื่อออกจากไดอะล็อค จะปรากฏแถบ เลเอาท ISO-A4-MM (2) 65. จากรูปที่ 17.33 เปลี่ยนชือ่ เลเอาท โดยคลิกขวาบนเลเอาท ISO-A4-MM (2) แลวเลือกคําสั่ง Rename แลวเปลีย่ นชือ่ เลเอาทใหมเปน ISO-A3-MM รูปที่ 17.34

chap-17.PMD

534

13/10/2549, 1:37

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางไตเติ้ลบล็อค

535

66. คลิกบนเลเอาท ISO-A3-MM เพือ่ เขาสูเ ลเอาท ISO-A3-MM จะปรากฏตารางรายการแบบดังรูป ที่ 17.34 (ซาย) ซึง่ เหมือนกับตารางรายการแบบในรูปที่ 17.33 ทุกประการ 67. จากรูปที่ 17.34 (ซาย) ยืดตารางรายการแบบไปทางขวาในแนวนอนเทากับความยาวของ กระดาษ A3 420 มิลลิเมตร ลบดวยความยาวของกระดาษ A4 297 มิลลิเมตร นัน่ ก็คอื 420-297 = 123 หนวย ดังนัน้ เราจะตองยืดตารางรายการแบบไปทางขวาในแนวนอนเทากับ 123 หนวย โดยใชคําสัง่ Modify4Stretch Command: _stretch

{จากรูปที่ 17.34 (ซาย) ใหแนใจวา

# อยูใ นสถานะปด}

Select objects to stretch by crossing-window or crossing-polygon...

{คลิกตรงจุดที่ 1} Specify opposite corner: {คลิกตรงจุดที่ 2 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Crossing} Select objects: {คลิกขวาหรือ Q เพือ ่ ออกจากโหมดการเลือกวัตถุ} Specify base point or [Displacement] : {คลิก ณ จุดใดๆ หรือคลิก ประมาณจุดที่ 3 } Specify second point or <use first point as displacement>: 123 {ใหแนใจวา ) หรือ * อยูใ นสถานะเปดและ + อยูใ นสถานะปด เลือ่ นเคอรเซอรไปทาง ขวาในแนวนอน หรือเลือ่ นไปทางทิศทางของจุดที่ 4 แลวพิมพ 123 แลวกดปุม Q หรือพิมพ รีเลทีฟคอรออรดเิ นท @123<0 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 17.34 (ขวา)} Select objects:

68. จากรูปที่ 17.34 (ขวา) คลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ STRETCH หรือใชคําสัง่ Modify4Stretch ยืดตารางรายการแบบขึ้นดานบนในแนวดิง่ เทากับความสูงของกระดาษ A3 297 มิลลิเมตร ลบดวยความสูงของกระดาษ A4 210 มิลลิเมตร นัน่ ก็คอื 297-210 = 87 หนวย ดังนัน้ เราจะตอง ยืดตารางรายการแบบไปทางดานบนในแนวดิง่ เทากับ 87 หนวย ตามวิธใี นขอทีแ่ ลว เมือ่ ปรากฏ ขอความ Select objects: คลิกจุดที่ 5 และ 6 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Crossing แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Specify base point... คลิก ณ จุดใดๆ หรือคลิกตรงจุดที่ 7 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify second point... เลือ่ นเคอรเซอรขน้ึ ในแนวดิง่ แลวพิมพ 87 แลวกดปุม Q หรือพิมพ @87<90 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 17.35

รูปที่ 17.35

chap-17.PMD

69. คลิ กขวาบนแถบเลเอาท ISO-A3-MM เลือกคําสั่ง Page Setup Manager เมื่อ ปรากฏไดอะล็อค Page Setup Manager ดังรูปที่ 15.3 ใหแนใจวาเลเอาท ISO-A3MM ปรากฏบน Current layout แลวคลิก บนปุม New เพือ่ บันทึก Page Setup ใหม จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 15.4 คลิกบน ปุม OK เพือ่ ยอมรับชือ่ บันทึกการตัง้ คาหนา กระดาษ Setup2 จะปรากฏไดอะล็ อค Page Setup ดังรูปที่ 15.5 เลือกกระดาษ ISO A3 (420.00x297.00 MM) จากแถบรายการ Paper size แลวคลิกปุม Window เพือ่ กําหนดขอบเขตในการพิมพใหม (เดิมยังคงเปน 0,0 และ 297,210) เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first corner ใหพมิ พ 0,0 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify opposite corner ใหพมิ พ 420,297 ซึง่ เทากับกระดาษขนาด A3 ซึง่ มีหนวยเปนมิลลิเมตรพอดี เมือ่ กลับไปยังไดอะล็อค Page Setup ใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Center the plot และ Plot scale = 1:1 (1 mm = 1 unit) คลิกบนปุม OK เมือ่ กลับไปยังไดอะล็อค Page

535

13/10/2549, 1:37

536

Setup Manager ใหแนใจวาปรากฏแถบสีน้ําเงินบน Setup2 แลวคลิกบนปุม Set Current สังเกตุวาเลเอาท ISO-A3-MM จะยึดติดกับ Setup2 สวนเลเอาท ISO-A4-MM จะยึดติดกับ Setup1 เชนเดิมดังรูปที่ 17.36 (ซาย) คลิกปุม Close เพือ่ ออกจากไดอะล็อค ตารางรายการแบบ ISO-A3-MM จะปรากฏดังรูปที่ 17.36 (ขวา)

2D Drafting

รูปที่ 17.36

Note

จากรูปที่ 17.36 (ขวา) เราจะสังเกตุเห็นวา เมื่อเปลี่ยนกระดาษ A4 เปน A3 เสนประซึ่งแสดงพื้นที่ที่ สามารถพิมพไดยนื่ เขาไปในขอบเขตของกรอบตารางรายการแบบในแนวนอนทัง้ ดานบนและดานลาง หากเราทําการสรางไฟล .dwf หรือพิมพแบบแปลน จะทําให กรอบดานลางและดานบนของกรอบตาราง รายการแบบขาดหายไป ดังนั้น เราจึงควรทีจ่ ะปรับขอบกระดาษ(Margin)ของพืน้ ที่ทสี่ ามารถพิมพได (Printable area)ในคอนฟกเกอเรชัน่ ของเครื่องพิมพ ตารางรายการแบบจึงจะพิมพออกมาอยางถูกตอง

70. ปรับขอบกระดาษ ISO A3 (420.00x297.00MM) ใหเหลือดานละ 5 มิลลิเมตร โดยคลิกขวาบน เลเอาท ISO-A3-MM แลวเลือกคําสัง่ Page Setup Manager เลือก Setup2 แลวคลิกบนปุม Modify จะปรากฏไดอะล็อค Page Setup ใหคลิกบนปุม Properties ของเครือ่ งพิมพ DWF6 ePlot.pc3 ที่ปรากฏในแถบรายการ Printer/Plotter Name เลือกแถบคําสั่ง Device and Document Settings คลิกหัวขอ Modify Standard Paper Size (Printalble Area) เลือกกระดาษ แผนทีต่ องการปรับขอบกระดาษ ISO A3 (420.00x297.00MM) ซึ่งปรากฏในชองหนาตาง Modify Standard Paper Size ดังรูปที่ 17.9 อานคาพืน้ ทีท่ สี่ ามารถพิมพไดจาก Printable area คลิกบนปุม Modify ปอนคา 5 มิลลิเมตรเขาไปในอิดทิ บอกซ Top (ขอบบน) Bottom (ขอบลาง) Left (ขอบซาย) และ Right (ขอบขวา)ดังรูปที่ 17.10 (ซาย) คลิกปุม Next คลิกปุม Finish คลิก บนปุม OK จะปรากฏไดอะล็อค Changes to a Printer Configuration File คลิกปุม OK และคลิกปุม OK เพือ่ ออกจากไดอะล็อค Page Setup เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Question ดังรูปที่ 17.11 คลิกบนปุม Yes ขอบกระดาษจะถูกปรับใหเหลือเพียง 5 มิลลิเมตรดังรูปที่ 17.37 (ซาย) รูปที่ 17.37

chap-17.PMD

536

13/10/2549, 1:37

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางไตเติ้ลบล็อค Note

537

ในขณะนี้ เรามีเลเอาทกระดาษขนาด A4 หนวยมิลลิเมตร (ISO-A4-MM) และเลเอาทกระดาษขนาด A3 หนวยมิลลิเมตร (ISO-A3-MM) ดังนัน้ เราจะคัดลอกเลเอาททงั้ สองเพือ่ ทีจ่ ะนําไปยอขนาดใหเล็กลง 1000 เทา ซึ่งก็จะไดเลเอาทกระดาษขนาด A4 หนวยเมตรและเลเอาทกระดาษขนาด A3 หนวยเมตร กอนอืน่ เราจะเริ่มจากการคัดลอกและแปลงกระดาษ A4 จากมิลลิเมตรใหเปนเมตรดังนี้

71. คัดลอกเลเอาท ISO-A4-MM โดยคลิกขวาบนแถบเลเอาท ISO-A4-MM แลวเลือกคําสัง่ Move or Copy จะปรากฏไดอะล็อค Move or Copy คลิกใหปรากฏเครื่องหมาย บนเช็คบอกซ Create a copy แลวคลิกบนปุม OK เพือ่ ออกจากไดอะล็อค จะปรากฏแถบเลเอาท ISO-A4MM (2) 72. เปลีย่ นชือ่ เลเอาท โดยคลิกขวาบนเลเอาท ISO-A4-MM (2) แลวเลือกคําสัง่ Rename แลวเปลีย่ น ชือ่ เลเอาทใหมเปน ISO-A4-M 73. คลิกแถบเลเอาท ISO-A4-M เพือ่ กําหนดใหเปนแถบเลเอาทใชงาน ยอตารางรายการแบบใหมี ขนาดเล็กลงจากเดิม 1000 เทา โดยใชคําสัง่ Modify4Scale Command: _scale

{พิมพ ALL เพือ่ เลือกวัตถุทอี่ ยูใ นเลเอาท ISO-A4-M ทัง้ หมด} {โปรแกรมรายงานจํานวนวัตถุทถี่ กู เลือกทัง้ หมด} 82 were not in current space. {โปรแกรมรายงานจํานวนวัตถุทไี่ มไดอยูใ นเลเอาทใชงานและ ไมไดถกู เลือก} 1 was the paper space viewport. {วัตถุ 1 ชิน ้ คือวิวพอรทในเปเปอรสเปส} Select objects: {คลิกขวาหรือ Q เพือ ่ ออกจากการเลือกวัตถุ} Specify base point: 0,0 {พิมพคา คอรออรดเิ นท 0,0 เพือ ่ กําหนดจุดยึดในการเปลีย่ นสเกล} Specify scale factor or [Reference]: 0.001 {พิมพคา สเกลแฟคเตอร 0.001 แลว Q ตาราง รายการแบบจะถูกยอใหมขี นาดเล็กลง 1000 เทา ไปอยูท มี่ มุ ซายลางของเลเอาท ซึง่ เราจึงไมสามารถ มองเห็นไดเนือ่ งจากมีขนาดเล็กมาก เราจึงมองเห็นเลเอาทเปลาๆ ดังรูปที่ 17.38 (ซาย)} Select objects: ALL 123 found

รูปที่ 17.38

74. แปลงเลเอาท ISO-A4-M ใหกลายเปนเมตรตามตารางรายการแบบ (ในขณะนี้ยังคงเปน มิลลิเมตร) โดยคลิกแถบเลเอาท ISO-A4-M เพือ่ กําหนดใหเปนเลเอาทใชงาน คลิกขวาบนแถบ เลเอาท ISO-A4-M เลือกคําสั่ง Page Setup Manager เมื่อปรากฏไดอะล็อค Page Setup Manager ดังรูปที่ 15.3 ใหแนใจวาเลเอาท ISO-A4-M ปรากฏบน Current layout แลวคลิกบนปุม New เพือ่ บันทึก Page Setup ใหม จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 15.4 คลิกบนปุม OK เพือ่ ยอมรับ ชือ่ บันทึกการตัง้ คาหนากระดาษ Setup3 จะปรากฏไดอะล็อค Page Setup ดังรูปที่ 15.5 แกไข Plot scale เปน 1000 mm = 1 unit ดังรูปที่ 17.37 (กลาง) แลวคลิกปุม Window เพื่อกําหนด ขอบเขตในการพิมพใหม (เดิมยังคงเปน 0,0 และ 297,210) เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first corner ใหพมิ พ 0,0 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify opposite corner ใหพมิ พ 0.297,0.210 ซึง่ เทากับ

chap-17.PMD

537

13/10/2549, 1:37

538

กระดาษขนาด A4 ซึง่ มีหนวยเปนเมตรพอดี เมือ่ กลับไปยังไดอะล็อค Page Setup ใหแนใจวา ปรากฏเครื่องหมาย บนเช็คบอกซ Center the plot แลว คลิกบนปุม OK เมื่อกลับไปยัง ไดอะล็อค Page Setup Manager ใหแนใจวาปรากฏแถบสีนา้ํ เงิน บน Setup3 แลวคลิกบนปุม Set Current สังเกตุวาเลเอาท ISO-A4-M จะยึดติดกับ Setup3 ดังรูปที่ 17.37 (ขวา) คลิกปุม Close เพือ่ ออกจากไดอะล็อค ตารางรายการ A4 จะมีหนวยเปนเมตรและจะปรากฏมีขนาดพอดี กับกระดาษเลเอาทดงั รูปที่ 17.38 (ขวา)

2D Drafting

Note

หากเปลีย่ นสเกลใหกบั ตารางรายการแบบแลว แตปรากฏวายังไมปรากฏตารางรายการแบบในตําแหนง แสดงเงาของกระดาษ ใหใชคําสั่ง View4Zoom4Extents เพื่อขยายชิ้นงานใหปรากฏเต็มพื้นที่ วาดภาพ แลวใชคําสั่ง View4Regen All เพื่อใหโปรแกรมคํานวณตําแหนงตารางรายการแบบใหม จากนั้น จึงคลิกขวาบนเลเอาท ISO-A4-M เลือกคําสั่ง Page Setup Manager คลิกบนชื่อ Setup3 แลว คลิกบนปุม Modify เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Page Setup คลิกบนปุม Window อีกครัง้ เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first corner ใหพิมพ 0,0 เมื่อปรากฏขอความ Specify opposite corner ใหพิมพ 0.297,0.210 เมื่อกลับไปยังไดอะล็อค Page Setup ใหแนใจวาปรากฏเครื่องหมาย บนเช็คบอกซ Center the plot แลวคลิกบนปุม OK เมือ่ กลับไปยังไดอะล็อค Page Setup Manager จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 17.11 ใหคลิกบนปุม Yes แลวคลิกบนปุม Close เพือ่ ออกจากไดอะล็อค จะสามารถแกไขปญหาตารางรายการ แบบปรากฏไมตรงกับเงากระดาษได

Note

ทดลองเลือ่ นเคอรเซอรไปทีม่ มุ ซายลางและมุมขวาบนของเลเอาท ISO-A4-M แลวอานคาคอรออรดเิ นท ถาอานคาไดใกลเคียง 0,0 และ 0.297,0.210 แสดงวาถูกตอง แลวทดลองเชนเดียวกันกับเลเอาท ISO-A4MM จะตองอานคาได 0,0 และ 297,210 เชนเดิม

Note

ในขณะนี้ เราไดสรางเลเอาท ISO-A4-MM, ISO-A3-MM, ISO-A4-M เรียบรอยแลว ดังนัน้ จึงเหลือเพียง เลเอาท ISO-A3-M ซึง่ มีกระดาษขนาด A3 หนวยเปนเมตรเพียงแผนเดียว เราจะใชเลเอาท ISO-A3-MM เปนตนแบบแลวคัดลอกเปนเลเอาทใหม แลวทําการเปลีย่ นชือ่ เปลีย่ นสเกลตารางและเลเอาทดงั นี้

75. คัดลอกเลเอาท ISO-A3-MM โดยคลิกขวาบนแถบเลเอาท ISO-A3-MM แลวเลือกคําสัง่ Move or Copy จะปรากฏไดอะล็อค Move or Copy คลิกใหปรากฏเครื่องหมาย บนเช็คบอกซ Create a copy แลวคลิกบนปุม OK เพือ่ ออกจากไดอะล็อค จะปรากฏแถบเลเอาท ISO-A3MM (2) 76. เปลีย่ นชือ่ เลเอาท โดยคลิกขวาบนเลเอาท ISO-A3-MM (2) แลวเลือกคําสัง่ Rename แลวเปลีย่ น ชือ่ เลเอาทใหมเปน ISO-A3-M 77. คลิกแถบเลเอาท ISO-A3-M เพือ่ กําหนดใหเปนแถบเลเอาทใชงาน ยอตาราง รายการแบบใหมี ขนาดเล็กลงจากเดิม 1000 เทา โดยใชคําสัง่ Modify4Scale Command: _scale

{พิมพ ALL เพือ่ เลือกวัตถุทอี่ ยูใ นเลเอาท ISO-A3-M ทัง้ หมด} {โปรแกรมรายงานจํานวนวัตถุทถี่ กู เลือกทัง้ หมด} 123 were not in current space. {โปรแกรมรายงานจํานวนวัตถุทไี่ มไดอยูใ นเลเอาทใชงานและ ไมไดถกู เลือก} 1 was the paper space viewport. {วัตถุ 1 ชิน ้ คือวิวพอรทในเปเปอรสเปส} Select objects: {คลิกขวาหรือ Q เพือ ่ ออกจากการเลือกวัตถุ} Specify base point: 0,0 {พิมพคา คอรออรดเิ นท 0,0 เพือ ่ กําหนดจุดยึดในการเปลีย่ นสเกล} Select objects: ALL 164 found

chap-17.PMD

538

13/10/2549, 1:37

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางไตเติ้ลบล็อค

539

{พิมพคา สเกลแฟคเตอร 0.001 แลว Q ตาราง รายการแบบยอใหมขี นาดเล็กลง 1000 เทา ไปอยูท มี่ มุ ซายลางของเลเอาท ซึง่ เราจึงไมสามารถ มองเห็นไดเนือ่ งจากมีขนาดเล็กมาก เราจึงมองเห็นเลเอาทเปลาๆ ดังรูปที่ 17.39 (ซาย)}

Specify scale factor or [Reference]: 0.001

รูปที่ 17.39

78. แปลงเลเอาท ISO-A3-M ใหกลายเปนเมตรตามตารางรายการแบบ (ในขณะนี้ยังคงเปน มิลลิเมตร) โดยคลิกแถบเลเอาท ISO-A3-M เพื่อกําหนดใหเปนเลเอาทใชงาน คลิกขวาบน แถบเลเอาท ISO-A3-M เลือกคําสัง่ Page Setup Manager เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Page Setup Manager ดังรูปที่ 15.3 ใหแนใจวาเลเอาท ISO-A3-M ปรากฏบน Current layout แลวคลิกบนปุม New เพือ่ บันทึก Page Setup ใหม จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 15.4 คลิกบนปุม OK เพือ่ ยอมรับ ชือ่ บันทึกการตัง้ คาหนากระดาษ Setup4 จะปรากฏไดอะล็อค Page Setup ดังรูปที่ 15.5 แกไข Plot scale ใหเปน 1000 mm = 1 unit ดังรูปที่ 17.37 (กลาง) แลวคลิกปุม Window เพือ่ กําหนด ขอบเขตในการพิมพใหม (เดิมยังคงเปน 0,0 และ 420,297) เมือ่ ปรากฏ ขอความ Specify first corner ใหพมิ พ 0,0 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify opposite corner ใหพมิ พ 0.42,0.297 ซึง่ เทากับ กระดาษขนาด A3 ซึง่ มีหนวยเปนเมตรพอดี เมือ่ กลับไปยังไดอะล็อค Page Setup ใหแนใจวา ปรากฏเครื่องหมาย บนเช็คบอกซ Center the plot แลวคลิกบนปุม OK เมื่อกลับไปยัง ไดอะล็อค Page Setup Manager ใหแนใจวาปรากฏแถบสีนา้ํ เงิน บน Setup4 แลวคลิกบนปุม Set Current สังเกตุวา เลเอาท ISO-A3-M จะยึดติดกับ Setup4 ดังรูปที่ 17.39 (กลาง) คลิกปุม Close เพื่อออกจากไดอะล็อค ตารางรายการ A3 จะมีหนวยเปนเมตรและจะปรากฏมีขนาด พอดีกบั กระดาษเลเอาทดังรูปที่ 17.39 (ขวา) Note

เมือ่ เราไดสรางเลเอาททงั้ 4 เลเอาทเรียบรอยแลว ลองตรวจสอบความถูกตองในแตละเลเอาท โดยเลือ่ น เคอรเซอรไปที่มุมขวาดานบนของตารางรายการแบบในแตละเลเอาท แลวลองอานคาคอรออรดิเนท ISO-A4-MM จะตองมีคา เทากับ 297,210 ISO-A4-M เทากับ 0.297,0.21 ISO-A3-MM เทากับ 420,297 ISO-A3-M เทากับ 0.42,0.297 เมื่อตรวจสอบความถูกตองเรียบรอยแลว ตอไปเราจะเริ่มแปลงเลเอาท แตละแผนใหกลายเปนบล็อคดังนี้

79. เราจะเริม่ จากเลเอาท ISO-A4-MM โดยคลิกแถบเลเอาท ISO-A4-MM เพือ่ กําหนดใหเปนเลเอาท ใชงาน แลวแปลงตารางรายการแบบรวมทัง้ แอททริบวิ ตทงั้ หมดใหเปนบล็อค แตกอ นอืน่ ตรวจ สอบสเกลในการสอดแทรกบล็อค โดยใชคําสัง่ Format4Unit ใหแนใจวาปรากฏ Millimeters ในแถบรายการ Units to scale inserted content แลวคลิกบนปุม OK เริม่ แปลงตารางรายการ แบบใหเปนบล็อค โดยใชคําสัง่ Draw4Block4Make จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 17.40 (ซาย) ตัง้ ชือ่ บล็อค ISO-A4-MM ในแถบรายการ Name คลิกบนปุม Select objects แลว เลือกวัตถุทงั้ หมด โดยพิมพ ALL แลวกดปุม Q แลวกดปุม Q อีกครัง้ เพือ่ กลับสูไ ดอะล็อค โปรแกรมจะรายงานจํานวนวัตถุทั้งหมดทีถ่ ูกเลือก ใหแนใจวาปุมเรดิโอ Convert to block ถูกเลือกอยู ใหแนใจวา Base point X,Y,Z = 0,0,0 เพือ่ ใชมมุ ซายดานลางของตารางรายการแบบ เปนจุดสอดแทรก ใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Allow exploding ใหแนใจวา Block unit = Millimeters แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏไดอะล็อค Edit Attributes ดังรูปที่

chap-17.PMD

539

13/10/2549, 1:37

540

2D Drafting

รูปที่ 17.40

17.40 (ขวา) ในที่นี้ ใหยอมรับคาที่ โปรแกรมกําหนดมาให โดยคลิกบนปุม OK เพื่อออกจาก ไดอะล็อคตารางรายการแบบจะถูกแปลงใหเปนบล็อคพรอมใชงานดังรูปที่ 17.41 (ซาย)

รูปที่ 17.41

80. คลิกแถบเลเอาท ISO-A3-MM เพือ่ กําหนดใหเปนเลเอาทใชงาน ตรวจสอบสเกลในการสอด แทรกบล็อค โดยใชคําสัง่ Format4Unit ใหแนใจวายังคงปรากฏ Millimeters ในแถบรายการ Units to scale inserted content แลวคลิกบนปุม OK เริม่ แปลงตารางรายการแบบใหเปนบล็อค โดยใชคําสัง่ Draw4Block4Make จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 17.40 (ซาย) ตัง้ ชือ่ บล็อค ISO-A3-MM ในแถบรายการ Name คลิกบนปุม Select objects แลวเลือกวัตถุทงั้ หมด โดยพิมพ ALL แลวกดปุม Q แลวกดปุม Q อีกครั้ง เพือ่ กลับสูไ ดอะล็อค โปรแกรมจะ รายงานจํานวนวัตถุทั้งหมดทีถ่ ูกเลือก ใหแนใจวาปุมเรดิโอ Convert to block ถูกเลือกอยู ใหแนใจวา Base point X,Y,Z = 0,0,0 เพือ่ ใชมุมซายดานลางของตารางรายการแบบเปนจุด สอดแทรก ใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Allow exploding ใหแนใจวา block unit = Millimeters แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏไดอะล็อค Edit Attributes ดังรูปที่ 17.40 (ขวา) ใหยอมรับคาทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาให โดยคลิกบนปุม OK เพือ่ ออกจากไดอะล็อค ตาราง รายการแบบจะถูกแปลงใหเปนบล็อคพรอมทีจ่ ะนําไปใชงานดังรูปที่ 17.41 (ขวา) 81. คลิกแถบเลเอาท ISO-A4-M เพื่อกําหนดใหเปนเลเอาทใชงาน ตรวจสอบสเกลในการสอด แทรกบล็อค โดยใชคําสั่ง Format4Unit ใหเลือก Meters จากแถบรายการ Units to scale inserted content แลวคลิกบนปุม OK เริม่ แปลงตารางรายการแบบใหเปนบล็อค โดยใชคําสัง่ Draw4Block4Make จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 17.40 (ซาย) ตัง้ ชือ่ บล็อค ISO-A4-M ในแถบรายการ Name คลิกบนปุม Select objects แลวเลือกวัตถุทงั้ หมด โดยพิมพ ALL แล ว กดปุ ม Q แล ว กดปุ ม Q อี ก ครั้ ง เพื่ อกลั บ สู ไดอะล็ อ ค โปรแกรมจะ

chap-17.PMD

540

13/10/2549, 1:37

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางไตเติ้ลบล็อค

541

รายงานจํานวนวัตถุทั้งหมดทีถ่ กู เลือก ใหแนใจวาปุมเรดิโอ Convert to block ถูกเลือกอยู ใหแนใจวา Base point X,Y,Z = 0,0,0 เพือ่ ใชมุมซายดานลางของตารางรายการแบบเปนจุด สอดแทรก ใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Allow exploding ใหกําหนด block unit = Meters แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏไดอะล็อค Edit Attributes ดังรูปที่ 17.40 (ขวา) ใหยอมรับคาที่โปรแกรมกําหนดมาให โดยคลิกบนปุม OK เพื่อออกจากไดอะล็อค ตาราง รายการแบบจะถูกแปลงใหเปนบล็อคพรอมทีจ่ ะนําไปใชงาน 82. คลิกแถบเลเอาท ISO-A3-M เพือ่ กําหนดใหเปนเลเอาทใชงาน ตรวจสอบสเกลในการสอดแทรก บล็อค โดยใชคําสัง่ Format4Unit ใหแนใจวายังคงปรากฏ Meters ในแถบรายการ Units to scale inserted content แลวคลิกบนปุม OK เริม่ แปลงตารางรายการแบบใหเปนบล็อค โดยใช คําสั่ง Draw4 Block4Make จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 17.40 (ซาย) โดยตัง้ ชือ่ บล็อค ISO-A3-M ในแถบรายการ Name คลิกบนปุม Select objects แลวเลือกวัตถุทงั้ หมด โดย พิมพ ALL แลวกดปุม Q แลวกดปุม Q อีกครัง้ เพือ่ กลับสูไ ดอะล็อค โปรแกรมจะรายงาน จํานวนวัตถุทงั้ หมดทีถ่ ูกเลือก ใหแนใจวาปุม เรดิโอ Convert to block ถูกเลือกอยู ใหแนใจวา Base point X,Y,Z = 0,0,0 เพือ่ ใชมมุ ซายดานลางของตารางรายการแบบเปนจุดสอดแทรก ใหแน ใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Allow exploding ใหแนใจวา block unit = Meters แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏไดอะล็อค Edit Attributes ดังรูปที่ 17.40 (ขวา) ใหยอมรับคาที่ โปรแกรมกําหนดมาให โดยคลิกบนปุม OK เพือ่ ออกจากไดอะล็อค ตารางรายการแบบจะถูก แปลงใหเปนบล็อคพรอมทีจ่ ะนําไปใชงาน Note

มาถึงจุดนี้ เรียกไดวา ตารางรายการแบบทัง้ 4 แผนทีเ่ ราไดสรางขึน้ เสร็จสมบูรณแลว เราเพียงแตใชคําสัง่ File4Save As แลวบันทึกเก็บลงในเทมเพล็ทไฟลฟอรแมต Drawing Template File (*.dwt) ก็เรียบรอยแลว เราจะสามารถนําเลเอาททั้ง 4 ไปจัดหนากระดาษดวย Sheet Set Manager หรือจะนําไป จัดหนา กระดาษในการเขียนแบบธรรมดาโดยทัว่ ไปไดทนั ที แตเรายังไมตอ งการทําเชนนัน้ เนือ่ งจากเรา ยังคงมีความตองการทีจ่ ะสรางบล็อคสัญลักษณกํากับภาพฉาย เพือ่ ใหการสรางภาพฉายดวยคําสัง่ Place on Sheet ของ Sheet Set Manager สอดแทรกบล็อคที่แสดงชื่อภาพฉายและมาตราสวนของวิวพอรท โดยอัตโนมัติ นอกจากนี้ เรายังตองการสรางบล็อค Callout แสดงสัญลักษณ Elevation ตางๆ เสียกอน เพื่อที่จะไดบันทึกเขาไปเก็บไวในเทมเพล็ทไฟล .dwt ในไฟลเดียวกัน

Note

เริม่ เขียนบล็อคสัญลักษณแสดงชือ่ ภาพฉายและมาตราสวนของวิวพอรท(Label block for views) โดยเรา จะขอยืมพื้นที่วางๆ ณ จุดใดก็ได ในเลเอาทบรรจุตารางรายการแบบ ISO-A4-M เพราะในที่นี้ เราจะ สรางบล็อคทีม่ หี นวยเปนเมตร ถึงแมวา เราจะสรางบล็อคมีหนวยเปนเมตร แตเราก็สามารถนําไปใชกบั เลเอาททมี่ ีหนวยเปนมิลลิเมตรไดโดยที่ไมตอ งเสียเวลาใชคําสัง่ SCALE เพือ่ เปลีย่ นสเกลใหกับบล็อค เพราะเราสามารถใช Units to scale inserted contents ของคําสัง่ Format4Unit ในการเปลีย่ นสเกลบล็อค ใหโดยอัตโนมัติ เหตุผลที่เราสามารถสรางบล็อค ณ ตําแหนงใดๆ ก็เพราะวา หลังจากที่เราไดสราง บล็อคไปเก็บในหนวยความจําของเทมเพล็ทไฟล เราจะตองลบบล็อคออกจากพื้นที่วาดภาพ

83. คลิกบนแถบเลเอาท ISO-A4-M แลวใชคําสั่ง View4Zoom4Realtime View4Pan4Real Time ใหปรากฏดังรูปที่ 17.42 (ซาย)

และคําสั่ง

84. ใหแนใจวาเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน แลวใชคําสั่ง Draw4 Block4Define Attributes จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 17.42 (ขวา) ปอน VIEWTITLE ใน อิดิทบอกซ Tag แลวคลิกปุม Insert field จะปรากฏไดอะล็อค Field ดังรูปที่ 17.28 เลือก Sheet Set ในแถบรายการ Field category คลิกบน SheetSetPlaceholder ในชองหนาตาง Field names คลิกบน ViewTitle ในชองหนาตาง Placeholder type แลวคลิกบนปุม OK จะ ปรากฏฟลด VIEWTITLE ในอิดิทบอกซ Value ดังรูปที่ 17.42 (ขวา) เลือกการจัดตัวอักษรชิด กลางซาย Middle Left จากแถบรายการ Justification ใหแนใจวา Text Style = AngsanaUPC,

chap-17.PMD

541

13/10/2549, 1:37

542

รูปที่ 17.42

2D Drafting

Height = 0.0035 (0.0035 คือ 0.0035 เมตรหรือ 3.5 มิลลิเมตร) ใหแนใจวาไมปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Lock position in block เพื่อใหเราสามารถใชจุดกริ๊ปสเคลือ่ นยายตําแหนง แอททริบวิ ตนไี้ ดอยางอิสระ แลวคลิกปุม OK จะปรากฏขอความ Specify start point: ใหแนใจวา # บนบรรทัดแสดงสถานะอยูใ นสถานะปด คลิกประมาณจุดที่ 1 เพือ่ กําหนดตําแหนง แอททริบิวต จะปรากฏดังรูปที่ 17.43 (ซาย) รูปที่ 17.43

85. ทําซ้าํ ตามขัน้ ตอนในขอ 84 สรางแอททริบวิ ต Tag = VIEWPORTSCALE เลือก ViewPortScale ในชองหนาตาง Placeholder type เลือกการจัดตัวอักษรชิดกลางซาย Middle Left จากแถบ รายการ Justification กําหนด Text Style = AngsanaUPC, Height = 0.003 แลวคลิกประมาณ จุดที่ 1 ของรูปที่ 17.43 (ซาย) จะปรากฏดังรูปที่ 17.43 (ขวา) 86. จากรูปที่ 17.43 (ขวา) เปลี่ยนเลเยอรใชงานเปนเลเยอร เขียน ตัวอักษรธรรมดา โดยใชคาํ สัง่ Draw4Text4Single Line Text เมือ่ ปรากฏขอความ Specify start point... พิมพตวั เลือก J แลวเลือก ML เมือ่ ปรากฏขอความ Specify middle-left point... แลวคลิกประมาณจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify height... กําหนดความสูง 0.003 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify rotation... แลวพิมพขอความ มาตราสวน แลวกดปุม Q 2 ครัง้ เพือ่ ออกจากคําสัง่ 87. จากรูปที่ 17.43 (ขวา) เขียนเสนตรง โดยใชคําสัง่ Draw4Line คลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 17.44 (ซาย)

คลิกจุดที่ 3 และจุดที่ 4 แลว

รูปที่ 17.44

chap-17.PMD

542

13/10/2549, 1:37

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางไตเติ้ลบล็อค

543

88. จากรูปที่ 17.44 (ซาย) เปลีย่ นเลเยอรใหกบั เสนตรง โดยในขณะทีบ่ รรทัด Command: ไมปรากฏ คําสัง่ ใดๆ คลิกเสนตรงจุดที่ 1 จะปรากฏจุดกริป๊ ส เลือกเลเยอร จากแถบรายการควบคุมเลเยอร แลวกดปุม D เพื่อยกเลิกการเลือกวัตถุ 89. จากรูปที่ 17.44 (ขวา) แปลงตัวอักษรและแอททริบิวตและเสนตรงใหเปนบล็อค โดยกอนอื่น ใชคาํ สัง่ Format4Unit ใหแนใจวายังคงปรากฏ Meters ในแถบรายการ Units to scale inserted content แลวคลิกบนปุม OK แลวใชคําสัง่ Draw4Block4Make จะปรากฏไดอะล็อค ดังรูปที่ 17.40 (ซาย) ตัง้ ชือ่ บล็อค LabelBlock ในแถบรายการ Name แลวคลิกบนปุม Pick point เมือ่ ปรากฏขอความ Specify insertion base point: คลิกประมาณจุดที่ 2 เมือ่ กลับมายัง ไดอะล็อค คลิกบนปุม Select objects แลวคลิกจุดที่ 3 และ 4 แลวคลิกขวา เมือ่ กลับมายัง ไดอะล็ อ ค เลื อ กปุม เรดิโอ Delete เพือ่ ลบวัตถุทถี่ กู เลือกทิง้ ไป ใหแนใจวา Block รูปที่ 17.45 unit = Meters ใหแนใจวา ปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Allow exploding แลวคลิกบนปุม OK เพื่อออกจากไดอะล็อค วัตถุที่เราสรางตั้งแตขอ 84 ถึง 88 จะถูกลบทิง้ ไป แตบล็อคชือ่ LabelBlock จะถูกสรางเขาไปเก็บในหนวยความจํา ของไฟลแบบแปลนใชงาน Note

หลังจากที่เราไดสรางบล็อค LabelBlock ในขอ 89 แลว เราจะไมทราบเลยวาเราไดสรางบล็อคถูกตอง หรือไม เราสามารถทดลองสอดแทรกบล็อคกลับมา ณ ตําแหนงใดๆ บนพื้นที่วาดภาพ โดยใชคําสั่ง Insert4Block หากปรากฏดังรูปที่ 17.45 แสดงวาถูกตอง เมือ่ ตรวจสอบความถูกตองเรียบรอยแลว จึงใชคําสั่ง Modify4Erase ลบบล็อคดังกลาวทิ้งไป

Note

จากรูปที่ 17.45 สังเกตุวา พืน้ หลังของฟลดในบล็อค LabelBlock ทีป่ รากฏเปนสีเทา แสดงใหเราทราบวา ขอมูลดังกลาวเปนขอมูลฟลด(Field)และจะไมปรากฏบนเครื่องพิมพ หากไมตอ งการใหพนื้ หลังของ ฟลดปรากฏเปนสีเทา เราสามารถใชคําสั่ง Tools4Options ð User Preferences ปลดเครื่องหมาย ออกจากเช็คบอกซ Display background of fields

Note

ตอไปเราจะสรางสัญลักษณ Callout block แสดงหมายเลขภาพฉาย(View number)และหมายเลขแผน (Sheet number) เชื่อมโยงฟลดขอมูลใน Sheet Set Manager เพื่อใหโปรแกรมอับเดทโดยอัตโนมัติ หากมีการแกไขเปลี่ยนแปลง โดยเราจะใชพื้นที่วางบนเลเอาท ISO-A4-M ณ ตําแหนงเดิม เปนพื้นที่ ชัว่ คราวในการสรางบล็อค โดยมีขนั้ ตอนดังนี้

90. ใหแนใจวาเลเยอรใชงานคือ เขียนวงกลม โดยใชคําสัง่ Draw4 Circle4Center, Radius เมือ่ ปรากฏขอความ Specify center point ... คลิกบนพืน้ ที่ วาดภาพ ณ ตําแหนงใดๆ เพือ่ เขียนวงกลมใหปรากฏดังรูปที่ 17.46 (ซาย) เมือ่ ปรากฏขอความ Specify radius of circle... พิมพ 0.004 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 17.46 (ซาย) รูปที่ 17.46

91. จากรูปที่ 17.46 (ซาย) เขียนเสนตรง โดยใชคาํ สัง่ Draw4Line คลิกบนปุม (Quadrant) แลวคลิกซาย เมือ่ ปรากฏมารคเกอร ตรงจุดที่ 1 คลิกบนปุม (Quadrant) แลวคลิกซาย เมือ่ ปรากฏมารคเกอร ตรงจุดที่ 2 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 17.46 (ขวา)

chap-17.PMD

543

13/10/2549, 1:38

544

92. แกไขความหนาเสนของวงกลม โดยคลิกบนวงกลม ใหปรากฏจุดกริป๊ ส แลวเลือกความหนาเสน แกไขความหนาเสนของเสนตรง โดยคลิกบนเสนตรง ใหปรากฏจุด กริป๊ ส แลวเลือกความหนาเสน

2D Drafting

93. เปลีย่ นเลเยอรใชงานเปน แลวใชคําสัง่ Draw4Block4 Define Attributes จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 17.42 (ขวา) ปอน V# ในอิดิทบอกซ Tag Insert field จะปรากฏไดอะล็อค Field ดังรูปที่ 17.28 เลือก Sheet Set แลวคลิกปุม ในแถบรายการ Field category คลิกบน SheetSetPlaceholder ในชองหนาตาง Field names คลิกบน ViewNumber ในชองหนาตาง Placeholder type แลวคลิกบนปุม OK จะ ปรากฏฟลด VIEWNUMBER ในอิดทิ บอกซ Value เลือกการจัดตัวอักษรชิดกลาง Middle Center จากแถบ รายการ Justification ใหแนใจวา Text Style = AngsanaUPC, Height = 0.002 ใหแนใจวา ปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Lock position in block เพราะเราไมตอ งการใชจุดกริป๊ ส เคลือ่ นยายตําแหนงแอททริบิวต แลวคลิกปุม OK จะปรากฏขอความ Specify start point: ใหแนใจวา # บนบรรทัดแสดงสถานะอยูใ นสถานะปด คลิกประมาณจุดที่ 3 ของรูปที่ 17.46 (ขวา) เพือ่ กําหนดตําแหนงแอททริบวิ ต Note

อันที่จริง ในขอ 93 เราจะตองเลือก SheetView ในชองหนาตาง Field names แตเนื่องจากเรายังไมได เขียนแบบชิ้นงานและยังไมไดสราง View จึงไมมีขอมูล SheetView ใหเลือก ดังนั้น เราจะตองเลือก SheetView ที่อยูใน SheetSetPlaceholder แทนชัว่ คราวเก็บไวในเทมเพล็ทไฟลไปกอน เพราะหลังจาก ที่สรางบล็อคแลว เราจะสามารถเปลี่ยนแปลงขอมูลในฟลดไดโดยงาย

แลวใชคาํ สัง่ Draw4Block4 94. ใหแนใจวาเลเยอรใชงานเปน Define Attributes จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 17.42 (ขวา) ปอน S# ในอิดิทบอกซ Tag แลวคลิกปุม Insert field จะปรากฏไดอะล็อค Field ดังรูปที่ 17.28 เลือก Sheet Set ใน แถบรายการ Field category คลิกบน SheetSetPlaceholder ในชองหนาตาง Field names คลิกบน SheetNumber ในชองหนาตาง Placeholder type แลวคลิกบนปุม OK จะ รูปที่ 17.47 ปรากฏฟลด SHEETNUMBER ในอิดิทบอกซ Value เลือกการจัดตัวอักษรชิดกลาง Middle Center จาก แถบรายการ Justification ใหแนใจวา Text Style = AngsanaUPC, Height = 0.002 ใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย บน เช็คบอกซ Lock position in block แลวคลิกปุม OK จะปรากฏขอความ Specify start point: ใหแนใจวา # บนบรรทัดแสดงสถานะอยูในสถานะปด คลิกประมาณจุดที่ 4 ของรูปที่ 17.46 (ขวา) จะปรากฏดังรูปที่ 17.47 Note

อันทีจ่ ริง ในขอ 94 เราจะตองเลือก SheetNumber ในชองหนาตาง Field names แตเนื่องจากเรายังไมได เขียนแบบชิ้นงานและยังไมไดสราง Sheet จึงไมมีขอมูล SheetNumber ใน SheetSet ใหเลือก ดังนั้น เราจะตองเลือก SheetNumber ที่อยูใน SheetSetPlaceholder แทนชั่วคราวเก็บไวในเทมเพล็ทไฟลไป กอน เพราะหลังจากที่สรางบล็อคแลว เราจะสามารถเปลีย่ นแปลงขอมูลในฟลดไดโดยงาย

95. จากรูปที่ 17.47 แปลงวัตถุทงั้ หมดและแอททริบวิ ตใหเปนบล็อค โดยกอนอืน่ ใชคาํ สัง่ Format4 Unit ใหแนใจวายังคงปรากฏ Meters ในแถบรายการ Units to scale inserted content แลวคลิก บนปุม OK แลวใชคําสัง่ Draw4Block4Make จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 17.40 (ซาย) ตัง้ ชือ่ บล็อค CalloutBubble ในแถบรายการ Name แลวคลิกบนปุม Pick point เมือ่ ปรากฏ ขอความ Specify insertion base point: คลิกจุดศูนยกลางของวงกลมตรงจุดที่ 1 เมือ่ กลับมายัง ไดอะล็อค คลิกบนปุม Select objects แลวคลิกจุดที่ 2 และ 3 แลวคลิกขวา เมือ่ กลับมายัง ไดอะล็อค เลือกปุม เรดิโอ Delete เพือ่ ลบวัตถุทถี่ กู เลือกทิง้ ไป ใหแนใจวา Block unit = Meters ใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Allow exploding แลวคลิกบนปุม OK เพือ่ ออก จากไดอะล็อค วัตถุทเี่ ราสรางตัง้ แตขอ 90 ถึง 94 จะถูกลบทิง้ ไป แตบล็อคชือ่ CalloutBubble จะถูกสรางเขาไปเก็บในหนวยความจําของไฟลแบบแปลนใชงาน

chap-17.PMD

544

13/10/2549, 1:38

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางไตเติ้ลบล็อค

(1)

รูปที่ 17.48

545

(2)

(3)

(4)

Note

หลังจากทีเ่ ราไดสรางบล็อค CalloutBubble ในขอ 95 แลว เราจะไมทราบเลยวาเราไดสรางบล็อคถูกตอง หรือไม เราสามารถทดลองสอดแทรกบล็อคกลับมา ณ ตําแหนงใดๆ บนพื้นที่วาดภาพ โดยใชคําสั่ง Insert4Block หากปรากฏดังรูปที่ 17.48 (1) แสดงวาถูกตอง แตเราจะมองไมเห็นวงกลมและ เสนตรงเนื่องจากพื้นหลังสีเทาของฟลดปดบังอยู เราสามารถใชคําสั่ง Tools4Options ð User Preferences ปลดเครือ่ งหมาย ออกจากเช็คบอกซ Display background of fields เพือ่ ไมใหพนื้ หลังของ ฟลดปรากฏเปนสีเทาดังรูปที่ 17.48 (2) หากเรานําบล็อคไปใชงานใน Sheet Set Manager บล็อค CalloutBubble จะปรากฏดังรูปที่ 17.48 (3) และรูปที่ 17.48 (4) หากมีการเปลีย่ นแปลงขอมูลหมายเลข ภาพฉายและหมายเลขแผนใน Sheet Set Manager หมายเลขที่ปรากฏบนบล็อค CalloutBubble จะ ปรับปรุงตามการเปลี่ยนแปลงตามไปดวยโดยอัตโนมัติ

Note

ตอไปสรางบล็อค Elev Indicator - Down บล็อค Elev Indicator - Left บล็อค Elev Indicator - Right บล็อค Elev Indicator - Up ดังรูปที่ 17.49 ตามวิธตี ง้ั แตขอ 90 ถึง 95 โดยกําหนดใหวงกลมมีรัศมีเทากับ 0.008 หนวย กําหนดความสูงของแอททริบิวตเทากับ 0.003 หนวยดังนี้ รูปที่ 17.49

Elev Indicator - Down

Elev Indicator - Left

Elev Indicator - Right

Elev Indicator - Up

96. เปลีย่ นเลเยอรใชงานเปน เขียนวงกลม โดยใชคําสัง่ Draw4 Circle4Center, Radius เมือ่ ปรากฏขอความ Specify center point ... คลิกบนพืน้ ที่ วาดภาพ ณ ตําแหนงใดๆ เพือ่ เขียนวงกลมใหปรากฏดังรูปที่ 17.50 (ซาย) เมือ่ ปรากฏขอความ Specify radius of circle... พิมพ 0.008 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 17.50 (ซาย) รูปที่ 17.50

97. จากรูปที่ 17.50 (ซาย) เขียนสี่เหลีย่ มจัตรุ ัส โดยใชคําสัง่ Draw4Polygon {กดปุม Q เพือ่ ยอมรับจํานวน 4 ดาน} {คลิกตรงจุดที่ 1} Enter an option [Inscribed in circle/Circumscribed about circle] : C {พิมพ C เพือ่ เลือก Circumscribed} Specify radius of circle: .008 {กําหนดคารัศมีเทากับ 0.008 หนวยแลวกดปุม  Q จะปรากฏ ดังรูปที่ 17.50 (กลาง)} Command: _polygon Enter number of sides <4>:

Specify center of polygon or [Edge]:

chap-17.PMD

545

13/10/2549, 1:38

546

98. จากรูปที่ 17.50 (กลาง) เขียนเสนตรง โดยใชคําสัง่ Draw4Line ตรงจุดที่ 3 แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 17.50 (ขวา)

คลิกตรงจุดที่ 2 และคลิก

2D Drafting

99. จากรูปที่ 17.50 (ขวา) ตัดเสน โดยใชคําสัง่ Modify4Trim เมือ่ ปรากฏขอความ Select cutting edges ... Select objects or <select all>: คลิกบนเสนตรงจุดที่ 4 เพื่อใชเสนตรง เปนขอบตัด แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim... คลิกบนเสนตรงจุดที่ 5 แลวคลิกขวาเพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 17.51 (ซาย)

รูปที่ 17.51

100. จากรูปที่ 17.51 (ซาย) ระบายลวดลายแฮทชแบบ Solid โดยใชคําสัง่ Draw4Hatch จะ ปรากฏไดอะล็อค Hatch and Gradient เลือก Solid จากแถบรายการ Pattern ใหแนใจวาไม ปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Create seperate hatches คลิกบนปุม Add: Pick points คลิกจุดที่ 1, 2 และ 3 แลวคลิกขวา เลือกคําสัง่ Enter จะปรากฏไดอะล็อค Hatch and Gradient คลิกบนปุม OK จะปรากฏดังรูปที่ 17.51 (กลาง) 101. จากรูปที่ 17.51 (กลาง) หมุนวัตถุ โดยใชคาํ สัง่ Modify4Rotate เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects คลิกจุดที่ 4 และ 5 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Specify base point: คลิกตรงจุดที่ 6 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify rotation angle... พิมพคา มุม -45 แลวกดปุม Q จะปรากฏ ดังรูปที่ 17.51 (ขวา) 102. จากรูปที่ 17.51 (ขวา) แกไขความหนาเสนของวงกลม โดยคลิกบนวงกลมจุดที่ 7 ใหปรากฏ จุดกริป๊ ส แลวเลือกความหนาเสน แกไขความหนาเสนของเสนตรง โดยคลิกบนเสนตรงจุดที่ 8 ใหปรากฏจุดกริป๊ ส แลวเลือกความหนาเสน จะปรากฏดังรูปที่ 17.52 (ซาย) รูปที่ 17.52

103. เปลีย่ นเลเยอรใชงานเปน แลวใชคําสัง่ Draw4Block4 Define Attributes จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 17.42 (ขวา) ปอน V# ในอิดิทบอกซ Tag แลวคลิกปุม Insert field จะปรากฏไดอะล็อค Field ดังรูปที่ 17.28 เลือก Sheet Set ในแถบรายการ Field category คลิกบน SheetSetPlaceholder ในชองหนาตาง Field names คลิกบน ViewNumber ในชองหนาตาง Placeholder type แลวคลิกบนปุม OK จะ ปรากฏฟลด VIEWNUMBER ในอิดทิ บอกซ Value เลือกการจัดตัวอักษรชิดกลาง Middle Center จากแถบ รายการ Justification ให แนใจวา Text Style = AngsanaUPC, Height = 0.003 ใหแนใจวา ปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Lock position in block เพราะเราไมตอ งการใชจุดกริป๊ ส เคลือ่ นยายตําแหนงแอททริบิวต แลวคลิกปุม OK จะปรากฏขอความ Specify start point:

chap-17.PMD

546

13/10/2549, 1:38

แบบฝกหัดที่ 1 งานสรางไตเติ้ลบล็อค

547

ใหแนใจวา # บนบรรทัดแสดงสถานะอยูใ นสถานะปด คลิกประมาณจุดที่ 1 ของรูปที่ 17.52 (ซาย) เพือ่ กําหนดตําแหนงแอททริบวิ ต Note

อันที่จริง ในขอ 103 เราจะตองเลือก SheetView ในชองหนาตาง Field names แตเนื่องจากเรายังไมได เขียนแบบชิ้นงานและยังไมไดสราง View จึงไมมีขอมูล SheetView ใหเลือก ดังนั้น เราจะตองเลือก SheetView ที่อยูใน SheetSetPlaceholder แทนชัว่ คราวเก็บไวในเทมเพล็ทไฟลไปกอน เพราะหลังจาก ที่สรางบล็อคแลว เราจะสามารถเปลี่ยนแปลงขอมูลในฟลดไดโดยงาย

แลวใชคาํ สัง่ Draw4Block4 104. ใหแนใจวาเลเยอรใชงานเปน Define Attributes จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 17.42 (ขวา) ปอน S# ในอิดิทบอกซ Tag แลวคลิกปุม Insert field จะปรากฏไดอะล็อค Field ดังรูปที่ 17.28 เลือก Sheet Set ใน แถบรายการ Field category คลิกบน SheetSetPlaceholder ในชองหนาตาง Field names คลิกบน SheetNumber ในชองหนาตาง Placeholder type แลวคลิกบนปุม OK จะ ปรากฏฟลด SHEETNUMBER ในอิดิทบอกซ Value เลือกการจัดตัวอักษรชิดกลาง Middle Center จาก แถบรายการ Justification ใหแนใจวา Text Style = AngsanaUPC, Height = 0.003 ใหแนใจวา ปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Lock position in block แลวคลิกปุม OK จะปรากฏขอความ Specify start point: ใหแนใจวา # บนบรรทัดแสดงสถานะอยูในสถานะปด คลิกประมาณจุดที่ 2 ของรูปที่ 17.52 (ซาย) จะปรากฏดังรูปที่ 17.52 (ขวา) อันทีจ่ ริง ในขอ 94 เราจะตองเลือก SheetNumber ในชองหนาตาง Field names แตเนื่องจากเรายังไมได เขียนแบบชิ้นงานและยังไมไดสราง Sheet จึงไมมีขอมูล SheetNumber ใน SheetSet ใหเลือก ดังนั้น เราจะตองเลือก SheetNumber ที่อยูใน SheetSetPlaceholder แทนชั่วคราวเก็บไวในเทมเพล็ทไฟลไป กอน เพราะหลังจากที่สรางบล็อคแลว เราจะสามารถเปลีย่ นแปลงขอมูลในฟลดไดโดยงาย

Note

105. จากรูปที่ 17.52 (ขวา) แปลงวัตถุทงั้ หมดและแอททริบิวตใหเปนบล็อค โดยกอนอื่น ใชคําสั่ง Format4Unit ใหแนใจวายังคงปรากฏ Meters ในแถบรายการ Units to scale inserted content แลวคลิก บนปุม OK แลวใชคําสัง่ Draw4Block4Make จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 17.40 (ซาย) ตัง้ ชือ่ บล็อค Elev Indicator - Up ในแถบรายการ Name แลวคลิกบนปุม Pick point เมือ่ ปรากฏ ขอความ Specify insertion base point: คลิกจุดศูนยกลางของวงกลมตรงจุดที่ Select objects แลวคลิกจุดที่ 4 และ 5 แลวคลิกขวา 3 เมือ่ กลับมายังไดอะล็อค คลิกบนปุม เมือ่ กลับมายังไดอะล็อค เลือกปุม เรดิโอ Delete เพือ่ ลบวัตถุทถี่ ูกเลือกทิง้ ไป ใหแนใจวา Block unit = Meters ใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Allow exploding แลวคลิกบนปุม OK เพือ่ ออกจากไดอะล็อค วัตถุที่เราสรางตั้งแตขอ 96 ถึง 104 จะถูกลบทิ้งไป แตบล็อคชื่อ Elev Indicator - Up จะถูกสรางเขาไปเก็บในหนวยความจําของไฟลแบบแปลนใชงาน หลังจากทีเ่ ราไดสรางบล็อค Elev Indicator - Up ในขอ 105 แลว เราจะไมทราบเลยวาเราไดสรางบล็อค ถูกตองหรือไม เราสามารถทดลองสอดแทรกบล็อคกลับมา ณ ตําแหนงใดๆ บนพื้นที่วาดภาพ โดย ใชคําสั่ง Insert4Block หากปรากฏดังรูปที่ 17.53 (1) หรือ 17.53 (2) แสดงวาถูกตอง สวนรูปที่ 17.53 (3) และรูปที่ 17.53 (4) แสดงรูปบล็อค Elev Indicator - Up เมื่อนําไปใชงานรวมกับ Sheet Set Manager

Note

(1)

chap-17.PMD

รูปที่ 17.53

547

(2)

(3)

13/10/2549, 1:38

(4)

548

Note

ในการสรางบล็อค Elev Indicator - Down บล็อค Elev Indicator - Left บล็อค Elev Indicator - Right ทีย่ ังเหลืออยูผ ูเขียนคงจะไมจําเปนที่ตอ งอธิบายใหเปลืองหนากระดาษอีกตอไป เพราะผูอา นสามารถ ทําตามขั้นตอนตั้ งแตขอ 96-106 เพื่ อสรางบล็อคสัญลักษณตางๆ ไดหรือหากไมตองการเขียนรูป สัญลักษณใหม เราสามารถนําบล็อค Elev Indicator - Up มาสอดแทรกดวยคําสั่ง Insert4Block ใหปรากฏบนพืน้ ทีว่ าดภาพแลวใชคําสัง่ Modify4Explode ระเบิดออก แลวใชคําสัง่ Modify4 Rotate หมุนวัตถุทงั้ หมดยกเวนฟลดขอ มูล V# และ S# ใหชไี้ ปในทิศทางทีต่ อ งการ แลวจึงใชคําสัง่ Draw4Block4Make เพื่อแปลงใหเปนบล็อค Elev Indicator - Down, ล็อค Elev Indicator Left บล็อค Elev Indicator - Right ที่ยังเหลืออยูทั้งหมด

2D Drafting

Note

เปนอันวาเราไดสรางบล็อคสัญลักษณตามทีต่ อ งการแลว หากผูอ า นตองการดูตวั อยางบล็อคทีส่ รางเสร็จ แลว ผูอานสามารถเปดไฟล .dwt จากโฟลเดอร \Exercise\Sheet Sets บนแผน DVD-ROM แนบทาย หนังสือคูมือเลมนี้ออกมาดูเปนตัวอยางในการสรางบล็อคสัญลักษณตางๆ ดวยตนเอง ตอไปเราจะ ทําการบันทึกเทมเพล็ทไฟล .dwt ทีเ่ ราไดสรางขึน้ ในแบบฝกหัดนี้

Note

ในแบบฝกหัดนี้ เราจะเห็นวาไมมกี ารสรางวิวพอรทไวในตารางรายการแบบทัง้ 4 แผน เนือ่ งจากในการ ใช Sheet Set Manager โปรแกรมจะสรางวิวพอรท ใหเราโดยอัตโนมัติ ถาเราสรางวิวพอรท ไวใน ตารางรายการแบบ เราก็จะตองเสียเวลาลบวิวพอรทกอนที่จะสรางภาพฉายใน Sheet Set Manager อยางไรก็ตาม เราสามารถนําตารางรายการแบบนี้ไปใชในการจัดหนากระดาษแบบธรรมดาได เพียง สรางวิวพอรทขึ้นมาใหมดวยตนเองเทานั้น

เปนเลเยอรใชงาน แลวบันทึกตารางรายการแบบ 106. เปลี่ยนเลเยอร เก็บไวในไฟล .dwt โดยใชคําสัง่ File4Save As เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Save Drawing As เลือก Drawing Template File (*.dwt) จากแถบรายการ Files of type ตัง้ ชือ่ ไฟล MySheetSetTemplate เลือกโฟลเดอร C:\Documents and Settings\User name\My Documents\AutoCAD Sheet Sets ในการจัดเก็บไฟลจากแถบรายการ Save in คลิกบนปุม Save เมือ่ ปรากฏ ไดอะล็อค Template Description เราจะปอนคําอธิบายตารางรายการแบบหรือไมกไ็ ด ในทีน่ ี้ ไมตอ งปอน คําอธิบายใดๆ ใหคลิกปุม OK หากเราไมเลือกโฟลเดอรจากแถบรายการ Save in เทมเพล็ทไฟล MySheetSetTemplate.dwt จะถูกสรางเก็บไวในโฟลเดอร C:\Documents and Settings\User name\Local Settings\Application Data\Autodesk\AutoCAD 2006\R16.2\enu\ Template Note

ไตเติ้ลบล็อคที่สรางในแบบฝกหัดนีใ้ ชงานรวมกับไฟล .dst ทีส่ รางในขอ 46 ดังนั้น จึงควรสํารองไฟล .dst เก็บไวเสมอ

ในบทนีเ้ ราไดศกึ ษาวิธกี ารสรางตารางรายการแบบ Sheet Set มาตรฐานทีส่ ามารถนําไปในงานเขียนแบบและจัดหนา กระดาษดวย Sheet Set Manager และสามารถนําไปใชกบั แบบแปลนธรรมดาโดยทัว่ ไปทีม่ ไิ ดใช Sheet Set Manager ซึง่ มีทงั้ ขนาด ISO-A4-MM, ISO-A4-M, ISO-A3-MM และ ISO-A3-M เสร็จสมบูรณทงั้ หมดแลว เมือนําตารางรายการ แบบไปใชงาน เราก็จะสามารถเรียกบล็อคสัญลักษณตา งๆ ทีจ่ ะปรับปรุงตามการเปลีย่ นแปลงใน Sheet Set Manager โดยอัตโนมัตอิ อกมาใชงานไดในทันที เราจะนําตารางรายการแบบในแบบฝกหัดนีไ้ ปใชงานตอไปในแบบฝกหัดตางๆ ตอๆ ไปดวย อนึ่ง ในแบบฝกหัดตอไป เราจะศึกษาวิธีการเขียนชิ้นงานและการตารางรายการแบบที่ไดสรางขึ้น ในแบบฝกหัดนีไ้ ปใชงานรวมกับ Sheet Set Manager โดยจะมีรายละเอียดตอเนื่องจากแบบฝกหัดนี้ ซึ่งจะชวย ใหผอู า นสามารถนําตารางรายการแบบสําหรับ Sheet Set Manager ไปใชงานไดอยางถูกตอง เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ และความรวดเร็วในการสรางและปรับปรุงแกไขแบบแปลน *************************************************************

chap-17.PMD

548

13/10/2549, 1:38

Related Documents

Autocad 2d
June 2020 26
Autocad 2d
August 2019 28
Autocad 2006 2d Chap-14
November 2019 2
Autocad 2006 2d Chap-12
November 2019 4
Autocad 2006 2d Chap-04
November 2019 4
Autocad 2006 2d Chap-18
November 2019 4