Autocad 2006 2d Chap-12

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Autocad 2006 2d Chap-12 as PDF for free.

More details

  • Words: 13,276
  • Pages: 56
กลุม คําสัง่ สารพัดประโยชนตา งๆ

ในบทนี้ เราจะศึกษาคําสั่งตางๆ ที่ชวยอํานวยความสะดวกในการทํางานตางๆ ซึ่งเปนคําสั่งเสริมการทํางานใน AutoCAD ใหมคี วามคลองตัวมากขึน้ หากเรารูจ กั การใชคําสัง่ ตางๆ ของ AutoCAD มากเทาใด เราก็จะสามารถเลือก ใชคําสั่งไดเหมาะสมมากขึ้นเทานั้น นั่นหมายถึงความเร็วในการทํางานของเราก็จะเพิ่มขึ้นดวยคําสั่งเครื่ องมือ สารพัดประโยชนทจี่ ะอธิบายในบทนี้อยูกระจัดกระจายในเมนูคอลัมนตางๆ โดยเราจะเริม่ ศึกษาคําสัง่ ตางๆ ทีย่ งั มิไดกลาวถึงในบทกอนๆ จากเมนูคอลัมน File, Edit, Insert, Format, Tools และคอลัมน Windows เรียงตาม ลําดับกอนหลังของเมนูคอลัมน รวมทัง้ คําสั่งบางคําสั่งที่ไมปรากฏบนเมนูและทูลบาร ซึง่ จะตองพิมพคําสัง่ ผาน คียบ อรดเพียงอยางเดียวอีกดวย คําสัง่ สารพัดประโยชนตา งๆ มีรายละเอียดดังตอไปนี้

12.1 File4New | NEW | E + n | ใชสําหรับเริม่ ไฟลแบบแปลนใหม เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Select Template หากเขียนแบบดวยระบบเมตริก อาทิเชน มิลลิเมตร เซนติเมตรหรือเมตร ใหเลือกเทมเพล็ทไฟล Acadiso.dwt หากเขียนแบบดวยระบบอังกฤษ อาทิ เชน นิว้ ฟุต ใหเลือกเทมเพล็ทไฟล Acad.dwt Note

การเริม่ ตนแบบแปลนใหม โดยเลือกเทมเพล็ทไฟลไมถกู ตองจะสงผลใหคา ตางๆ ทีก่ ําหนด ใหกบั สไตล เสนบอกขนาด(Dimension Style) และรูปแบบเสน(Linetype)ที่โปรแกรมกําหนดมาใหไมตรงกับคา มาตรฐาน ซึ่งจะกอใหเกิดความยุงยากในการแกไขเปลี่ยนแปลงแบบแปลน

12.2 File4New Sheet Set | NEWSHEETSET ใชคําสัง่ นีส้ ําหรับสรางกลุม ของแบบแปลนใหมฟอรแมต .dst โดยสามารถนําแบบแปลนตางๆ ทีม่ อี ยูแ ลวมาจัดกลุม แยกประเภท จัดหนากระดาษ กําหนดมาตราสวนและพิมพแบบแปลนหลายๆ แบบพรอมกันในครั้ งเดียว (ดู รายละเอียดในหัวขอ 11.4)

12.3 File4Open | OPEN | E + o | ใชสําหรับเปดไฟลแบบแปลนทีม่ ีอยูแลว โดยเลือกไฟลฟอรแมตจากแถบรายการ Files of type อาทิ เชน .dwg (AutoCAD Drawing File), เทมเพล็ทไฟล .dwt (Drawing Template File), ไฟลแลกเปลี่ยนขอมูล .dxf (Drawing Interchange File) และไฟลควบคุมมาตรฐานแบบแปลน .dws (Drawing Standards File) หากไฟลแบบแปลนของ AutoCAD 2006 จะเปนฟอรแมต .dwg เราสามารถเลือกทีจ่ ะเปดบางสวน โดยคลิกปุม แลวเลือก Partial Open ซึง่ จะมีประโยชน ในการทํางานกับแบบแปลนขนาดใหญ เพราะเราสามารถเลือกเปดเฉพาะเลเยอรของวัตถุทตี่ อ งการ แกไขเพิม่ เติม เมือ่ ใชคําสัง่ นีจ้ ะปรากฏไดอะล็อค Select File ดังรูปที่ 12.1

chap-12.PMD

335

13/10/2549, 1:33

336

หากเราตองใชโฟลเดอรใดบอยๆ เรา สามารถเพิม่ โฟลเดอรเขาไปใน Place List ของไดอะล็อค Select File โดย เลือกโฟลเดอรที่ ตองการใหปรากฏ ในแถบรายการ Look in: แลวคลิก ขวาบนพืน้ ทีว่ า งของแถบ Place List ซึ่ งแสดงปุ มไอคอนด า นซ า ยของ ไดอะล็ อ ค จะปรากฏช็ อ ทคั ท (Shortcut)เมนูดังรูปที่ 12.2 (บน) ให เลือกคําสั่ ง Add Current Folder โฟลเดอรที่ ถูกเลือกในแถบรายการ Look in: จะปรากฏใน Place List บน รูปที่ 12.1 ไดอะล็อค Select File ของคําสัง่ ทุก คําสัง่ ทีเ่ กีย่ วของกับไฟลประเภทตางๆ ดังรูปที่ 12.2 เราก็จะสามารถเรียกใชโฟลเดอรทตี่ อ งการ โดยคลิกบนปุม ไอคอน โฟลเดอรไดอยางสะดวก

2D Drafting

หากตองการเปดไฟลแบบปกติ ให เลื อกชื่ อไฟล ที่ ต องการ แล วคลิ ก บนปุม Open หากตองการเปดไฟล บางสวน เพือ่ ประหยัดหนวยความจํา และเพือ่ ใหโปรแกรมทํางานไดเร็วขึน้ ใหเลือกชื่อไฟลทตี่ องการ แลวคลิก บนปุม แลวเลือก Partial Open จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.2 ให คลิ กบนเช็ คบอกซ ของชื่ อ เลเยอร ของวัตถุในฟลด Layer geometry to load แลวเลือกมุมมอง(View) แรกใน View geometry to load ที่ตองการ รูปที่ 12.2 ให ปรากฏ View geometry to load เลือกมุมมอง(View) ทีต่ อ งการใหปรากฏเปนมุมมองแรก ซึง่ จะตองมีการบันทึกมุมมองดวยคําสัง่ View4Named Views มากอน Layer geometry to load คลิกเช็คบอกซของเลเยอรวัตถุที่ตอ งการใหปรากฏ Index status แสดงสถานะการโหลดไฟลเมื่อมีความตองการใชงาน(Demand loading) ซึ่งเหมาะสมที่จะใชกับไฟลเอกซเรฟ โปรแกรมแสดงสถานะของ Spatial index หากมีการจัดเก็บวัตถุโดยขึ้นอยูก ับตําแหนงของวัตถุใน 3 มิติ โปรแกรม จะแสดงสถานะของ Layer index หากมีการจัดเก็บวัตถุโดยใชเลเยอรควบคุมการโหลดวัตถุมาใชงาน เราใชตวั แปร ระบบ INDEXCTL ในการเลือกการโหลดไฟลแบบ Layer index หรือ Spatial index Load All กําหนดเครื่อง หมาย หนาเช็คบอกซของเลเยอรทั้งหมด Clear All ยกเลิกเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซของเลเยอรทั้งหมด Unload all Xrefs on open ปลดไฟลเอกซเรฟออกทั้งหมดชั่วคราวเมื่อเปดไฟลบางสวน เมื่อเปดไฟลบางสวน ออกมาแกไขเพิ่มเติมเรียบรอยแลว ใหใชคําสัง่ File4Save เพือ่ บันทึกไฟลลงดิสค หากเปดไฟลเดียวกันนี้ขนึ้ มา อีกครัง้ จะพบวารูป Preview บนไดอะล็อค Select File จะหายไป เมือ่ ใชคําสัง่ File4Open เลือกไฟลดงั กลาว แลวคลิกบนปุม Open จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.3 (ซาย) เมือ่ ใชคําสัง่ File4Open เลือกไฟลดงั กลาว แลวคลิกบนปุม Partial Open จะปรากฏ ไดอะล็อคดังรูปที่ 12.3 (ขวา) เราสามารถเลือกทีจ่ ะเปดไฟลโดยใชปมุ ตอไปนี้ Fully Open เปดไฟลแบบเต็ม หากตองการใหปรากฏรูปตัวอยางในหนาตาง Preview เชนเดิม ใหใชคําสัง่ File4Save อีกครัง้ Specify คลิกปุม นี้ เพือ่ เปดไฟลบางสวน ซึง่ จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.2 เราสามารถระบุเลเยอรของ วัตถุที่จะตองเปดไฟลออกมาใชงานบางสวน Restore คลิกปุมนี้ เพื่อเปดไฟลบางสวน โดยใชเลเยอรที่ระบุบน ไดอะล็อคดังรูปที่ 12.3 ครัง้ ที่แลวออกมาใชงานอีกครั้ง

chap-12.PMD

336

13/10/2549, 1:33

กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ

337

รูปที่ 12.3

Note

เราสามารถใชคําสั่งนี้เปดไฟล .dwg ที่สรางจาก AutoCAD 2005, 2004, 2002, 2000i, 2000, R14 และ รีลสี กอนๆ โปรแกรมจะทําการแปลงไฟลฟอรแมตจากรีลสี เกาเขามาใชงานใน AutoCAD 2006 ใหโดย อัตโนมัติ

12.4 File4Open Sheet Set | OPENSHEETSET ใชคําสัง่ นีส้ ําหรับเปดกลุม ของแบบแปลนชีทเซท(Sheet Set)ฟอรแมต .dst ทีม่ อี ยูแ ลวออกมาใชงาน เราสามารถใช คําสัง่ นีจ้ ดั การกับไฟลแบบแปลนจํานวนมาก โดยจัดกลุม แยกประเภท จัดหนากระดาษ กําหนดมาตราสวนและพิมพ แบบแปลนหลายๆ แบบพรอมกันในครัง้ เดียว (ดูรายละเอียดในหัวขอ 11.4)

12.4 File4Load Markp Set | OPENDWFMARKUP | ใชคําสัง่ นีส้ ําหรับเปดไฟล .dwf ทีส่ รางจาก AutoCAD ซึง่ มีการเขียนคําอธิบายและชีจ้ ดุ (Markup)บนแบบแปลนทีจ่ ะ ตองแกไข เพื่อที่เราจะไดทําการแกไขแบบแปลนไดถกู ตองตามคําสั่งของผูตรวจแบบ ซึง่ Markup นี้จะถูกสราง ดวยโปรแกรม Autodesk DWF Composer ซึ่ง เปนซอฟทแวรสําหรับเปดไฟลแบบแปลนออกมา ตรวจสอบ พิมพแบบแปลน เขียนคําอธิบายและ ชี้จดุ บนแบบแปลน .dwf ที่จะตองแกไข ผูต รวจ แบบไมจําเป นต องเรี ยนรู คําสั่ งต างๆ มากนั ก เพราะมีคําสัง่ ที่เกี่ยวของกับการเขียนคําอธิบาย และชีจ้ ุดแกไข(Markup) คําสั่งสําหรับยอ/ขยาย คําสั่ งสําหรับวัดระยะ คําสั่ งสําหรับพิมพ แบบ แปลน เปนตน ดังรูปที่ 12.4 รูปที่ 12.4

12.6 File4Save As | SAVEAS | E + S + s | ใชคําสั่งนี้สําหรับบันทึกแบบแปลนทีก่ ําลังเปดใชงานในไฟลฟอรแมตตางๆ อาทิ เชน .dwg, .dwt, .dxf, .dws ใน AutoCAD 2006 เราสามารถบันทึกไฟล .dwg ไดในฟอรแมตของ AutoCAD 2000 (2000, 2000i และ 2002 เปนไฟล ฟอรแมตเดียวกัน) และ AutoCAD 2004 (2004, 2005 และ 2006 เปนไฟลฟอรแมตเดียวกัน) เราไมสามารถบันทึกไฟล .dwg ในฟอรแมตทีต่ า่ํ กวา AutoCAD 2000 ได นอกจากจะบันทึกไฟลในฟอรแมต .dxf ของ R12 ดังแถบรายการ File of type ในรูปที่ 12.5 (ซาย) เราสามารถคลิกบนปุม ดังรูปที่ 12.5 (ขวา) แลวเลือกคําสัง่ Options จะปรากฏ ไดอะล็อคดังรูปที่ 12.6 ซึง่ ยอมใหเรากําหนดฟอรแมตเริม่ ตนของการบันทึกไฟล โดยมีรายละเอียดดังนี้

chap-12.PMD

337

13/10/2549, 1:33

338

2D Drafting รูปที่ 12.5

Save Proxy Images of Custom Objects ถาปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซน้ี AutoCAD จะบันทึกวัตถุ

(Object)ที่นํามาใชงานจากแอพพลิเคชั่นโปรแกรมอื่นๆ อาทิ เชน Microsoft Word, Microsoft Excel, AutoCAD Runtime eXtension และอื่ นๆ ลงในไฟล .dwg ถ าไม ปรากฏ เครื่องหมาย หนาเช็คบอกซน้ี AutoCAD จะบันทึกเฉพาะกรอบ (Frame)ของวั ต ถุ ใ นไฟล .dwg เท านั้ น Index Type ใช แถบรายการนี้ ในการเลือกการบันทึ กไฟล ในแบบ Layer หรื อ Spatial หรือแบบ Layer & Spatial โปรแกรมจะใช Index นี้เพื่อ เพิ่ มและปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพการทํ างานของโปรแกรมใน ระหวางที่ มีความตองการในการโหลดไฟล หรือเมื่ อต องการใช งานแบบ Demand loading การเลือก ใช Index อาจจะทําใหเวลา ในการบันทึกไฟลนานกวาปกติ ตัวเลือกในแถบรายการนี้ จะไม รูปที่ 12.6 สามารถใชงานได หากไฟลทเี่ ปดบางสวนมิไดถูกบันทึกดวย Layer Index หรือ Spatial Index Save All Drawings As กําหนดฟอรแมตเริ่มตน เพื่อเลือกบันทึกไฟลแบบแปลน หรือบันทึกในไฟลฟอรแมตอืน่ ๆ ทุกครัง้ เมื่อมีการใชคําสัง่ File4Save As บันทึกไฟลลงดิสค เราสามารถคลิ ก บนปุ ม บนไดอะล็อค Save Drawing As ดังรูป ที่ 12.5 (ขวา) แล วเลื อก Security Options จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.7 (ซาย) ซึง่ เราสามารถกําหนดรหัส ผาน(Password)ใหกบั ไฟลแบบแปลน ใช งาน โดยพิ มพ ร หั ส ผ า นเข าไปใน อิดิทบอกซ Password or phase to รูปที่ 12.7 open this drawing เราสามารถคลิก บนปุม Advanced Options เพือ่ เลือก การเขารหัสแบบตางๆ และเราสามารถกําหนดความยาวของคียใ นแถบรายการ Choose a key length หากกําหนด จํานวนคียม ากเทาใดก็จะมีระดับความปลอดภัยสูงมากเทานัน้ การเขารหัสแตละแบบบนไดอะล็อค Advanced Options ดังรูปที่ 12.7 (ขวา-ลาง) นัน้ จะแตกตางๆ กันไปตามระบบปฏิบตั งิ านวินโดวและประเทศ กอนทีเ่ ราจะเปลีย่ น การเขารหัส(Encryption)แบบอื่นๆ เราตองแนใจวาผูร ับไฟลแบบแปลนมีรปู แบบการเขารหัสทีเ่ ราเลือกติดตัง้ อยูใ น เครือ่ งคอมพิวเตอร มิฉะนัน้ ผูร บั จะไมสามารถเปดไฟลแบบแปลนทีถ่ กู เขารหัสได เมือ่ เราปอนรหัสผานบนไดอะล็อค ดังรูปที่ 12.7 (ซาย) แลวคลิกบนปุม OK เพือ่ ออกจากไดอะล็อค จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.7 (ขวา-บน) เพือ่ ใหเรา ปอนรหัสผานอีกครัง้ เพือ่ ยืนยันความถูกตอง Note

chap-12.PMD

หากตองการนําไฟล .dwg ไปใชกับ AutoCAD 2002, 2000i, และ 2000 ใหเลือก Files of type เปน AutoCAD 2000/LT 2000 Drawing(*.dwg) อยางไรก็ตาม AutoCAD 2006 ไมสามารถบันทึกไฟล ฟอรแมตของ AutoCAD R14 ได หากตองการแปลงฟอรแมตไฟล .dwg ไปใชกับ AutoCAD R14 ให ดาวนโหลดโปรแกรม DWG TrueConvert ไดฟรีจากเวบไซต www.autodesk.com โปรแกรมนีส้ ามารถ แปลงไฟล .dwg ไดจํานวนมากๆ ในการใชคําสั่งเพียงครั้งเดียว

338

13/10/2549, 1:33

กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ

339

12.7 File4eTransmit | ETRANSMIT | ใชสําหรับรวบรวมไฟลทกุ ไฟลทเี่ กีย่ วของกับไฟลแบบแปลน .dwg ใชงานทัง้ หมด ซึง่ จะบันทึกและบีบอัดเก็บไวในไฟล หรือโฟลเดอรเดียวกัน เพือ่ สะดวกในการเคลือ่ นยายไปใชงานในคอมพิวเตอรเครือ่ งอืน่ หรืออาจสงไปใหเพือ่ นรวมงาน ผานระบบอินเตอรเนต ไฟลทเี่ กีย่ วของกับไฟลแบบแปลน .dwg ใชงานรวมไปถึงไฟล .dwg ทีส่ อดแทรกเขามาเปน

รูปที่ 12.8

Xref ทัง้ หมด ฟอนทไฟลฟอรแมต .shx รูปภาพอิมเมจในฟอรแมตตางๆ อาทิ เชน .tga, .jpg, .tif เปนตน ไฟลควบคุม การพิมพ .ctb หรือ .stb และไฟลควบคุมมาตรฐานในการเขียนแบบ .dws เราสามารถเลือกสรางไฟลบบี อัดฟอรแมต .zip (ใชโปรแกรม WinZip จึงจะแยกไฟลตา งๆ ออกมาใชงาน) หรือเลือกฟอรแมต .exe (ระเบิดตัวเองไดโดยไมตอ งอาศัย โปรแกรมใดๆ)หรือใชคําสั่งนี้ในการคัดลอกไฟล .dwg และไฟลที่เกี่ยวของไปเก็บไวในโฟลเดอรใดโฟลเดอรหนึ่ง โดยไมบบี อัดไดเชนเดียวกัน กอนทีจ่ ะใชคําสัง่ นึจ้ ะตองบันทึกไฟลใชงาน File4Save เสียกอน แลวจึงใชคําสัง่ File4eTransmit จะปรากฏไดอะล็อค Create Transmittal แสดงแถบคําสัง่ Files Tree ดังรูปที่ 12.8 (ซาย)

Files Tree ดังรูปที่ 12.8 (ซาย) แสดงโครงสรางไฟลทงั้ หมดทีเ่ กี่ยวของกับไฟลแบบแปลนใชงาน Files Table ดังรูปที่ 12.8 (ขวา-บน) แสดงรายชือ่ ไฟลทงั้ หมดทีเ่ กีย่ วของกับไฟลแบบแปลนใชงาน อีกทัง้ ยังแสดงขอมูลตางๆ อาทิ เชน โฟลเดอร เวอรชั่นไฟล ขนาดไฟล วันที่ เปนตน สังเกตุวาหนาชื่อไฟลทุกไฟลจะปรากฏเครื่องหมาย นํา หนา หากตองการถอดไฟลใดออกจากกลุม ใหปลดเครือ่ งหมาย ออก หากตองการเพิม่ เติมไฟล ถึงแมวาจะเปนไฟล ที่ไมเกี่ยวของกับไฟลแบบแปลนใชงาน เราสามารถคลิกบนปุม Add File แลวเลือกไฟลที่ตองการ Enter notes to include with this transmittal package พิมพขอความทีต่ องการใชเตือนความจําหรือขอความแนะนําใดๆ เขาไปในชองหนาตางนี้ Select a transmittal setup ใชชอ งหนาตางนี้สําหรับเลือกรูปแบบการตัง้ คาตางๆ บน ไดอะล็อค Modify Transmittal Setup รูปแบบทีส่ รางไวจะปรากฏบนไดอะล็อค Transmittal Setups ดังรูปที่ 12.8 (ขวา-ลาง) หากคลิกบนปุม Transmittal setups จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.9 Transmittal package type ใชสําหรับเลือกฟอรแมตของไฟลบบี อัดทีจ่ ะถูกสราง ซึง่ มีใหเลือก 3 แบบคือ (1) Folder (set of files) คัดลอก ไฟลทงั้ หมดทีเ่ กีย่ วของกับไฟลแบบแปลนใชงานไปยังโฟลเดอรทรี่ ะบุโดยไมมีการบีบอัดใดๆ (2) Self-extracting executable (*.exe) สรางไฟลบีบอัดในฟอรแมต .exe โดยรวบรวมไฟลที่เกี่ยวของกับแบบแปลนใชงานทัง้ หมด เขาไปเก็บไวในไฟลบีบอัดเพียงไฟลเดียว ซึง่ เราสามารถแยกไฟล(Extract)ตางๆ ทั้งหมดออกมาได โดยไมตอ งอาศัย แอพพลิเคชั่นใดๆ เขามาชวย (3) Zip (*.zip) สรางไฟลบีบอัดขึ้นในฟอรแมต .zip โดยรวบรวมไฟลทเี่ กี่ยวของกับ แบบแปลนใชงานทัง้ หมดเขาไปเก็บไวในไฟลบีบอัด .zip เพียงไฟลเดียว ตองอาศัยโปรแกรม Winzip เขามาชวยใน การแยกไฟล File Format ใชแถบรายการนีส้ ําหรับเลือกการบันทึกไฟลในฟอรแมตเดิม(Keep existing drawing file format หรือเลือกบันทึกในฟอรแมต AutoCAD 2004 หรือ AutoCAD 2000 Transmittal file folder ใช อิดิทบอกซนส้ี ําหรับระบุโฟลเดอรหรือคลิกบนปุม Browse แลวเลือกโฟลเดอรทตี่ อ งการจัดเก็บไฟล Transmittal

chap-12.PMD

339

13/10/2549, 1:33

340

file name ใชแถบรายการนีเ้ ลือกทีจ่ ะแสดงชือ่ ไฟล(Prompt for

a filename)หรือตั้งชื่อไฟลใหอัตโนมัติแตเขียนทับถาจําเปน (Overwrite if necessary)หรือตัง้ ชื่อไฟลโดยรันตัวเลขทายชื่อ ไฟลใหอตั โนมัตถิ าจําเปน(Incremental filename if necessary) Transmittal Options ใชตวั เลือกในกลุมนีส้ ําหรับกําหนด รู ป แบบในการรวบรวมไฟล Use organized folder structure ใชปุมเรดิโอนี้เพื่อบันทึกไฟลแบบจัดระบบโครง สรางโฟลเดอร Place all files in one folder ใชปมุ เรดิโอนี้ เพื่อจัดไฟลทั้งหมดไวในโฟลเดอรเดียวกัน Keep files and folders as is ใชปุมเรดิโอนี้เพื่อจัดไฟลทั้งหมดไวในโครง สรางโฟลเดอรเดิม Include fonts คลิกใหปรากฏเครือ่ งหมาย หากตองการรวมฟอนทไฟล .shx ดวย Send e-mail with transmittal คลิกใหปรากฏเครื่องหมาย หากตองการเรียก โปรแกรมสงเมลพรอมแนบ(Attach) ไฟลใหโดยอัตโนมัติ Set default printer to none คลิกใหปรากฏเครือ่ งหมาย หาก ตองการเปลี่ยนเครื่องพิมพที่กําหนดไวในไฟลแบบแปลนให กลายเปน None Bind external references คลิกใหปรากฏ รูปที่ 12.9 เครื่ องหมาย หากต องการที่ จะตั ดความสั มพันธของไฟล เอกซเรฟ Prompt for password คลิกใหปรากฏเครือ่ งหมาย หากตองการใหโปรแกรมรอรับการปอนรหัสผาน เราสามารถปอนรหัสผาน เพื่อปองกันมิใหผูที่ไมไดรับอนุญาตแยกไฟล(Extract)แบบแปลนและไฟลที่เกี่ยวของ ทั้งหมดออกจากไฟล .exe หรือ .zip ทุกครัง้ ที่มีผใู ดทําการแยกไฟล(Extract)บีบอัดโปรแกรมจะถามรหัสผานกอน ซึ่งถาไมทราบรหัสผานก็จะไมสามารถแยกไฟลแบบแปลนและไฟลอื่นๆ ทั้งหมดออกมาใชงานได Transmittal setup description ใชอดิ ิทบอกซนส้ี ําหรับปอนขอมูลรายละเอียดการตั้งคาในการรวบรวมไฟลตา งๆ

2D Drafting

12.8 File4Publish to Web | PUBLISHTOWEB | PTW | ใชคาํ สัง่ นีใ้ นสําหรับสรางเวบเพจ .htm แสดงแบบแปลนตางๆ ในเวคเตอรฟอรแมต .dwf (Drawing Web Format) หรือ แสดงแบบแปลน รูปบิทแม็ปในฟอรแมต .jpg โดยสามารถนําไฟลตางๆ อับโหลดไปยัง Server ในระบบอินเตอรเนต เพือ่ ใหเพือ่ นรวมงานสามารถเปดไฟลแบบแปลนตางๆ ออกมาใชงานไดจากอินเตอรเนต เวบเพจทีส่ รางจาก AutoCAD 2006 มีอยู 2 รูปแบบใหญๆ ดังรูปที่ 12.10

รูปแบบที่ 1

รูปที่ 12.10

รูปแบบที่ 2

รูปแบบที่ 1 มีไฮเปอรลงิ ค(Hyperlink) แสดงรายการแบบแปลนตางๆ ทางดานซายมือ ซึง่ ผูเ ขาเยีย่ มชมสามารถคลิกเพือ่ เรียกแบบแปลนนัน้ ออกมาดูได สวนกลางจอภาพแสดงรูปแบบแปลนฟอรแมต .dwf ขนาดใหญ ผูเ ขาเยีย่ มชมสามารถ

chap-12.PMD

340

13/10/2549, 1:33

กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ

341

คลิกขวาบนรูปแบบแปลนเพือ่ ยอ/ขยายภาพเปด/ปดเลเยอรหรือสามารถพิมพแบบแปลนบนเครือ่ งพิมพของตนเอง โดยยังคงมีคณ ุ ภาพเชนเดียวกับการพิมพจากไฟล .dwg ตนฉบับ สวนรูปแบบที่ 2 แสดงรูปภาพแบบแปลนขนาดเล็ก แถวละ 4 รูป รูปภาพเล็กๆ ทุกๆ รูปมีการกําหนดไฮเปอรลงิ คไปยังไฟลแบบแปลนขนาดใหญในฟอรแมต .dwf ซึง่ ผู เยีย่ มชมสามารถยอ/ขยายและสามารถทีพ่ มิ พแบบแปลนใหมคี ณ ุ ภาพระดับเดียวกันกับไฟล .dwg ไดเชนเดียวกัน รูปที่ 12.11

chap-12.PMD

341

13/10/2549, 1:33

342

เมื่อเรียกคําสั่งออกมาใชงาน จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.11 (1) ถามวาตองการสรางเวบเพจใหม (Create new web page)หรือแกไขเวบเพจเกา (Edit existing web page) เมื่อคลิกปุม Next ไดอะล็อคจะปรากฏดังรูปที่ 12.11 (2) ตั้งชือ่ ไฟลเวบเพจในอิดทิ บอกซ Specify the name of your Web page (ไมตองใสนามสกุลไฟล) เลือกโฟลเดอรที่ แลวพิมพขอความอธิบายเวบเพจในชองหนาตาง Provide a description ตองการจัดเก็บเวบเพจ โดยคลิกบนปุม to appear on your Web page เมื่อคลิกปุม Next ไดอะล็อคจะปรากฏดังรูปที่ 12.11 (3) เลือกไฟลฟอรแมต .dwf ในกรณีทตี่ องการใหสามารถ Zoom และ Pan แบบแปลนในเวบเพจไดหรือเลือก .jpg หรือ .png หากไมตองการใหมี การ Zoom และ Pan ตอไปเมือ่ คลิกปุม Next ไดอะล็อคจะปรากฏดังรูปที่ 12.11 (4) เลือกรูปแบบของเวบเพจซึ่งมีให เลือกอยู 4 แบบคือ Array of Thumbnails, Array Plus Summary, List of Drawings, List Plus Summary ดังรูปที่ 12.12 เมื่ อคลิ กปุ ม Next ไดอะล็ อ คจะ ปรากฏดังรูปที่ 12.11 (5) ใน Select Template แล วเลื อก Theme เพื่ อ กําหนดสี รูปแบบต างๆ ซึ่ ง มี สี ให เลื อ ก 7 ชุ ด เมื่ อคลิ กปุ ม Next ไดอะล็อคจะปรากฏดังรูปที่ 12.11 (6) หากต องการให ผู เยี่ ยมชมเวบ เพจสามารถคลิกและลากไฟล แบบ แปลน .dwg ในเวบเพจไปปลอย ใน รูปที่ 12.12 พื้นทีว่ าดภาพของ AutoCAD คลิก ใหปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซ Enable i-Drop เมื่อคลิกปุม Next ไดอะล็อคจะปรากฏดังรูปที่ 12.11 (7) ให เลือกแบบแปลนตางๆ จากแถบรายการ Drawing โดยคลิกบนปุม แลวเลือกไฟลแบบแปลน .dwg เลือก Model หรือ Layout จากแถบรายการ Layout ปอนชื่อกํากับแบบแปลนในอิดิทบอกซ Label ปอนคําบรรยายในชองหนาตาง Description แลวคลิกบนปุม Add แลวคลิกบนปุม เพื่อเลือกไฟลแบบแปลน .dwg อื่น แลวทําซ้ําจนกวาจะ ไดแบบแปลนจํานวนที่ตองการในชองหนาตาง Image list เมื่อคลิกปุม Next ไดอะล็อคจะปรากฏดังรูปที่ 12.11 (8) เริ่มสรางเวบเพจ โดยเลือกปุมเรดิโอ Regenerate images for drawings that have changed ในกรณีทตี่ องการอับเดท แบบแปลนเฉพาะทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงหรือเลือกปุม เรดิโอ Regenerate all images ในกรณีทตี่ อ งการอับเดทแบบแปลน ทัง้ หมด โปรแกรมจะทําการสรางเวบเพจและรวบรวมไฟลแบบแปลนทีเ่ กีย่ วของทัง้ หมดไปเก็บไวในโฟลเดอรทรี่ ะบุ ในตอนตน เมือ่ คลิกปุม Next ไดอะล็อคจะปรากฏดังรูปที่ 12.11 (9) เราสามารถคลิกบนปุม Preview เพือ่ ดูตวั อยางเวบ เพจหรือคลิกบนปุม Post Now เพื่ออับโหลด(Upload)ไฟลเวบเพจทั้งหมด อาทิ เชน .htm, .js, .xml, .dwf, .dwg ไปยัง Server ในอินเตอรเนตไดโดยตรงจาก AutoCAD

2D Drafting

12.9 File4Export | EXPORT | EXP ใชสําหรับนําไฟล 2 มิตแิ ละ 3 มิตทิ สี่ รางจาก AutoCAD ออกไปใชงานในโปรแกรมคอมพิวเตอรอน่ื ๆ ไฟลทสี่ ามารถนํา ออกไปไดมใี หเลือกทัง้ แบบเวคเตอรกราฟก(Vector graphics) และราสเตอรกราฟก (Raster graphics) เมือ่ ใชคําสัง่ นีจ้ ะปรากฏไดอะล็อค Export Data ใหคลิกบนแถบรายการ File of type จะปรากฏฟอรแมตของไฟลที่สามารถนํา ออกจาก AutoCAD ไปใชในโปรแกรมอืน่ ๆ โดย ฟอรแมตทีน่ ําออกไปใชงานได คือ .wmf, .sat, stl, .eps, .dxx, .bmp, .3ds และ ไฟลบล็อคฟอรแมต .dwg Note

รูปภาพราสเตอรไฟล .bmp ทีไ่ ดจากคําสัง่ นีจ้ ะมีคณ ุ ภาพต่ํา หากตองการภาพราสเตอรทมี่ คี วามละเอียด สูง เราสามารถสราง Plotter configuration .pc3 ใหม โดยใชคําสั่ง File4Plotter Manager ð Add-A-Plotter WizardðMy ComputerðRaster File Format เลือกฟอรแมตของราสเตอรไฟล อาทิ เชน .tif, .tga, .jpg, .bmp, .pcx ไดตามตองการ เราจึงจะสามารถกําหนดความละเอียดสูงได

12.10 File4Drawing Utilities4Audit | AUDIT ใช คําสั่ งนี้ สําหรั บ ตรวจสอบความผิ ดพลาดของการจั ดเก็ บข อมู ลที่ เกิ ดขึ้ นกั บไฟล แบบแปลนที่ กําลั ง ใช งาน

chap-12.PMD

342

13/10/2549, 1:33

กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ

343

เรามักจะใชคําสัง่ นีก้ ็ตอ เมือ่ พบความผิดปกติเกิดขึน้ ในคําสัง่ ตางๆ ของ AutoCAD เมือ่ ใชคําสั่งนีโ้ ปรแแกรมจะถาม วาตองการแกไขขอบกพรองในไฟลแบบแปลนใหดว ยหรือไม Fix any errors detected? [Yes/No] : หากพิมพ Y ในกรณีทโี่ ปรแกรมตรวจพบขอพิดพลาดในการจัดเก็บขอมูลแบบแปลน โปรแกรมจะทําการแกไขใหโดยอัตโนมัติ หาก พิมพ N ในกรณีทโี่ ปรแกรมตรวจพบขอพิดพลาด จะรายงานผลการตรวจสอบใหทราบ แตจะไมแกไขขอผิดพลาดให อยางไรก็ตาม ถาความเสียหายทีเ่ กิดขึน้ มากเกินกวาทีค่ าํ สัง่ นีจ้ ะสามารถแกไขได เราสามารถใชคาํ สัง่ File4Drawing Utilities4Recover เพือ่ ทําการแกไขขอผิดพลาดตอไปได

12.11 File4Drawing Utilities4Recover | RECOVER เราจะใชคําสัง่ นีก้ ต็ อ เมือ่ เราไมสามารถใชคาํ สัง่ File4Open เปดไฟลแบบแปลน .dwg ออกมาใชงานได เนือ่ งจาก เกิดความเสียหายในการจัดเก็บขอมูลแบบแปลนภายในดิสค หากโปรแกรมรายงานวามีความเสียหาย(Damage) เกิดขึน้ กับขอมูลในแบบแปลนซึง่ อาจตรวจพบดวยคําสัง่ AUDIT แตคําสัง่ AUDIT ไมสามารถแกไขได เราสามารถใช คําสัง่ นีเ้ พือ่ กูข อ มูลในไฟลทเี่ กิดการเสียหายกลับคืนมา เมือ่ ใชคาํ สัง่ นีจ้ ะปรากฏไดอะล็อค Select File ขึน้ มาบนจอภาพ ใหคลิกบนชือ่ ไฟล .dwg ทีต่ อ งการกูก ลับคืนใหอยูใ นสภาพทีส่ ามารถใชงานได อยางไรก็ตาม หากไฟลนนั้ มีการเสียหาย มากจนเกินไป โปรแกรมอาจจะไมสามารถกูไ ฟลขอ มูลนัน้ ได Note

กอนการใชคําสัง่ นี้ เราควรจะตองคัดลอกไฟลตน ฉบับทีเ่ สียหายเก็บไวอกี ไฟลหนึง่ กอน เพือ่ ปองกันการ ผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นได

12.12 File4Drawing Utilities4Drawing Recovery Manager | DRAWINGRECOVERY ในขณะที่เรากําลังเปดไฟลแบบแปลน .dwg ใชงานอยูน ั้น หากมีสาเหตุใดๆ ที่ ทําใหเครือ่ งคอมพิวเตอรตอ ง Boot หรือ Reset ใหม โดยทีเ่ รายังมิไดบนั ทึก(Save) ขอมูลแบบแปลน อาจจะทําใหไฟลแบบแปลน .dwg เสียหาย จนกระทั่งไม สามารถเปดออกมาใชงานได เมือ่ เริม่ เขาสู AutoCAD ใหม โปรแกรมจะแสดงหนา ตาง Drawing Recovery Manager ดังรูปที่ 12.13 เราสามารถคลิกบนชือ่ ไฟลที่ ตองการกูขอมูลกลับมาใชงาน เราสามารถคลิกขวาบนชื่อโฟลเดอรที่ปรากฏ อยูใ นชองหนาตาง Backup files แลวเลือกคําสัง่ Open all drawings เพือ่ เปดไฟล แบบแปลนทัง้ หมดทีอ่ ยูใ นโฟลเดอรทถี่ ูกเลือกกลับมาใชงานหรือคลิกขวาบนชือ่ ไฟลทปี่ รากฏ อยูใ นชองหนาตาง Backup files แลวเลือกคําสัง่ Open เพือ่ เปดไฟล แบบแปลนทีถ่ กู เลือกกลับมาใชงาน รูปที่ 12.13

12.13 File4Drawing Utilities4Update Block Icons | BLOCKICON โดยปกติ เมือ่ ใช DesignCenter แสดงไอคอนบล็อคตางๆ ทีอ่ ยูใ นไฟลแบบแปลน .dwg ทีถ่ กู สรางขึน้ จาก AutoCAD รีลสี กอนๆ ไอคอนบล็อคจะไมแสดงรูปภาพตัวอยาง แตจะปรากฏเพียงรูปไอคอน ซึง่ เราจะไมทราบวาบล็อคนัน้ เปนรูปอะไร เราสามารถใชคําสัง่ นีส้ ําหรับอับเดทไอคอนของบล็อคทัง้ หมดทีอ่ ยูใ นไฟล .dwg ใชงาน เพือ่ ทําใหบล็อค ทัง้ หมดแสดงรูปตัวอยางบล็อคบน DesignCenter

chap-12.PMD

343

13/10/2549, 1:33

344

12.14 File4Drawing Utilities4Purge | PURGE | PU |

2D Drafting

ใชสาํ หรับกําจัดขยะในหนวยความจําของแบบแปลนใชงาน อาทิ เชน บล็อค สไตลเสนบอกขนาด เลเยอร รูปแบบเสน เชฟ(Shape) สไตลตวั อักษรและสไตลของมัลติไลนทมี่ ไิ ดมกี ารใชงานออกจากหนวยความจําของไฟลแบบแปลน .dwg ทีก่ ําลังเปดใชงาน เพือ่ ลดขนาดไฟลแบบแปลนใหเล็กลง เพือ่ ใหสามารถบันทึกดิสคดว ยขนาดไฟลทกี่ ะทัดรัด

เมื่อเขาสูไดอะล็อค Purge ดังรูปที่ 12.14 ปุมเรดิโออยูท ี่ View items you can purge โปรแกรมจะแสดงรายชื่อวัตถุที่เรา สามารถลบทิ้งออกจากหนวยความจํา สังเกตุวา วัตถุใดสามารถ ทีจ่ ะลบทิง้ ได จะมีเครือ่ งหมาย + นําหนา หากตองการลบเฉพาะ Block ใหคลิกขวาที่ Block แลวเลือกคําสัง่ Purge หรือคลิกบน ปุม Purge ดานลางของไดอะล็อค หากตองการลบวัตถุทงั้ หมด ใหคลิกขวาบน All items หรือบนวัตถุใดๆ แลวเลือกคําสั่ง Purge All หรื อคลิ กบนปุ ม Purge All ด านล างของ ไดอะล็อค หากตองการดูรายชือ่ ของวัตถุที่ยงั ไมสามารถลบได ใหคลิกบนปุมเรดิโอ View items you can not purge หาก ตองการลบวัตถุที่ ซอนกันอยู เชน บล็อคซอนบล็อค(Nested block) ใหคลิกใหปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซ Purge

nested items

รูปที่ 12.14

Note

หากบนพื้นที่วาดภาพยังมีบล็อคหรือมีวัตถุที่ใชสไตลของวัตถุที่เราตองการลบ เราจะไมสามารถลบ บล็อคหรือสไตลนนั้ ออกจากหนวยความจําของแบบแปลนจนกวาเราจะลบบล็อคหรือวัตถุทใี่ ชสไตล นั้นออกจากพื้นที่วาดภาพเสียกอน จึงจะสามารถลบ(Purge)วัตถุออกจากหนวยความจําได

Note

เราไมสามารถลบรูปแบบเสนบอกขนาด เลเยอร รูปแบบเสน เชฟ รูปแบบตัวอักษร รูปแบบในการพิมพ และรูปแบบของมัลติไลนที่อยูในสถานะใชงาน(Current) หากจําเปนตองลบวัตถุนั้นออกไปใหปลด สถานะใชงานของวัตถุที่ตอ งการลบออกไปเสียกอน เราจึงจะใชคําสั่งนี้กบั วัตถุเหลานั้นได

Note

หากใชคําสัง่ นีแ้ ลวปรากฏวายังไมสามารถลบวัตถุไดทงั้ หมด ถึงแมวาจะวัตถุทตี่ อ งการลบจะไมไดเปน วัตถุใชงานหรือมีวตั ถุใดๆ ทีอ่ า งอิงวัตถุนนั้ อยู ใหพมิ พคําสัง่ -PURGE ผานคียบ อรด จะสามารถลบวัตถุ ที่ไมสามารถใชคําสัง่ นี้ลบออกจากหนวยความจําของแบบแปลนได

12.15 File4Drawing Properties | DWGPROPS ใชคําสั่งนี้สําหรับกําหนดคุณสมบัติใหกับไฟลแบบแปลน .dwg เพื่อชวยใหเราสามารถคนหาหรือติดตามแบบ แปลนไดโดยงาย เราสามารถกําหนดรายละเอียด เพือ่ ชวยใหเราสามารถแยกประเภทของไฟลแบบแปลน โดยสามารถ กําหนดชือ่ เรือ่ ง(Title), ชือ่ ผูเ ขียน (Author), หัวขอเรือ่ ง (Subject)และขอความสําคัญ(Keywords)ใหกบั ไฟลแบบแปลน เรา ยังสามารถทีจ่ ะเก็บบันทึกทีอ่ ยูไ ฮเปอรลงิ คหรือพาธ(Path)และขอมูลเพิม่ เติมตางๆ

chap-12.PMD

344

13/10/2549, 1:33

กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ

345

General แถบคําสั่งนี้แสดงชื่อ ตําแหนง ขนาด วันที่สราง วันที่ แกไข วันที่เริ่มใชไฟลแบบแปลน .dwg ใชงาน Summary ใช

แถบรายการนีส้ ําหรับกําหนดคุณสมบัตติ า งๆ ใหแกไฟลแบบแปลน .dwg ใชงานในอิดิทบอกซ Title, Subjects, Author, Keywords, Comments และ Hyperlink base Statistics รายงานสถิติการใช แบบแปลน วั นสร าง วั นแก ไข โดยเวลารวมในการแก ไขแบบ แปลนทั้งหมด Custom เราสามารถปอนขอมูลที่ กําหนดขึ้ นมา ใชงานดวยตนเอง โดยคลิกบนปุ ม Add (ลบขอมูล โดยใชปุ ม Delete) ซึ่งขอมูลทั้งหมดในคําสัง่ นี้จะไปปรากฏในคําสัง่ Insert4 Field หากมีการสอดแทรกขอมูลไปใชงาน ขอมูลจะเปลีย่ นแปลง อับเดทโดยอัตโนมัติ

รูปที่ 12.15

Note

เราสามารถใชขอมูลที่ระบุใน Title, Subject, Author, Keywords เปนเงื่อนไขในการคนหาไฟลแบบ แปลนจาก My Computer หรือจาก Network ได โดยใชปุม Search บนหนาตาง DesignCenter เราสามารถใชเครื่องหมาย * เติมหลังตัวอักษรหรือขอความสัน้ ๆ เพือ่ ใชแทนไฟลทกุ ไฟลได อาทิ เชน โครงการตอเรือ* หมายถึงใหคน หาแบบแปลนทีม่ ี Properties ของโครงการตอเรือทัง้ หมดทุกโครงการ

12.16 Edit4Cut | CUTCLIP | E + x | ใชสําหรับคัดลอกวัตถุ(Objects)จากพืน้ ทีว่ าดภาพไปเก็บไวในหนวยความจําชัว่ คราววินโดวคลิป๊ บอรด (Windows clipboard) พรอมท งลบวั ั้ ตถุนนั้ ออกจากพืน้ ทีว่ าดภาพ เพือ่ ทีเ่ ราจะสามารถนําวัตถุจากไฟลแบบแปลนหนึง่ ไปใชงานใน อีกไฟลแบบแปลนหนึง่ หรือนําไปใชในแอพพลิเคชัน่ อืน่ ๆ อาทิ เชน Microsoft Word, Microsoft Excel และอืน่ ๆ เปนตน

12.17 Edit4Copy | COPYCLIP | E + c | ใชสําหรับคัดลอกวัตถุ(Objects)จากพื้นที่วาดภาพไปไวในหนวยความจําชั่วคราววินโดวคลิ๊ปบอรด(Windows clipboard) เพือ่ ทีเ่ ราจะสามารถนําวัตถุจากไฟลแบบแปลนหนึง่ ไปใชงานในอีกไฟลแบบแปลนหนึง่ หรือนําไปใชใน แอพพลิเคชัน่ อืน่ ๆ คําสัง่ นีม้ ลี กั ษณะการใชงานเหมือนกับคําสัง่ CUTCLIP จะ แตกตางกันตรงทีว่ ตั ถุซง่ึ เราคัดลอกยังคง อยูบ นพืน้ ทีว่ าดภาพไมถกู ลบทิง้ ไป

12.18 Edit4Copy with Base Point | COPYBASE | E + S + c คําสัง่ นีเ้ หมือนกับคําสัง่ COPYCLIP ทุกประการ ยกเวนเราสามารถกําหนดจุดสอดแทรกใหแกวัตถุทจี่ ะถูกคัดลอก เมือ่ เลือกคําสัง่ นี้ จะปรากฏขอความ Specify base point: ใหคลิกตรงจุดทีต่ อ งการกําหนดจุดสอดแทรก จะปรากฏ ขอความ Select objects: ใหคลิกเพือ่ เลือกวัตถุทตี่ อ งการคัดลอก เราใชคําสัง่ นีใ้ นกรณีทตี่ อ งการนําวัตถุจากไฟลแบบ แปลนหนึง่ ไปใชงานในอีกไฟลหนึง่ เพือ่ ใหสามารถใชจดุ สอดแทรกชวยในการกําหนดตําแหนงของวัตถุ

12.19 Edit4Copy Link | COPYLINK ใชสาํ หรับคัดลอกพืน้ ทีว่ าดภาพของ AutoCAD ไปไวในหนวยความจําชัว่ คราววินโดวคลิป๊ บอรด(Windows clipboard) การคัดลอกดวยคําสัง่ นีจ้ ะทําใหเกิดการเชือ่ มโยงวัตถุจากวิวพอรทใชงานของพืน้ ทีว่ าดภาพในลักษณะ Object Linking

chap-12.PMD

345

13/10/2549, 1:33

346

and Embedding(OLE) ไปยังโปรแกรมคอมพิวเตอรอ่นื ๆ ซึง่ ถาหากวัตถุตนฉบับใน AutoCAD ถูกแกไข วัตถุทถี่ กู คัดลอกไปใชในโปรแกรมอืน่ ๆ จะถูกแกไขตามไปดวย

12.20 Edit4Paste | PASTECLIP | E + v |

2D Drafting

ใชคําสัง่ นีส้ ําหรับเรียกวัตถุจากหนวยความจําชัว่ คราววินโดวคลิป๊ บอรดซึง่ ถูกคัดลอกดวยคําสัง่ Edit4Cut, Edit4 Copy หรือ Edit4Copy Link จากโปรแกรมแอพพลิเคชัน่ อืน่ ๆ หรือจากไฟลแบบแปลนอืน่ ๆ ของ AutoCAD เขามาวาง บนพืน้ ทีว่ าดภาพของไฟลแบบแปลนใชงาน Note

หากเรามีชดุ ขอมูลคอรออรดเิ นท X,Y จาก Microsoft Excel เราสามารถนําคาคอรออรดเิ นทมาเขียนเสน Line หรือ Polyline หรือ Spline ได เมือ่ อยูใ น Microsoft Excel ใหไฮไลทเซลลทมี่ ชี ดุ ขอมูลคอรออรดเิ นท X,Y ทั้งหมด แลวใชคําสั่ง Edit4Copy เพื่อคัดลอกขอมูลคอรออรดิเนท X,Y ทั้งหมดเขาสูหนวย ความจําวินโดวคลิ๊ปบอรด เมื่ออยูใ น AutoCAD ใหเรียกคําสัง่ LINE, PLINE หรือ SPLINE แลวกดปุม @ เพื่อเรียกหนาตาง AutoCAD Text Window คลิกขวาบนบรรทัด Command: ที่อยูบนหนาตาง AutoCAD Text Window แลวเลือกคําสั่ง Paste โปรแกรมจะใชคําสั่ง LINE, PLINE หรือ SPLINE เขียนเสนตามจุดคอรออรดิเนท X,Y ตางๆ ที่นํามาจาก Microsoft Excel

12.21 Edit4Paste as Block | PASTEBLOCK | E + S + v เหมือนกับคําสัง่ PASTECLIP โดยปกติ เมือ่ ใชคาํ สัง่ Edit4Paste เพือ่ นําวัตถุจากหนวยความจําชัว่ คราววินโดวคลิป๊ บอรดมาวาง(Paste)ลงบนพื้นที่วาดภาพ จะมีสภาพเหมือนกับกอนที่จะถูกคัดลอกเขาไปไวในวินโดวคลิ๊ปบอรด แตถา หากเราใชคําสัง่ นี้ เพือ่ เรียกวัตถุจากคลิ๊ปบอรดออกมาวางบนพื้นที่วาดภาพ วัตถุนั้นจะถูกแปลงเปนบล็อค โดยโปรแกรมจะทําการตัง้ ชือ่ บล็อคใหโดยอัตโนมัติ

12.22 Edit4Paste as Hyperlink | PASTEASHYPERLINK ใชสําหรับสอดแทรกไฮเปอรลงิ คจากหนวยความจําวินโดวคลิป๊ บอรดไปยังวัตถุทถี่ กู เลือก ในการคัดลอกไฮเปอรลงิ ค เขาสูว นิ โดวคลิป๊ บอรด ใหคลิกขวาบนวัตถุทมี่ ไี ฮเปอรลงิ ค เลือกคําสัง่ Hyperlink4Copy Hyperlink

12.23 Edit4Paste to Original Coordinate | PASTEORIG เหมือนกับคําสัง่ PASTECLIP ใชสําหรับนําวัตถุจากหนวยความจําคลิป๊ บอรดไปวาง ณ จุดคอรออรดเิ นทเดิมในไฟล แบบแปลนเดิมหรือจุดคอรออรดเิ นทเดิมในไฟลแบบแปลนอืน่ ๆ

12.24 Edit4Paste Special | PASTESPEC ใชคําสัง่ นีส้ ําหรับเรียกวัตถุจากหนวยความจําชัว่ คราววินโดวคลิป๊ บอรดซึง่ ถูกคัดลอกดวยคําสัง่ Edit4Cut, Edit4 Copy หรือ Edit4Copy Link จากโปรแกรมแอพพลิเคชัน่ อืน่ ๆ หรือจากไฟลแบบแปลนอืน่ ๆ ของ AutoCAD เขามาวาง บนพืน้ ทีว่ าดภาพ เราสามารถใชคําสัง่ นีใ้ นการเชือ่ มโยงวัตถุทคี่ ดั ลอกเขามาจากโปรแกรมคอมพิวเตอรอน่ื ๆ ในลักษณะ Object Linking and Embedding (OLE) ซึง่ ถามีการแกไขเพิม่ เติมวัตถุตน ฉบับในโปรแกรมคอมพิวเตอรอน่ื ๆ วัตถุที่ คัดลอกเขามาใน AutoCAD นีจ้ ะถูกปรับปรุงโดยอัตโนมัติ เมือ่ เลือกคําสัง่ นีจ้ ะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.16 เราสามารถเลือกปุม เรดิโอ Paste เพือ่ ทีจ่ ะสอดแทรกวัตถุจากคลิป๊ บอรดแบบธรรมดาไมมกี ารเชือ่ มโยงความสัมพันธ หากเราตองการคัดลอกตารางจาก Microsoft Excel มาแปลงใหเปนตาราง(Table)ของ AutoCAD เราสามารถเลือก

chap-12.PMD

346

13/10/2549, 1:33

กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ

347

รูปที่ 12.16

AutoCAD Entities จากชองหนาตาง As หากตองการ แปลงใหเปน Multiline Text ใหเลือก Text จากชองหนา ตาง As หรือเลือกปุมเรดิโอ Paste Link เพื่อทีจ่ ะสอด แทรกแบบมีการเชื่อมโยงความสัมพันธระหวางวัตถุตน ฉบับกับวัตถุทสี่ อดแทรกเขามาใน AutoCAD ซึง่ ถาหาก มีการแกไขวัตถุตน ฉบับในแอพพลิเคชัน่ อืน่ ๆ วัตถุทถี่ ูก คัดลอกหรือสอดแทรกใน AutoCAD จะถูกแกไขดวย โดยอัตโนมัติ

เมือ่ สอดแทรกวัตถุ OLE เขามาใน AutoCAD แลว เราสามารถปรับขนาดความสูงของตัวอักษรได โดยคลิกใหปรากฏ จุดกริป๊ สสีดําบนมุมทั้ง 4 ของ OLE Object แลวคลิกขวาบน OLE Object จะปรากฏเคอรเซอรเมนูดังรูปที่ 12.17 (ซาย) เราสามารถเลือกคําสัง่ Open เพือ่ ใช แอพพลิเคชัน่ เปดตนฉบับของ OLE Object ออกมาแกไขหรือเลือกคําสั่ง Text Size จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.17 (ขวา) เราสามารถปรับความสูงของตัวอักษรใหมคี วามสูงตามหนวยวัด ของ AutoCAD โดยพิมพคาความสูงของตัวอักษรเขาไปในอิดิทบอกซตอจากเครื่องหมายเทากับของ Text Height เราสามารถเลือกคําสั่ง Reset เพื่อ ปรับความสูงของ ตัวอักษรใน OLE Object กลั บ ไปมี ขนาดเท ากั บ ขนาดเริ่มตน รูปที่ 12.17

Note

เนื่องจากฟอนท .ttf ภาษาไทยของวินโดวมีขนาดไมตรงตามมาตรฐานเหมือนกับฟอนทภาษาอังกฤษ ดังนั้น หากเรากําหนด ความสูงเทากับ 2.5 หนวย ความสูงของตัวอักษรประมาณ 2.4 หนวยหรือต่ํากวา

12.25 Edit4Clear | ERASE | E | ใชสําหรับลบวัตถุ เมือ่ ใชคําสัง่ นี้ จะปรากฏขอความ Select objects: เราสามารถใชตวั เลือก All, W, C, F, A, R, CP, WP และอืน่ ๆ ซึง่ ไดอธิบายรายละเอียดไวในหัวขอการเลือกวัตถุในบทที่ 2

12.26 Edit4Select All | E + a | ใชสําหรับเลือกวัตถุทงั้ หมดทีอ่ ยูบ นพืน้ ทีโ่ มเดลสเปสหรือพืน้ ทีเ่ ปเปอรสเปสทีก่ าํ ลังใชงานอยู

12.27 Edit4OLE Links | OLELINKS

รูปที่ 12.18

chap-12.PMD

347

ใชคําสัง่ จัดการความสัมพันธระหวางวัตถุทมี่ ีการ เชือ่ มโยงระหวางกันแบบ OLE ทีส่ อดแทรกเขามา ใชงาน คําสัง่ นีจ้ ะสามารถใชงานไดกต็ อ เมือ่ มีการ ใชคาํ สัง่ Edit4Paste Special ðPaste Link สอด แทรกวัตถุแบบเชื่อมโยงความสัมพันธจากไฟล ตนฉบับทีบ่ ันทึกดวยแอพพลิเคชั่นโปรแกรมอืน่ ๆ เขามาใน AutoCAD เมื่อใชคําสัง่ นีจ้ ะตองมีวตั ถุ OLE อยูบ นพืน้ ทีว่ าดภาพ จะปรากฏไดอะล็อคดัง รูปที่ 12.18

13/10/2549, 1:33

348

บนไดอะล็อคดังรูปที่ 12.18 เราใชปุม Update Now เพื่อปรับปรุงวัตถุทันที ใชปุม Open Source เพื่อเรียก แอพพลิเคชัน่ ที่สรางวัตถุนนั้ ออกมา ใชปมุ Change Source เพือ่ เปลีย่ นไฟลและโฟลเดอรที่เก็บบันทึกวัตถุ ใชปมุ Break Link สําหรั บตั ดการเชื่ อมโยงระหว างวั ตถุ ต นฉบั บกั บวั ตถุ ที่ ถูกสอดแทรกแบบ OLE ใช ปุ มเรดิ โอ Automatic เพือ่ ใหการปรับปรุงวัตถุเกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ ใชปุมเรดิโอ Manual เพื่อปรับปรุงวัตถุดวยตนเอง

2D Drafting

12.28 Edit4Find | FIND | ใชคําสัง่ นี้สําหรับคนหาตัวอักษรหรือขอความใดๆ ในไฟลแบบแปลนใชงาน ไมวา จะเปนตัวอักษรทีส่ รางจากคําสัง Draw4Text4Multiline Text หรือคําสัง่ Draw4Text4Single Line Text เราสามารถคนหาไดทงั้ ตัวอักษร ภาษาไทยและตัวอักษรภาษาอังกฤษ ทดลองเปดไฟล Blocks and Tables - Metric.dwg จากโฟลเดอร \Program Files\AutoCAD 2006\Sample แลวใชคําสั่งนี้ จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.19 (ซาย) คนหาตัวอักษร “Site” ทัง้ หมดทีอ่ ยูใ นไฟลแบบแปลน แลวแทนทีด่ ว ยตัวอักษร “Sites” โดยพิมพ Site ในอิดทิ บอกซ Find text string แลว พิมพ Sites ในอิดทิ บอกซ Replace with คลิกบนปุม Find เพื่อคนหาคําหรือปุม Find Next เพือ่ คนหาคําตอไป แล วคลิ กปุ ม Replace เพื่ อแทนที่ คําหรื อคลิ กบนปุ ม Replace All เพื่ อแทนที่ คําทั้ งหมด โปรแกรมจะ รายงานจํานวนคําทีถ่ กู แทนทีท่ งั้ หมดดานลางสุด หากใชปมุ Find จะปรากฏตัวอักษรทีค่ น พบใน Context เราสามารถ คลิกบนปุม Zoom to เพือ่ ขยายภาพใหมองเห็นตัว อักษรที่คนพบนั้นได หากตองการกําหนดประเภท วัตถุในการคนหา ใหคลิกบนปุม Options จะปรากฏ ไดอะล็ อ คดั ง รู ป ที่ 12.19 (ขวา) หากปรากฏ เครื่องหมาย บนเช็คบอกซใดในฟลด Include

รูปที่ 12.19

โปรแกรมจะทําการคนหาภายในวัตถุประเภทนัน้ ดวย อาทิ เชน คาของแอททริบวิ ต ตัวเลขบอกขนาดและคําอธิบายของ เสนลีดเดอร ตัวอักษร Text และ Mtext ตัวอักษรในตาราง(Table) คําบรรยายในไฮเปอรลงิ คและไฮเปอรลงิ ค หาก ปรากฏเครื่องหมาย บนเช็คบอกซ Match Case ตัวอักษรพิมพใหญหรือพิมพเล็กจะตองตรงกัน โปรแกรมจึง จะสามารถคนหาคําทีต่ อ งการได หากปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Find whole words only โปรแกรมจะ คนหาเฉพาะคําทัง้ คําวาตรงกับคําทีร่ ะบุในอิดทิ บอกซ Find text string หรือไม ถาไมตรงกันโปรแกรมจะคนหาคําอืน่ ๆ ทีต่ รงกันตอไป

12.29 Insert4Drawing Exchange Binary | DXBIN ใชคําสัง่ นีส้ ําหรับนําเขาไฟลชนิ้ งานหรือแบบแปลน 2 มิตฟิ อรแมต .dxb ทีส่ รางจากการพิมพดว ยคําสัง่ File4Plot ของ AutoCAD สวนใหญแลวจะใชในกรณีที่ตอ งการแปลงวัตถุ 3 มิตใิ หกลายเปนวัตถุ 2 มิติ ในการสรางไฟล .dxb เพียงแตแสดงภาพชิน้ งานทีต่ อ งการใหปรากฏในไฟล .dxb แลวสรางเครือ่ งพิมพ ดวยคําสัง่ File4Plotter Managerð Add-A-Plotter WizardsðNextðMy ComputerðAutoCAD DXB File แลวบันทึกคอนฟกเกอเรชัน่ ของเครือ่ งพิมพ และใชเครือ่ งพิมพดงั กลาวเปนเครือ่ งมือในการสรางไฟล .dxb

chap-12.PMD

348

13/10/2549, 1:33

กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ

349

12.30 Insert4Windows Metafile | WMFIN ใชสําหรับนําขอมูลรูปภาพกราฟกในลักษณะเวคเตอรทบี่ นั ทึกไวในไฟล .wmf จากแอพพลิเคชัน่ โปรแกรมตางๆ อาทิ เชน Adobe Illustrator หรือกราฟกแอพพลิเคชัน่ อืน่ ๆ เขามาใชงานใน AutoCAD หลังจากทีน่ ําไฟล .wmf เขามาใน AutoCAD เราจะตองระเบิดโดยใชคําสัง่ Modify4Explode จึงจะสามารถแกไขวัตถุตา งๆ ในไฟลดงั กลาวได

12.31 Insert4OLE Object | INSERTOBJ | ใชคําสั่งนีส้ ําหรับสอดแทรกไฟลจากโปรแกรมแอพพลิเคชั่นอื่นๆ อาทิ เชน Microsoft Excel .xls, Adobe Acrobat .pdf, และอืน่ ๆ ดังรูปที่ 12.20 เขามาใชงานใน AutoCAD หากเลือกปุม เรดิโอ Create New โปรแกรมจะสอดแทรกไฟล ที่เริม่ ตนสรางใหมในแอพพลิเคชัน่ โปรแกรมอืน่ ๆ หากเลือกปุมเรดิโอ Create from file เราสามารถคลิกใหปรากฏ เครื่องหมาย บนเช็คบอกซ Link เพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธระหวางไฟลขอมูล หากมีการแกไขไฟลดังกลาวใน แอพพลิเคชัน่ โปรแกรมอืน่ ๆ ขอมูลจะไดรบั การปรับปรุงใน AutoCAD ดวย รูปที่ 12.20

12.32 Insert4Hyperlink | HYPERLINK | เมื่อเรียกคําสัง่ นี้ออกมาใชงาน จะปรากฏขอความ Select objects ใหเลือกวัตถุที่ตองการสรางการเชื่อมโยงแบบ ไฮเปอรลงิ ค แลวคลิกขวา จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.21 พิมพขอ ความแนะนําเขาไปในอิดทิ บอกซ Text to display แลวพิมพทอี่ ยูข องเวบไซตหรือทีอ่ ยูข องไฟลทจี่ ะลิงคเขาไปในอิดทิ บอกซ Type the file or Web page name แลวคลิก บนปุม OK เราสามารถคนหาไฟลโดยคลิกบนปุม File หรือคนหาชือ่ เวบไซตตา งๆ ทีอ่ ยูใ น History ของ Internet Explorer โดยคลิกบนปุม Web Page แลวเลือกเวบไซตทตี่ องการลิงค หากตองการยกเลิกไฮเปอรลิงคที่กําหนดใหกับวัตถุ ใหคลิกบนปุม Remove Link เมือ่ เรากําหนดไฮเปอรลงิ คใหกบั วัตถุแลวดังรูปที่ 12.21 (ขวา-บน) หากมีการสรางไฟล .dwf เพือ่ ใชงานใน Internet Explorer เมือ่ เลือ่ น เคอรเซอรไปบนวัตถุ จะปรากฏเคอรเซอรและ ไฮเปอรลงิ คดงั รูปที่ 12.21 (ขวา-ลาง) หากคลิก บนวัตถุ โปรแกรมจะเปดเวบไซตหรือเปดไฟล ทีร่ ะบุไวในไฮเปอรลงิ คทนั ที

รูปที่ 12.21

chap-12.PMD

349

13/10/2549, 1:33

350

Note

หากเราไดสรางไฮเปอรลิงคใหกับวัตถุไปแลว หากตองการแกไข ใหเรียกคําสั่งนี้ แลวคลิกบนวัตถุที่ ตองการแกไขไฮเปอรลิงค หรือคลิกบนวัตถุใหปรากฏจุดกริป๊ ส แลวคลิกขวาบนวัตถุ แลวเลือกคําสั่ง Hyperlink4Edit Hyperlink ไดเชนเดียวกัน

2D Drafting

12.33 Format4Rename | RENAME | REN ใชคําสั่งนี้สําหรับเปลี่ยนชื่อบล็อค(Block) เปลี่ยนชื่อสไตล เสนบอกขนาด(Dimension style) เลเยอร(Layer) รูปแบบ เส น(Linetype) รู ปแบบการพิ มพ (Plot Style) รู ปแบบ ตัวอักษร(Text Style) ระนาบ UCS (ใชในระบบ 3 มิติ) มุมมอง(View)และวิวพอรท(Viewport) เมื่อใชคําสั่งนี้จะ ปรากฏไดอะล็อค Rename ดังรูปที่ 12.22 คลิกบนประเภทของวัตถุ อาทิ เชน Blocks, Dimension Styles และอืน่ ๆ เปนตนในชองหนาตาง Named Objects แลว รูปที่ 12.22 คลิกบนชือ่ วัตถุในชองหนาตาง Items จะปรากฏชือ่ เดิมของ วัตถุในอิดิทบอกซ Old Name ใหพมิ พชื่อใหมเขาไปในอิดทิ บอกซ Rename To แลวคลิกบนปุม Rename To เพื่อเปลี่ยนชื่อวัตถุที่ถูกเลือก

12.34 Tools4Spelling | SPELL | SP ใชสาํ หรับตรวจสอบตัวสะกดของขอความตัวอักษร TEXT และ MTEXT คําสัง่ นีใ้ ชไดกบั ภาษาอังกฤษเทานัน้ เมือ่ เรียก คําสัง่ นีอ้ อกมาใชงาน จะปรากฏขอความ Select objects: ใหคลิกบนขอความตัวอักษรทีต่ อ งการตรวจสอบตัวสะกด แลวคลิกขวา เมือ่ โปรแกรมคนพบคําผิด จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.23

Current Dictionary แสดงชือ่ ดิกชันนารีใ่ ชงาน Current Word แสดงคําทีต่ รวจพบวาสะกดผิด Suggestions แสดงคําแนะนําวาควร จะเปนคําที่ถกู ตอง Ignore ขามตัวอักษรไป โดยไมแกไข Ignore All ข ามตั วอักษรไปทั้ งหมดโดยไมแก ไข Change แก ไขคําที่ ตรวจพบ โดยใชคําที่แนะนําไปแทนทีค่ ําที่สะกดผิด Change All แกไขคําที่สะกดผิดทั้งหมด โดยใชคําที่แนะนําแทน Add เพิ่มคําที่

ตรวจพบใน Current word เขาไปในดิ กชั นเนอรี่ ฉบั บปรับปรุง Lookup ตรวจสอบคําทีป่ รากฏในฟลด Suggestions วาสะกดถูกตอง หรือไม Change Dictionaries ใชปุ มนี้ สําหรั บเปลี่ ยนดิ กชันเนอรี่ ใชงาน Context แสดงขอความตัวอั กษร ที่อยูในบรรทัดเดียวกันกับคําที่ตรวจพบ รูปที่ 12.23

12.35 Tools4Quick Select | QSELECT | ใชสาํ หรับเลือกวัตถุตา งๆ โดยใชเงือ่ นไขเขามาชวยเลือกวัตถุ เมือ่ เลือกวัตถุดว ยคําสัง่ นีแ้ ลว จะปรากฏจุดกริป๊ สบนวัตถุ ตางๆ ที่ถูกเลือกตามเงือ่ นไข หากเราเรียกคําสั่งใดๆ ทีป่ รากฏขอความ Select objects: อาทิ เชน MOVE, COPY, ROTATE, SCALE และ คําสัง่ อืน่ ๆ โปรแกรมจะนําวัตถุตางๆ ทีถ่ กู เลือกจากคําสั่งนีไ้ ปใชงานในคําสั่งดังกลาวทันที โดยไมตอ งเลือกวัตถุในคําสัง่ นัน้ อีก เมือ่ ใชคําสัง่ นีจ้ ะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.24

chap-12.PMD

350

13/10/2549, 1:33

กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ

ในแถบรายการ Apply to จะปรากฏตัวเลือก Entire Drawing หากยัง ไมมีวัตถุใดถูกเลือกอยู ซึ่งการเลือกจะมีผลกับวัตถุทั้งหมดหรือจะ ปรากฏตัวเลือก Current selection หากมีวัตถุถกู เลือกอยูบ างแลว ซึ่ง การเลือกจะมีผลกับกลุมวัตถุที่ถูกเลือกแลว เราสามารถกลั่นกรอง การเลือกโดยใชประเภทของวัตถุในแถบรายการ Object type หรือ ใช Multiple เพื่ อเลือกประเภทวัตถุทั้ งหมด เรายั งสามารถเลือก คุณสมบัติของวัตถุในชองหนาตาง Properties แลวกําหนดเงือ่ นไข ในแถบรายการ Operator และกํ าหนดค าของคุ ณ สมบั ติ ใ น อิดิทบอกซ Value เพื่อทําใหเงื่อนไขในการเลือกแคบลง หากปุม เรดิโออยูท ี่ Include in new selection set โปรแกรมจะเลือกวัตถุที่ ระบุ ตามเงื่ อ นไข หากปุ ม เรดิ โออยู ที่ Exclude from new selection set โปรแกรมจะเลือกวัตถุตรงกันขามกับเงื่อนไขทีร่ ะบุ หากปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซ Append to current selection set โปรแกรมจะเพิม่ วัตถุทรี่ ะบุตรงตามเงือ่ นไขเขาไปใน กลุมของวัตถุที่ถูกเลือกอยูแลว

รูปที่ 12.24

Note

351

คําสัง่ นีจ้ ัดวาเปนคําสัง่ ทีม่ ีประโยชนมากคําสั่งหนึ่งเพราะจะชวยใหเราสามารถเลือกวัตถุตา งๆ จํานวน มากๆ ตามเงื่อนไขในการเลือกไดอยางสะดวกและรวดเร็ว

รูปที่ 12.25

ในการเลือกวัตถุแบบมีเงื่อนไข ทดลองเปด ไฟล 12-351-25.dwg ดังรูปที่ 12.25 จาก โฟลเดอร \exercise บนแผน DVD-ROM แนบ ทายหนังสือคูมอื ฯ ออกมาใชงาน แลวลองใช คําสัง่ Tools4 Quick Select ชวยในการ เลื อ กเฉพาะวงกลมทั้ งหมด เมื่ อปรากฏ ไดอะล็อค Quick Select ใหแนใจวา Apply to ปรากฏ Entire drawing แลวเปลี่ยน Object type จาก Multiple ใหเปน Circle เปลี่ยน Operator จาก =Equals ใหเปน Select All แลวคลิกบนปุม OK วงกลม ทัง้ หมดไมวา จะอยูใ นตําแหนงใดและมีรศั มีเทาใดก็ตามจะถูกเลือกทัง้ หมด โดยจะปรากฏจุดกริป๊ สบนวงกลมทัง้ หมด

chap-12.PMD

Note

หากตองการเลือกวัตถุอื่นๆ ทั้งหมดบาง อาทิ เชน ตัวอักษร Text ก็ใชวิธีเดียวกันกับการเลือกวงกลม แตกดปุม D เพื่อยกเลิกวัตถุที่ถูกเลือก แลวเปลี่ยน Circle ใหเปน Text หากตองการเลือกบล็อค ทั้งหมด ใหเปลี่ยน Circle ใหเปน Block reference หากตองการเลือกวัตถุใดทั้งหมด ใหเปลี่ยนเฉพาะ Object type ใหเปนวัตถุที่เราตองการเลือก แลวเลือก Select All ในแถบรายการ Operator

Note

หากตองการเลือกวงกลมทุกวงที่มรี ัศมีใหญกวา 15 หนวยทั้งหมด เมื่อปรากฏไดอะล็อค Quick Select ใหแนใจวา Apply to ปรากฏ Entire drawing เปลี่ยน Object type จาก Multiple ใหเปน Circle แลว เลือก Radius ในชองหนาตาง Properties แลวเปลี่ยน Operator จาก =Equals ใหเปน >Greater than (ใหญกวา) พิมพคา 15 ในอิดิทบอกซ Value คลิกปุม OK วงกลมทั้งหมดเฉพาะที่มีรัศมีใหญกวา 15 หนวยจะถูกเลือกทัง้ หมด โดยจะปรากฏจุดกริป๊ สบนวงกลมทัง้ หมดทีอ่ ยูใ นเงื่อนไข เราก็สามารถเรียก คําสั่งตางๆ อาทิ เชน Move, Copy, Rotate และอื่นๆ ออกมากระทํากับวัตถุที่ถูกเลือกไดทันที

351

13/10/2549, 1:33

352

Note

หากตองการเลือกวัตถุทงั้ หมด เฉพาะทีม่ สี ีเขียว(Green) เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Quick Select ใหแนใจวา Apply to ปรากฏ Entire drawing ใหแนใจวา Object type ปรากฏ Multiple ใหเลือก Color ในชอง หนาตาง Properties ใหแนใจวา Operator ปรากฏ =Equals เลือกสีเขียว Green จากแถบรายการ Value แลวคลิกปุม OK วัตถุทุกประเภทที่มีสีเขียวจะถูกเลือกทั้งหมด โดยจะปรากฏจุดกริ๊ปสบนวัตถุตางๆ ที่มีสีเขียว วัตถุที่ปรากฏเปนสีเขียวบางชิ้นอาจจะไมไดถูกเลือกตามเงื่อนไข เนื่องจากวัตถุสีเขียวอาจ จะอยูใ นเลเยอรที่กําหนดไวเปนสีเขียว(Green) ซึ่งมีคุณสมบัตสิ ีเปน Bylayer วัตถุสีเขียวบางชิ้นจึงไม อยูในเงื่อนไข ถึงแมวาจะปรากฏเปนสีเขียวก็ตาม

2D Drafting

Note

หากตองการเลือกเฉพาะตัวอักษร MText ทั้งหมดเฉพาะที่มีความสูงนอยกวา 20 หนวย เมื่อปรากฏ ไดอะล็อค Quick Select ใหแนใจวา Apply to ปรากฏ Entire drawing เปลี่ยน Object type ใหเปน MText ใหเลือก Height ในชองหนาตาง Properties เปลี่ยน Operator ใหเปน
Note

หากตองการเลือกเฉพาะตัวอักษร MText เฉพาะที่มีความสูงเทากับ 9 หนวยทั้งหมด เมื่อปรากฏ ไดอะล็อค Quick Select ใหแนใจวา Apply to ปรากฏ Entire drawing เปลี่ยน Object type ใหเปน MText ใหเลือก Height ในชองหนาตาง Properties เปลี่ยน Operator ใหเปน =Equals ปอนคา 9 เขาไป ในอิดิทบอกซ Value แลวคลิกบนปุม OK ตัวอักษร MText ที่มีความสูงเทากับ 9 หนวยทั้งหมดจะ ถูกเลือก โดยจะปรากฏจุดกริ๊ปสบนตัวอักษร MText เฉพาะที่มีความสูงเทากับ 9 หนวย

Note

หากตองการเลือกตาราง Table เฉพาะที่มีสไตลชื่อ NewTable ทั้งหมด เมื่อปรากฏไดอะล็อค Quick Select ใหแนใจวา Apply to ปรากฏ Entire drawing เปลี่ยน Object type ใหเปน Table ใหเลือก Table style ในชองหนาตาง Properties เปลี่ยน Operator ใหเปน =Equals แลวเลือก NewTable จากแถบ รายการ Value แลวคลิกบนปุม OK ตารางที่มีสไตลชื่อ NewTable ทั้งหมดจะถูกเลือกและปรากฏจุด กริป๊ สบนตารางทีถ่ กู เลือกทัง้ หมด

Note

ในกรณีทเี่ รามีวตั ถุถกู เลือกใหปรากฏจุดกริป๊ สสนี ้ําเงินอยูก อ นทีจ่ ะใชคําสัง่ นี้ เราจะเห็นวาแถบรายการ Apply to จะปรากฏ Current selection นัน่ หมายถึงการกําหนดเงือ่ นไขในการคนหาวัตถุ จะมีผลเฉพาะ กับวัตถุทถี่ กู เลือกอยูก อนเทานัน้ หากเราตองการใหโปรแกรมใชเงือ่ นไขทีก่ ําหนดกับวัตถุอนื่ ๆ ทัง้ หมด ที่อยูในแบบแปลนใชงาน เราจะตองเลือก Entire drawing จากแถบรายการนี้

Note

ในกรณีที่เรามีวัตถุถูกเลือกใหปรากฏจุดกริ๊ปสสีน้ําเงินอยูกอนที่จะใชคําสั่งนี้ หากเราคลิกใหปรากฏ เครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Append to current selection set โปรแกรมจะเลือกวัตถุใหม เพิม่ เขาไปใน กลุม ของวัตถุทถี่ กู เลือกอยูก อ น

Note

ในกรณีที่เราเลือกตัวเลือก Multiple จากแถบรายการ Object type เราจะสามารถกําหนดเงื่อนไขได เฉพาะคุณสมบัตทิ วั่ ไป อาทิ เชน สี เลเยอร รูปแบบเสน สเกลเสนประ สไตลควบคุมการพิมพ ความหนา เสน เปนตน

12.36 Tools4Display Order | DRAWORDER | DR | ใชสาํ หรับจัดลําดับการปรากฏของวัตถุทซี่ อ นกันอยูบ นพืน้ ทีว่ าดภาพ เรามักใชคําสัง่ นีก้ บั รูปภาพ(Image) เสนโพลีไลน

chap-12.PMD

352

13/10/2549, 1:33

กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ

353

ทีม่ ีความหนาโซลิด(Solid) 2 มิติ ขนมโดนัทตัวอักษร .ttf เสนทีม่ คี วามหนา (Lineweight) หรือแฮทชทแี่ บบ Solid fill และแบบ Gradient fill ดังรูปที่ 12.26

กอ นใชคําสั่ง

หลังใชคําสั่ง

รูปที่ 12.26

Command: DRAWORDER

{เลือกวัตถุทตี่ อ งการจัดลําดับบนลางทีจ่ ะใหปรากฏบนจอภาพ} Select objects: {คลิกขวาหรือ Q}

Select objects: 1 found

Enter object ordering option [Above object/Under object/Front/Back] :

{เลือกตัวเลือกทีต่ อ งการ}

เพื่อเลื่อนระดับ Above object ใชตัวเลือกนี้หรือใชคําสั่ง Tools4Display Order4Bring Above Object วัตถุที่ซอนกันอยูขนึ้ บน 1 ระดับ Under object ใชตวั เลือกนีห้ รือใชคําสัง่ Tools4Display Order4Send Under Object เพื่อเลื่อนระดับวัตถุที่ซอนกันอยูลงลาง 1 ระดับ Front ใชตัวเลือกนี้หรือใชคําสั่ง Tools4Display Order4Bring to Front เพื่อเลือ่ นระดับวัตถุไปยังระดับหนาสุด Back ใชตวั เลือกนีห้ รือใชคําสั่ง Tools4Display Order4Send to Back เพือ่ เลื่อนระดับวัตถุไปยังระดับหลังสุด

12.37 Tools4Display Order4Bring Text and Dimensions to Front | TEXTTOFRONT

กอ นใชคําสั่ง

รูปที่ 12.27

หลังใชคําสั่ง

ใชสําหรับนําตัวอักษรหรือเสนบอกขนาดหรือทั้งสองอยางไปไวบนสุดของวัตถุตางๆ ที่ซอนกันอยูบ นพืน้ ที่วาดภาพ หากเลือกคําสัง่ Tools4Display Order4Bring Text and Dimensions to Front4Text Objects Only ตัวอักษรทัง้ หมด ในแบบแปลนจะถูกนําไปไวบนสุดหากเลือก Tools4Display Order4Bring Text and Dimensions to Front4 Dimension Objects Only เสนบอกขนาดทัง้ หมดในแบบแปลนจะถูกนําไปไวบนสุด หากเลือก Tools4Display Order4Bring Text and Dimensions to Front4Text and Dimension Objects ตัวอักษรทัง้ หมดและเสนบอกขนาด ทัง้ หมดในแบบแปลนจะถูกนําไปไวบนสุด

12.38 Tools4Update Fields | UPDATEFIELD | ใชสําหรับปรับปรุงขอมูลของฟลดใหเปนขอมูลลาสุด เมือ่ ใชคําสัง่ นี้ จะปรากฏขอความ Select objects: ใหเลือกฟลด

chap-12.PMD

353

13/10/2549, 1:33

354

ขอมูลทีต่ อ งการปรับปรุงซึง่ ปรากฏอยูใ นแบบแปลนใชงาน แลวคลิกขวา จะปรากฏขอความ 3 field(s) found 3 field(s) updated แสดงวาพบฟลด 3 ฟลดและอับเดทฟลดทงั้ สาม

12.39 Tools4Inquiry4Distance | DIST | DI |

2D Drafting

คําสัง่ นีใ้ ชสําหรับวัดระยะหางและมุมระหวางจุดสองจุด (การวัดระยะทางระหวางจุดสองจุดจะเปนเสนตรง)

Distance = 2.3742 Angle in XY Plane = 47°

รูปที่ 12.28

Distance = 2.3742 Angle in XY Plane = 227°

Command: DIST

{คลิก ณ จุดเริ่มตนที่ตองการวัดระยะและมุมหรือควรใช Object snap ในโหมดที่ เหมาะสมในการกําหนดจุดเริ่มตน} Second point: {คลิก ณ จุดสิ้นสุดที่ตองการวัดระยะและมุมหรือควรใช Object snap ในโหมดที่ เหมาะสมในการกําหนดจุดสิ้นสุด} First point:

Distance = 2.3742, Angle in XY Plane = 47, Angle from XY Plane = 0 Delta X = 1.6143, Delta Y = 1.7410, Delta Z = 0.0000

Distance แสดงระยะหางจริงระหวางจุดทัง้ สองทีว่ ดั ได Angle in XY Plane แสดงคามุมทีก่ ระทําในระนาบ XY โดย วัดจากแนวแกน X Angle from XY Plane ใชคา มุมนีใ้ นการเขียนแบบ 3 มิติ Delta X แสดงระยะหางทีว่ ดั ไดในแนวแกน X Delta Y แสดงระยะหางทีว่ ดั ไดในแนวแกน Y Delta Z แสดงระยะหางทีว่ ดั ไดในแนวแกน Z ซึง่ ใชในระบบ 3 มิติ Note

จากรูปที่ 12.28 สังเกตุวาหากสลับจุดที่ใชเมาสคลิกจากจุดที่ 1 เปน 2 จากจุดที่ 2 เปน 1 จะไดคามุมที่ แตกตางกัน การวัดคามุมนั้นจะอางอิงจากแนวแกน X ซึ่งวัดจากจุดที่ 1 เสมอ

12.40 Tools4Inquiry4Area | AREA | AA | ใชคําสัง่ นีส้ ําหรับคํานวณหาพืน้ ที(่ Area)และเสนรอบรูป(Perimeter)ของวัตถุดงั รูปที่ 12.29 Command: _area Specify first corner point or [Object/Add/Subtract]

Specify first corner point ใชเมาสคลิกจุดตางๆ บนพื้นที่วาดภาพ เมือ่ ไดจุดทัง้ หมดของพื้นที่แลว คลิกขวาหรือ Q โปรแกรมจะ รายงานพื้นทีข่ องจุดตางๆ เหลานัน้ Object ใชตวั เลือกนีก้ ับวัตถุบนพื้นที่วาดภาพ อาทิ เชน

chap-12.PMD

354

13/10/2549, 1:33

355

กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ รูปที่ 12.29

เสนโพลีไลนแบบเปดหรือแบบปดวงกลมหรือวงรี Add ใชตวั เลือกนีเ้ พื่อเขาสูโ หมดการบวกพื้นที่ ในขณะทีย่ ังคง อยูใ นคําสัง่ AREA คาของพื้นที่ทโี่ ปรแกรมคํานวณไดจะถูกเก็บสะสมไว หากเราใชตวั เลือก Add คาทีค่ ํานวณไดจาก วัตถุชิ้นถัดไปจะถูกนําไปบวกกับคาสะสมที่คํานวณจากวัตถุกอน Subtract ใชตัวเลือกนี้เพื่อเขาสูโหมดการลบ พื้นที่ในขณะที่ยังคงอยูในคําสั่ง AREA คาของพื้นที่ที่โปรแกรมคํานวณไดจะถูกเก็บสะสมไว หากเราใชตัวเลือก Subtract คาที่คํานวณไดจากวัตถุชิ้นถัดไปจะถูกนําไปลบออกจากคาสะสมที่คํานวณไดจากวัตถุกอ น

12.40.1 ขัน้ ตอนการหาพืน้ ทีข่ องวัตถุ จากรูปที่ 12.29 (ซาย) เราสามารถใชคําสัง่ AREA เพือ่ หาพืน้ ทีข่ องชิน้ งานได โดยใชตวั เลือก Object เพราะเสนขอบ ชิน้ งานเปนเสนโพลีไลน จากรูปที่ 12.29 (กลาง) เปนรูเจาะรูปวงกลมทีต่ อ งการหาพืน้ ทีร่ วม เราสามารถหาพืน้ ทีโ่ ดยใช ตัวเลือก Add จากรูปที่ 12.29 (ขวา) เราตองการทราบพืน้ ทีข่ องชิน้ งานทีร่ ะบายแฮทชไลระดับสีเทานัน้ ดังนัน้ เราจึง สามารถหาพืน้ ทีใ่ นโหมด Add และ Subtract ตามขัน้ ตอนดังนี้ Command: _area

{จากรูปที่ 12.29 }

A {เลือกโหมด Add เพือ่ เริม่ บวก} O {เลือกการคํานวณพืน้ ทีจ่ ากวัตถุทเี่ ลือก} (ADD mode) Select objects: {คลิกบนรูปชิน ้ งานขอบนอกสุดในรูปที่ 12.29 (ขวา)} Area = 21909.4257, Perimeter = 671.5753 {โปรแกรมรายงานพืน ้ ทีแ่ ละเสนรอบรูปของวัตถุ} Total area = 21909.4257 {โปรแกรมรายงานพืน ้ ทีส่ ะสมทัง้ หมด} (ADD mode) Select objects: {คลิกขวาหรือ Q} Specify first corner point or [Object/Subtract]: S {เลือกโหมด Subtract เพือ ่ ลบพืน้ ที}่ Specify first corner point or [Object/Add]: O {เลือกการคํานวณพืน ้ ทีจ่ ากวัตถุทเี่ ลือก} (SUBTRACT mode) Select objects: {คลิกบนรูปวงกลมในรูป 12.29 (ขวา)} Area = 1341.5593, Circumference = 129.8404 {โปรแกรมรายงานคาพืน ้ ทีแ่ ละเสนรอบวง} Total area = 20567.8664 {โปรแกรมรายงานพืน ้ ทีส่ ะสมทัง้ หมด} (SUBTRACT mode) Select objects: {คลิกบนรูปวงกลมในรูป 12.29 (ขวา)} Area = 1341.5593, Circumference = 129.8404 {โปรแกรมรายงานคาพืน ้ ทีแ่ ละเสนรอบวง} Total area = 19226.3071 {โปรแกรมรายงานพืน ้ ทีส่ ะสมทัง้ หมด} (SUBTRACT mode) Select objects: {คลิกบนรูปวงกลมในรูป 12.29 (ขวา)} Area = 1341.5593, Circumference = 129.8404 {โปรแกรมรายงานคาพืน ้ ทีแ่ ละเสนรอบวง} Total area = 17884.7479 {รายงานพืน ้ ทีส่ ะสมทัง้ หมด นัน่ คือพืน้ ทีร่ ะบายของรูป 12.29 (ขวา)} (SUBTRACT mode) Select objects: {คลิกขวาหรือ Qเพือ ่ ออกจากโหมดการเลือก} Specify first corner point or [Object/Add]: {คลิกขวาหรือ Qเพือ ่ ออกจากคําสัง่ } Specify first corner point or [Object/Add/Subtract]:

Specify first corner point or [Object/Subtract]:

คําสัง่ AREA ไมสามารถใชกบั เสนตรงตางๆ ทีส่ รางจากคําสัง่ LINE ถึงแมวา จะมีการเขียนเสนตางๆ จนกระทัง่ ปรากฏ เปนรูปแบบปดหากวัตถุทเี่ ราตองการหาพืน้ ทีป่ ระกอบไปดวยเสนตรง LINE หลายๆ เสนดังรูปที่ 12.30 (ซาย) เราจะตอง

chap-12.PMD

355

13/10/2549, 1:33

356

สรางเสน POLYLINE แบบปดจากขอบเขตภายในของเสนตางๆ เพื่อทีจ่ ะสามารถใชกับคําสั่งนี้ได โดยเราจะตอง ใชคําสั่ง Modify4Object4Polyline แลวใชตัวเลือก Join เพือ่ เชื่อมเสนตรงเหลานั้นใหเปน POLYLINE เสน เดียวกันเสียกอน แตถาใชวิธีนี้ เราจะตองเสียเวลาตัด(Trim)เสนสวนเกินที่ยื่นออกไปจากขอบเขตที่ตองการหา พื้นที่เสียกอน จึงจะสามารถสรางเสนโพลีไลนแบบปดได อีกวิธีหนึง่ ที่งายและสะดวกที่สุดคือเราสามารถใชคําสั่ง Draw4Boundary แลวเลือก Polyline ในแถบรายการ Object type แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏขอความ Pick internal point: เราสามารถคลิก ณ จุดใดๆ ภายในขอบเขตของพืน้ ทีท่ ตี่ องการ โปรแกรมจะสรางเสนโพลีไลน ทับซอนกับเสนขอบเขตแบบปดดังรูปที่ 12.30 (กลาง) เราจึงจะสามารถนําเสนโพลีไลนแบบปดไปใชในการหาพืน้ ที่ ดวยคําสัง่ AREA ตามวิธใี นตัวอยางไดดงั รูปที่ 12.30 (ขวา)

2D Drafting

รูปที่ 12.30

เสนตางๆ ประกอบกัน จนเปนพื้ นที่ แบบป ด

เสนโพลีไลนจากคําสั่ง BOUNDARY

พื้นที่ที่ หักลบสี่ เหลี่ยมแลว คํานวณไดจากคําสั่ง AREA

12.41 Tools4Inquiry4List | LIST | LI | ใชสําหรับรายงานคุณสมบัตขิ องวัตถุบนพืน้ ทีว่ าดภาพ อาทิ เชน ประเภทวัตถุ ตําแหนงคอรออรดเิ นท เลเยอรทวี่ ตั ถุนนั้ อาศัยอยูความยาวเสน(Length) ความยาวเสนในระนาบ XY(Delta X,Y) มุมในระนาบ XY(Angle in XY plane) พืน้ ที(่ Area) เสนรอบรูป(Perimeter) เสนรอบวง(Circumference)และอืน่ ๆ เปนตน Command: _list

{คลิกบนวัตถุทตี่ อ งการทราบขอมูลคุณสมบัตขิ องวัตถุ} {คลิกขวาหรือ Q จะปรากฏคุณสมบัตขิ องวัตถุดงั นี}้ CIRCLE Layer: "0" {โปรแกรมรายงานประเภทวัตถุทถ ี่ กู เลือกคือวงกลม Circle อยูใ นเลเยอร 0 (ศูนย)} Space: Model space {โปรแกรมรายงานวาวงกลมอยูใ นบนพืน ้ ทีโ่ มเดลสเปส} Handle = 33 {โปรแกรมรายงานตัวเลขอางอิงวัตถุในฐานขอมูลแบบแปลน} center point, X= 51.4910 Y= 173.6117 Z= 0.0000 {โปรแกรมรายงานจุดศูนยกลาง} radius 21.8773 {โปรแกรมรายงานรัศมี} circumference 137.4593 {โปรแกรมรายงานความยาวเสนรอบวง} area 1503.6213 {โปรแกรมรายงานพืน ้ ทีข่ องวงกลม}

Select objects: 1 found Select objects:

Note

ขอมูลทีโ่ ปรแกรมรายงานออกมานัน้ ขึน้ อยูก บั ประเภทของวัตถุทถี่ กู เลือก ถาวัตถุทถี่ กู เลือกเปนวงกลมจะ ปรากฏขอมูลจุดศูนยกลาง รัศมี เสนรอบรูป พืน้ ทีแ่ ละอืน่ ๆ

12.42 Tools4Inquiry4ID Point | ID | ใชคําสัง่ นี้สําหรับรายงานตําแหนงของจุดคอรออรดิเนทที่กําหนดบนพื้นที่วาดภาพ เมื่อใชคําสั่งจะปรากฏขอความ

chap-12.PMD

356

13/10/2549, 1:33

357

กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ

Specify point: ใหคลิกบนพืน้ ทีว่ าดภาพ โปรแกรมจะรายงานคาคอรออรดเิ นทของจุดทีใ่ ชเมาสคลิกในรูปแบบดังนี้ X = 371.2487 Y = 202.1414 Z = 0.0000

12.43 Tools4Inquiry4Time | TIME ใชสําหรับรายงานสถิตขิ องวันและเวลาของแบบแปลนใชงาน เวลาทีร่ ายงานใชรูปแบบ 24 ชัว่ โมง Command: time Current time:

8 October 2003 at 16:24:43:467 PM

Times for this drawing: Created:

8 October 2003 at 16:23:54:817 PM

Last updated:

8 October 2003 at 16:23:54:817 PM

Total editing time:

0 days 00:00:48.891

Elapsed timer (on):

0 days 00:00:48.680

Next automatic save in: 0 days 00:09:38.088 Enter option [Display/ON/OFF/Reset]:

Current time แสดงวันและเวลาปจจุบนั Created แสดงวันและเวลาที่สรางแบบแปลนใชงาน Last updated แสดงวันและเวลาทีบ่ นั ทึกแบบแปลนใชงานครัง้ ลาสุด Total editing time แสดงเวลารวมทีใ่ ชในการแกไขเพิม่ เติม แบบแปลนใชงาน Elapse timer (on) ใชเปนนาฬิกาจับเวลา โดยใช ON/OFF/Reset เปนตัวควบคุมการจับเวลา Next automatic save in แสดงเวลาที่เหลืออยูจนถึงเวลาที่บนั ทึกอัตโนมัติครั้งตอไป Display แสดงซ้ําวันและ เวลาทั้งหมดอีกครัง้ ON เริม่ ตนจับเวลา OFF ยุตกิ ารจับเวลา Reset ปรับคาศูนยของนาฬิกาจับเวลา เพือ่ เริม่ ตนนับเวลาใหม Note

เวลาที่รายงานมีรูปแบบ 00:00:00.000 หมายถึงชั่วโมง : นาที : วินาที : เศษสวนพันของวินาทีหรือ มิลลิเซคคัน่

12.44 Tools4Inquiry4Status | STATUS ใชคําสัง่ นีส้ ําหรับรายงานสถิติ โหมดและขอบเขตของแบบแปลน Command: '_status 95 objects in C:\AutoCAD_2006_2D_Drafting\Exercise\12-35529.dwg

{แสดงจํานวนวัตถุทงั้ หมด โฟลเดอรและชือ่ ไฟล}

0.0000 (Off) {โหมดขอบเขตลิมต ิ On/Off} {แสดงขอบเขตลิมติ ทีก่ าํ หนดไว} Model space uses X: 108.4068 Y: -34.7595 **Over {มุมซายลางของขอบเขต} X: 873.2255 Y: 240.3801 **Over {มุมขวาบนของขอบเขต} Display shows X: 63.6238 Y: -165.9021 {มุมซายลางของคอรออรดเิ นททีป ่ รากฏ} X: 929.5537 Y: 371.5082 {มุมขวาบนของคอรออรดเิ นททีป ่ รากฏ} Insertion base is X: 0.0000 Y: 0.0000 Z: 0.0000 {จุดสอดแทรก Base ทีก ่ าํ หนดไว เมือ่ มีการสอดแทรก ไฟลเขาไปในไฟลแบบแปลนอืน่ ๆ} Snap resolution is X: 10.0000 Y: 10.0000 {ระยะหางของสแนปทีก ่ าํ หนดไว} Grid spacing is X: 10.0000 Y: 10.0000 {ระยะหางของจุดกริดทีก ่ าํ หนดไว} Current space: Model space {รายงานวาอยูใ น Model space หรือ Paper space} Current layout: Model {แสดงชือ ่ เลเอาทใชงาน} Model space limits are X:

0.0000

Y:

X: 420.0000 Y: 297.0000

chap-12.PMD

357

13/10/2549, 1:33

358

{เลเยอรชอื่ Profile คือเลเยอรใชงาน} {กําหนดการสรางวัตถุโดยใชสตี ามเลเยอร} Current linetype: BYLAYER -- "Continuous" {ใชรป ู แบบเสนตามทีต่ งั้ ไวในเลเยอร} Current lineweight: BYLAYER {กําหนดความหนาเสนตามทีก ่ าํ หนดในเลเยอร} Current elevation: 0.0000 thickness: 0.0000 {สําหรับงานเขียนแบบ 3 มิต}ิ Fill on Grid off Ortho off Qtext off Snap off Tablet off {แสดงสถานะของโหมดตางๆ} Current layer:

Current color:

"Profile"

BYLAYER -- 7 (white)

Object snap modes:

2D Drafting

Center, Endpoint, Intersection, Midpoint, Extension

{โหมดออโตสแนปใชงาน}

{แสดงพืน้ ทีบ่ นฮารดดิสคทเี่ หลืออยู} {แสดงพืน้ ทีท่ เี่ หลือสําหรับไฟลชวั่ คราว} Free physical memory: 236.0 Mbytes (out of 367.5M). {หนวยความจํา RAM ทีเ่ หลืออยู} Free swap file space: 673.9 Mbytes (out of 889.1M). {แสดงพืน ้ ทีไ่ ฟลชวั่ คราวทีเ่ หลืออยู} Free dwg disk (C:) space: 1249.9 MBytes

Free temp disk (C:) space: 1249.9 MBytes

12.45 Tools4Inquiry4Set Variable | SETVAR | SET ใชสาํ หรับกําหนดคาตัวแปรระบบ(System variables)ซึง่ เก็บคาเริม่ ตนควบคุมคุณสมบัตใิ นคําสัง่ ตางๆ ของ AutoCAD เมื่อใชคําสั่งนี้ จะปรากฏขอความ Enter variable name or [?]: หากเราไมสามารถจําชือ่ ตัวแปรระบบได ใหพมิ พ เครือ่ งหมาย ? แลวกดปุม Q จะปรากฏขอความ Enter variable(s) to list <*>: ใหคลิกขวาหรือ Q เพือ่ แสดง รายชื่อตัวแปรทัง้ หมดบนหนาตาง AutoCAD Text Window เมื่อเราทราบชือ่ ตัวแปรระบบแลว เราสามารถพิมพชอื่ ตัวแปรผานบรรทัด Command: ไดโดยตรง

12.46 Tools4Run Script | SCRIPT | SCR ใชคาํ สัง่ นีส้ าํ หรับสัง่ ให AutoCAD ทํางานตามคําสัง่ และตัวเลือกของคําสัง่ ตางๆ ทีก่ าํ หนดไวใน สคริปทไฟล สคริปทไฟล คือแอสกีเ้ ทกซไฟล(ASCII Text File)มีฟอรแมต .scr ซึง่ สรางดวยโปรแกรม Notepad ดังรูปที่ 12.31 หรือเวิรด โปรเซสเซอร อืน่ ๆ ทีส่ ามารถบันทึกไฟลในฟอรแมตนีไ้ ด รูปที่ 12.31

เราสามารถทีจ่ ะบรรจุคาํ สัง่ ใดๆ ของ AutoCAD เขาไปในสคริปทไฟลได ชองวาง 1 ชองในสคริปท ไฟลหมายถึงการกด ปุม Q 1 ครัง้ สมมุตวิ า เราตองการใชสคริปทไฟลในการตัง้ คาขอบเขตลิมติ ดวยคําสัง่ Format4Drawing Limits โดยใหมขี อบเขตในการเขียนภาพทีม่ มุ ซายดานลาง = 0,0 มุม ขวาดานบน = 120,80 แลวกําหนดระยะหางระหวาง จุดกริด(Grid) = 5 แลวเปดโหมดจุดกริด Grid On ปรับระยะกระโดดของสแนป(Snap) = 5 แลวเปดโหมดสแนป Snap On เปดโหมดจุดกริดแสดงจอภาพของเขตลิมติ ดวยคําสัง่ View4Zoom4All จากนัน้ กําหนดสีแดง -COLOR RED เขียนสีเ่ หลีย่ มผืนผา โดยมีมมุ ลางซายทีจ่ ดุ 10,10 มุมบนขวาทีจ่ ดุ 110,70 กําหนดสีมว ง -COLOR MAGENTA แลวเขียนวงกลมรัศมี 20 โดยมีจดุ ศูนยกลางอยูท ี่ 60,40 โดยการเขียนสคริปทไฟลมขี นั้ ตอนดังตอไปนี้

chap-12.PMD

358

13/10/2549, 1:33

กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ

Note

359

1.

ใชคาํ สัง่ Start ðAll Programs ð Accessories ð Notepad บนทาสคบารของวินโดว จะปรากฏ โปรแกรม Notepad ขึน้ มาบนจอภาพ แลวพิมพสคริปทดงั รูปที่ 12.31 (ซาย)

2.

ในโปรแกรม Notepad ใชคําสั่ง File4Save แลวตัง้ ชือ่ ไฟล 11-358-31.scr เพือ่ บันทึกไฟลใน ฟอรแมต .scr ลงในดิสค

3.

กลับสู AutoCAD 2006 แลวใชคําสัง่ Tools4Run Script แลวคนหาไฟล 11-358-31.scr ที่ บันทึกในขอ 2 โปรแกรม จะเริ่มทําตามคําสั่งตามลําดับโดยอัตโนมัติ จอภาพของ AutoCAD จะปรากฏดังรูปที่ 12.31 (ขวา) สังเกตุวา คําสัง่ ทีเ่ ราปอนเขาไปในสคริปทไฟลนนั้ เหมือนกับคําสัง่ และตัวเลือกและคาทีเ่ ราจะตองปอน ผานคียบอรด

12.47 Tools4Display Image4View | REPLAY ใชคําสัง่ นีส้ ําหรับแสดงรูปบิทแม็ปฟอรแมต .bmp, tga, หรือ .tif บนพืน้ ทีว่ าดภาพ เมือ่ ใชคําสัง่ นีจ้ ะปรากฏไดอะล็อค สําหรับเลือกไฟล ใหเลือกฟอรแมตของรูปบิทแม็ปจาก File of Type แลวคนหาไฟลรปู บิทแม็ป .bmp, .tif, rle, dib และ .tga จากโฟลเดอรทตี่ อ งการ เมือ่ เลือกไฟลรปู บิทแม็ปแลว จะปรากฏไดอะล็อค Image Specification เราสามารถกําหนด Image Offset และ Screen Offset แลวคลิกบนปุม OK จะปรากฏรูปบิทแม็ปบนพืน้ ที่วาดภาพชั่วคราว จนกวาจะ มีการใชคาํ สัง่ Zoom, Pan, Redraw, Regen, Regenall

12.48 Tools4Display Image4Save | SAVEIMG ใช คําสั่ งนี้ สําหรั บสร างไฟล รู ปบิ ทแมทหรื อ ราสเตอร ไ ฟล ความละเอียดต่าํ โดยจะบันทึกวัตถุตา งๆ ทีป่ รากฏบนจอภาพ ของ AutoCAD เปนรูปบิทแม็ปฟอรแมต .bmp, tga, หรือ .tif เมื่ อใชคําสั่งนี้จะปรากฏไดอะล็อค Save Image ใหเลือก ฟอรแมตของรูปบิทแม็ปจาก Format แลวคลิกบนปุม OK จะ ปรากฏไดอะล็อคใหเราตัง้ ชือ่ ไฟล แลวเลือกโฟลเดอรทตี่ อ งการ จัดเก็บไฟลรปู บิทแม็ป

รูปที่ 12.32

Note

การแปลงแบบแปลนใหกลายเปนรูปบิทแม็ปดวยคําสั่งนี้ ความละเอียดของรูปบิทแม็ปนั้นขึ้นอยูกับ โหมดความละเอียดของจอภาพ ถึงแมวาเราจะปรับความละเอียดจอภาพสูงสุดความละเอียดของรูป บิทแม็ปทีถ่ ูกสรางจากคําสัง่ นีจ้ ะคอนขางต่ํา มักจะปรากฏเปนเสนขัน้ บันไดเสมอๆ หากตองการสราง รูปบิทแม็ปที่มีความละเอียดสูง เรานิยมสราง Plotter ขึ้นมาใหม โดยใชคําสั่ง File4Plotter Manager ð Add A-Plotter-Wizards ð My Computer ð Raster File Formats ð TIFF Version 6 (Uncompressed) ð Plot to File เมื่อสรางไอคอนเครื่องพิมพ TIFF Version 6 (Uncompressed).pc3 ขึ้นมาใหมแลว เราจะสามารถใชคําสัง่ File4Plot แลวเลือกไอคอนเครือ่ งพิมพทเี่ ราไดสรางขึน้ ใหม เพือ่ สรางไฟล รูปบิทแม็ป .tif ที่มีความละเอียดสูงได

12.49 Tools4CAD Standards4Configure | STANDARDS | STA | ใชคําสัง่ นีส้ าํ หรับเลือกไฟล .dws ซึง่ เก็บมาตรฐานเลเยอร(Layer) มาตรฐานรูปแบบเสน(Linetype) มาตรฐานรูปแบบ เสนบอกขนาด(Dimension style)และมาตรฐานรูปแบบตัวอักษร(Text style) เพื่อใชในการเปรียบเทียบไฟลแบบ

chap-12.PMD

359

13/10/2549, 1:33

360

แปลนใชงานและคนหาจุดทีม่ กี ารกําหนดมาตรฐานแตกตางทีร่ ะบุไวในไฟล .dws ผูท รี่ บั ผิดชอบตอมาตรฐานของแบบ แปลนภายในองคกร(CAD Manager)สามารถใชคําสัง่ นีร้ ว มกับคําสัง่ Tools4Cad Standards4Check เพือ่ ตรวจ สอบแบบแปลนที่เขียนขึ้นมาจากพนักงานเขียนแบบหลายๆ คนวาแบบแปลนที่สรางขึ้นจากพนักงานแตละคนมี มาตรฐานตรงกันหรือ ไม เมือ่ ใชคาํ สัง่ นีจ้ ะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.33 (ซาย) ใหคลิกบนปุม (Add Standards File) แลวคนหาไฟล .dws ซึ่งจะปรากฏชือ่ ไฟล .dws บนชองหนาตาง Standards files associated with current drawing เราสามารถเพิม่ ไฟล .dws หลายๆ ไฟลเขาไปในชองหนาตาง ถามีการใชไฟล .dws มากกวา 1 ไฟลขนึ้ ไปและมี การขัดแยงกันระหวางมาตรฐานที่ระบุในไฟล .dws เหลานัน้ ตัวอยาง เชน ถาเลเยอรมชี ื่อซ้ํากันแตคุณสมบัติของ เลเยอรตา งกัน โปรแกรมจะเลือกมาตรฐานเลเยอรทกี่ าํ หนดในไฟล .dws ทีอ่ ยูร ะดับทีส่ งู กวานําไปใชในการตรวจสอบ มาตรฐานกับไฟลแบบแปลนใชงาน หากตองการลบมาตรฐานใด ใหคลิกบนชือ่ มาตรฐานนั้น แลวคลิกบนปุม เพือ่ ลบมาตรฐานนัน้ ออกจากไดอะล็อค

2D Drafting

รูปที่ 12.33

ในการสรางไฟล .dws ซึง่ บรรจุมาตรฐานเลเยอร(Layer) มาตรฐานรูปแบบเสน (Linetype) มาตรฐานรูปแบบเสนบอก ขนาด(Dimension style)และมาตรฐานรูปแบบตัวอักษร(Text style) เราสามารถใชคาํ สัง่ File4Open เปดไฟลแบบ แปลน .dwg ใดๆ ทีเ่ ราตองการใชเปนไฟลตนแบบซึง่ มีมาตรฐานตรงตามทีอ่ งคกรของเราออกมาใชงาน แลวใชคําสัง่ File4Save As และเลือก AutoCAD Drawing Standard (*.dws) จากแถบรายการ Files of type แลวเลือก โฟลเดอรและตั้งชื่อไฟล .dws ไดตามตองการ แลวจึงนําไฟล .dws ทีไ่ ดมาใชกับคําสั่งนี้ หากคลิกขวาบนชือ่ ไฟล มาตรฐานบนชองหนาตางจะปรากฏเคอรเซอรเมนู เราสามารถเลือกคําสัง่ เลือ่ นขึน้ Move Up เลือ่ นลง Move Down ลบไฟลมาตรฐาน Remove หรือเปลี่ยนไฟลมาตรฐาน Change หากเราคลิกบนปุม Settings จะปรากฏไดอะล็อค CAD Standards Settings ดังรูปที่ 12.33 (ขวา) เราสามารถเลือกปุมเรดิโอ Disable standards notifications เพื่อ ระงับการแสดงขอความเตือนเกี่ยวกับมาตรฐานบนดานขวาของบรรทัดแสดงสถานะหรือเลือกปุมเรดิโอ Diplay alert upon standards violation เพือ่ แสดงขอความเตือนเฉพาะที่ฝา ฝนมาตรฐานหรือเลือกปุมเรดิโอ Diplay standards status bar icon เพื่อแสดงไอคอน Standards แสดงขอความเตือนบนบรรทัดสถานะ เราสามารถ กําหนดให โปรแกรมแก ไ ขมาตรฐานให โดยอั ต โนมั ติ โดยคลิ กให ป รากฏเครื่ อ งหมาย หน าเช็ คบอกซ Automatically fix non-standard properties โดยปกติ จะมีเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซ Show iqnored problems ซึง่ จะมีขอความเตือนเมื่อไมสามารถแกไขใหตรงตามมาตรฐานได Note

chap-12.PMD

หากเราตองการสรางไฟลมาตรฐาน .dws สําหรับตรวจสอบไฟลแบบแปลน .dwg ตางๆ เราจะตองใช คําสั่ง File4Open เปดไฟล .dwg ที่มีไดกําหนดการตั้งชื่อเลเยอร การกําหนดรูปแบบเสน การ กําหนดรูปแบบเสนบอกขนาดและการกําหนดรูปแบบตัวอักษรซึง่ มีมาตรฐานถูกตองออกมา แลวใช คําสั่ง File4Save As เลือกฟอรแมต AutoCAD Drawing Standards (*.dws) จากแถบรายการ Files of type แลวคลิกบนปุม Save เราก็จะไดไฟล .dws สามารถนําไปใชในคําสัง่ Tools4CAD Standards 4Configure ไดตามตองการ

360

13/10/2549, 1:33

กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ

361

12.50 Tools4CAD Standards4Check | CHECKSTANDARDS | CHK | หลังจากทีไ่ ดใชคําสัง่ Tools4CAD Standards4Configure เลือกไฟล .dws กํากับไฟลแบบแปลนใชงานแลว เราสามารถใชคําสัง่ นี้สําหรับตรวจสอบมาตรฐานของแบบแปลนใชงาน อาทิ เชน การตั้งชื่อเลเยอร การกําหนด รูปแบบเสน การกําหนดรูปแบบเสนบอก ขนาดและการกําหนดรูปแบบตัวอักษรทีก่ าํ หนดไวในไฟลแบบแปลนใชงาน ได เมือ่ ใชคาํ สัง่ นีจ้ ะปรากฏไดอะล็อครายงานผลการตรวจสอบดังรูปที่ 12.34 (ซาย) เราสามารถเรียกคําสัง่ นีผ้ า นปุม Check Standards ของคําสัง่ Tools4CAD Standards4Configure ไดเชนเดียวกัน

Problem รายงานสิง่ ทีไ่ ม

ตรงกั บมาตรฐานในไฟล แบบแปลนใช ง าน อาทิ เช น Layer, Linetype, Dimstyle และ Text ในที่นี้ โปรแกรมรายงานว าคุ ณ สมบั ติ ข องรู ป แบบเส น HIDDEN ไม ต รงกั บ ที่ กํ า ห น ด ไ ว ใ น ไ ฟ ล มาตรฐานที่ เราเลื อก ใช ง าน อาทิ เช น ไฟล MyStandard.dws เปนตน Replace with แสดง รายชื่อ Layer, Linetype, รูปที่ 12.34 Dimstyle และ Text ที่ กําหนดไวในไฟล .dws ทีถ่ กู เลือกเขามาใชงานจากคําสัง่ Tools4CAD Standards4Configure เราสามารถเลือก Layer, Linetype, Dimstyle หรือ Text ที่ไดมาตรฐานทีถ่ กู ตองที่จะนําไปแทนที่ในไฟลแบบแปลนใชงานมาตรฐาน ทีโ่ ปรแกรมแนะนํามาใหจะมีเครือ่ งหมาย นําหนา แตเราสามารถเลือกมาตรฐานอืน่ ทีป่ รากฏบนไดอะล็อคไดดว ย ตนเอง Preview of changes แสดงคุณสมบัตแิ ละคาปจจุบันของ Layer, Linetype, Dimstyle หรือ Text ที่ไมตรง ตามมาตรฐานในคอลัมน Properties และ Current Value และแสดงคาที่จะถูกแทนที่ในคอลัมน Standard Value Fix เราสามารถใชปมุ นีใ้ นการแกไข Layer, Linetype, Dimstyle หรือ Text ซึง่ ไมตรงตามมาตรฐานดวยตนเอง โดยคลิกบน ชื่อ Layer, Linetype, Dimstyle หรือ Text ทีป่ รากฏในชองหนาตาง Replace with แลวคลิกบนปุม นี้ Layer, Linetype, Dimstyle หรือ Text ก็จะถูกแกไขใหถกู ตองตามมาตรฐานที่กําหนด Mark this problem as ignored คลิกให ปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซน้ี เพื่อขามปญหาที่โปรแกรมแนะนํามาให Next คลิกบนปุมนีเ้ พื่อตรวจสอบ ปญหาของมาตรฐานตอไป โดยไมมกี ารแกไขมาตรฐานใหถูกตอง Settings คลิกบนปุม นีจ้ ะปรากฏไดอะล็อคดังรูป ที่ 12.33 (ขวา) หากเราคลิกใหปรากฏเครื่ องหมาย หน าเช็ คบอกซ Automatically fix non-standard properties เมือ่ คลิกบนปุม Next โปรแกรมทําการแกไขปญหาชือ่ เลเยอรและสไตลตา งๆ ของแบบแปลนซึง่ ไมตรง ตามมาตรฐานใหถกู ตองตามมาตรฐานในไฟล .dws ใหโดยอัตโนมัติ โดยมีขอ แมวา ชือ่ เลเยอรหรือชือ่ สไตลจะตองตรง กับที่ ระบุในไฟล .dws แตมีคุณสมบัติตางกัน โปรแกรมจึงจะแกไขปญหาใหโดยอัตโนมัติ หากคลิกใหปรากฏ เครื่องหมาย หนาเช็คบอกซ Show ignored problems โปรแกรมจะแสดงปญหาที่ยงั ไมไดรบั การแกไขและ ถูกมองขามไป หากโปรแกรมรายงานปญหาออกมาแลว หากไมตอ งการแกไข เราสามารถขามปญหานั้นไปได โดย คลิกใหปรากฏเครื่องหมาย ไวใน Mark this problem as ignored เพื่อทําเครื่องหมายบนปญหานั้น เรา สามารถเลือกไฟล .dws ในแถบรายการ Preferred standards file to use for replacements เพือ่ ใหโปรแกรมนํา มาตรฐานจากไฟล .dws ทีถ่ กู เลือกมาใชในการแกไขปญหามาตรฐานไมตรงกันซึ่งจะใชรว มไฟลมาตรฐานที่ปรากฏ ในชองหนาตาง Replace with

chap-12.PMD

361

13/10/2549, 1:33

362

Note

รูปที่ 12.34 (ขวา-บน) แสดงขอความรายงานผลการตรวจสอบมาตรฐานซึ่งพบปญหาโปรแกรมไม สามารถแกไขใหโดยอัตโนมัติ เราจะตองตัดสินใจวาเราจะใชมาตรฐานจากไฟลมาตรฐานใดดวย ตนเอง ในทีน่ ี้ โปรแกรมรายงานออกมาวาชือ่ สไตลตวั อักษร ATTR ไมตรงกับมาตรฐานในไฟล .dws หากเราตองการแกไข ใหเลือกชื่อสไตลเสนบอกขนาดในชองหนาตาง Replace with แลวคลิกบนปุม Fix เพื่อแกไขมาตรฐานใหตรงกับไฟล .dws ตามตองการ

2D Drafting

Note

เมือ่ ตรวจสอบมาตรฐานเสร็จทัง้ หมดแลว จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.34 (ขวา-ลาง) โปรแกรมจะ รายงานปญหามาตรฐานไม ตรงกันทีพ่ บทัง้ หมด 23 จุดใน Problems found ไดแกไขไปแลวโดยอัตโนมัติ 1 จุดใน fixed automatically และไดแกไขดวยตนเอง 1 จุด ใน fixed manually และมีขา มการตรวจสอบ จํานวน 0 จุดใน Ignored in current check

12.51 Tools4CAD Standards4Layer Translator | LAYTRANS | ใชคาํ สัง่ นีส้ ําหรับเคลือ่ นยายวัตถุทงั้ หมดทีอ่ ยูใ นเลเยอรหนึง่ ไปอยูใ นอีกเลเยอรหนึง่ ดวยคําสัง่ นีเ้ ราสามารถทีจ่ ะเปลีย่ น เลเยอรทั้งหมดทีอ่ ยูในแบบแปลนไปใชเลเยอรมาตรฐานจากไฟลแบบแปลนใดๆ ไดอยางรวดเร็ว เมือ่ ใชคําสั่งนี้ จะ ปรากฏไดอะล็อค Layer Translator ดังรูปที่ 12.35 หนาตาง Translate From แสดง รายชื่อเลเยอรทั้งหมดทีม่ ีอยูใ นไฟล แบบแปลนใชงาน เลเยอรที่ มีวัตถุ อยู ภายในจะปรากฏเป น ไอคอน เลเยอรสีเขียว เลเยอรที่ไมได ถู กใช ง านจะปรากฏเป น ไอคอน เลเยอร สี ขาว หากคลิ กขวา ภายในช องหน าต าง Translate From จะปรากฏช็อทคัทเมนูแสดง คําสั่ง Select All ใชเลือกเลเยอร ทั้งหมด Clear All ใชยกเลิกการ รูปที่ 12.35 เลือกเลเยอร Purge layers ใชลบ เลเยอรทไี่ มไดถกู ใชงานในชองหนาตาง Translate To แสดงรายชือ่ เลเยอรทตี่ องการใชเปนเลเยอรเปาหมาย ซึง่ เรา สามารถโหลดเลเยอรเปาหมายออกมาใชงาน โดยคลิกบนปุม Load ซึ่งเราสามารถเลือกประเภทของไฟลที่เก็บ เลเยอรเปาหมายจากแถบรายการ Files of type อาทิ เชน .dwg, .dws, .dwt หรือถาหากตองการสรางเลเยอรเปาหมาย ใหม ใหคลิกบนปุม New เมือ่ โหลดเลเยอรเปาหมายเขามาในชองหนาตาง Translate To: แลวใหเลือกเลเยอรทอี่ ยู ในชองหนาตาง Translate From: หากตองการเลือกมากกวา 1 เลเยอร เราสามารถกดปุม E คางไว แลวคลิก เลเยอรอื่นๆ ทีต่ องการตอไป แลวคลิกบนชือ่ เลเยอรเปาหมายทีอ่ ยูในชองหนาตาง Translate To: เราสามารถคลิกบน ปุม Map เพือ่ จับคูเ ลเยอรตา งๆ ทีถ่ กู เลือกในชองหนาตาง Translate From: เขากับเลเยอรเปาหมายทีอ่ ยูใ นชองหนาตาง Translate To: เราสามารถคลิกบนปุม Map Same เพือ่ จับคูเ ลเยอรทมี่ ีชอื่ เหมือนกันในชองหนาตาง Translate From: และในชองหนาตาง Translate To: แลวแสดงเลเยอรทไี่ ดรบั การจับคูแ ลวในชองหนาตาง Layer Translation Mappings: เราสามารถเลือกเลเยอรทตี่ อ งการแกไขคุณสมบัตใิ นชองหนาตาง Layer Translation Mappings: โดยคลิกบนปุม Edit เพือ่ เปลีย่ น Color, Lineweight, Linetype ใหม เราสามารถคลิกบนปุม Remove เพือ่ ลบเลเยอรออกจากชอง หนาตาง Layer Translation Mappings: เราสามารถบันทึก Save เลเยอรแม็ปปง เก็บไวใชงานในคราวตอไป หากคลิกบนปุม Settings จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.36 หากมีเครื่องหมาย นําหนา Force object color to BYLAYER จะทําใหวั ตถุ เปลี่ ยนสีไปใช สี ตามเลเยอร เป าหมาย หากมี เครื่ องหมาย นําหน า Force object linetype

chap-12.PMD

362

13/10/2549, 1:33

กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ

363

BYLAYER

จะทํ า ให วั ต ถุ เ ปลี่ ยนไปใช รู ป แบบเส น ตามที่ กําหนดไว ในเลเยอรเปาหมาย หากปรากฏเครื่ องหมาย นําหน า Translate objects in blocks วัตถุที่ซอนอยูภายในบล็อคจะยาย เขาไปอยูในเลเยอรเปาหมายดวย หากมีเครื่องหมาย นําหนา Write transaction log โปรแกรมจะสรางไฟล .log ในโฟลเดอรเดียวกันกับ ไฟลแบบแปลนบันทึกการรายงานผลวาวัตถุในเลเยอรใดถูกเคลือ่ นยาย รูปที่ 12.36 ไปอยูในเลเยอรเปาหมาย หากปรากฏเครื่องหมาย นําหนา Show layer contents when selected เมื่อคลิกบนเลเยอรใด วัตถุที่อยูในเลเยอรจะปรากฏบนพืน้ ที่วาดภาพวัตถุที่อยู ในเลเยอรอื่นจะถูกซอน(ลักษณะเหมือนกับ Layer Walk ใน Express Tools) เราใช Selection Filter ในกรณีที่มี เลเยอรจํานวนมากเราสามารถเลือกเลเยอรโดยใชเงื่อนไขในการเลือก โดยพิมพตวั อักษรนําหนาชื่อเลเยอรแลวตาม ดวยเครือ่ งหมายดอกจันเขาไปในอิดทิ บอกซ Select อาทิ เชน H* เมือ่ คลิกปุม Select เลเยอรทมี่ ชี อ่ื ขึน้ ตนดวยตัวอักษร H ทั้งหมดจะถูกเลือก Translate ใชปุมนี้สําหรับเคลื่อนยายวัตถุที่อยูในเลเยอรทั้งหมดใน Old Layer Name ไปยังเลเยอรใหม New layer Name ที่ปรากฏในชองหนาตาง Layer Translation Mappings: Note

Layer Tranlator มีประโยชนในการแกไขเปลี่ยนแปลงเลเยอรจํานวนมากๆ ในไฟลแบบแปลนเกาๆ ที่เขียนโดยไมมีการกําหนดมาตรฐานชื่อของเลเยอรใหตรงกับมาตรฐานที่เราตองการ อาทิ เชน AIA (American Institute for Architecture) เปนตน

12.52 Tools4Customize4Interface | CUI AutoCAD 2006 มีการเปลีย่ นแปลงระบบการปรับแตงเมนูบาร ทูลบาร ปุมไอคอน ช็อทคัทเมนู คียบ อรดช็อทคัท แทปเบล็ทเมนู ปุม ตางๆ บนเมาสและอืน่ ๆ โดยไดมกี ารยกเลิกไฟล Acad.mnu, Acad.mns, Acad.mnc เปลีย่ นมาใช XML ไฟลฟอรแมต Acad.cui ซึง่ ถูกเก็บบันทึกอยูใ นโฟลเดอร C:\Documents and Settings\User name\Application Data\Autodesk\AutoCAD 2006\R16.2\enu\Support การสรางหรือแกไขเมนูบาร ทูลบาร ปุม ไอคอน ช็อทคัทเมนู คียบ อรดช็อทคัท แทปเบล็ทเมนู ปุม ตางๆ บนเมาสและอืน่ ๆ ไมจําเปนตองใชเทกซอดิ ทิ เตอร เชน Notepad เหมือนรีลสี กอนๆ เราสามารถใชคําสัง่ นีเ้ พียงคําสัง่ เดียวในการจัดการระบบเมนูและทูลบารทงั้ หมด และยังสามารถจัดการกับ เวิรค สเปส(Workspace)ไดอกี ดวย จึงทําใหการสรางและแกไขเมนูและทูลบารตา งๆ สามารถทําไดงา ยกวาในรีลสี กอนๆ เปนอยางมาก เนือ่ งจากผูใ ชโปรแกรมไมจําเปนตองทราบความหมายของรหัสตางๆ ในระบบเมนูและทูลบารมากนัก เพราะในการสรางหรือแกไขเมนูและทูลบาร เพียงแตใชเมาสคลิกและลากคําสัง่ ไปปลอยในหัวขอเมนูหรือทูลบารตา งๆ ไดอยางสะดวก หากเราสรางคําสั่งขึน้ มาใหม เราสามารถนําคําสั่งใหมนั้นไปใชงานในเมนูบาร ทูลบาร ปุมไอคอน ช็อทคัทเมนู คียบ อรดช็อทคัท แทปเบล็ทเมนู ปุม ตางๆ บนเมาสและอืน่ ๆ ไดทงั้ หมด ไมมกี ารกําหนดเฉพาะเจาะจง สําหรับเมนูหรือทูลบารเปน Section เหมือนรีลสี กอนๆ จึงเปนการงายทีจ่ ะสรางเมนูบารหรือทูลบารใหมขนึ้ มาใชงานใน AutoCAD 2006 Note

ถึงแมวา ไฟล Acad.cui จะเปนแอสกีเ้ ทกซไฟลซงึ่ สามารถใชโปรแกรม Notepad เปดออกมาใชงานได เราไมควรใชวธิ นี ี้ในการสรางหรือแกไขเมนูหรือทูลบารเหมือนในรีลีสกอนๆ เพราะจะทําใหไฟลเมนู .cui เสียหายและไมสามารถใชการตอไปได

หากตองการสรางหรือแกไขเมนูบาร ทูลบาร ปุม ไอคอน ช็อทคัทเมนู คียบ อรดช็อทคัท แทปเบล็ทเมนู สกรีนเมนู อิมเมจเมนู ปุม ตางๆ บนเมาสและอืน่ ๆ นอกจากนี้ หากตองการสรางคําสัง่ ใหมหรือแกไขคําสัง่ ทีม่ อี ยูแ ลวหรือเคลือ่ นยาย หรือคัดลอกคําสั่งจากเมนูหนึ่งไปยังอีกเมนูหนึ่ง เราสามารถเรียกคําสั่งนี้ออกมาใชงาน จะปรากฏไดอะล็อค Customize User Interface ดังรูปที่ 12.37

chap-12.PMD

363

13/10/2549, 1:33

364

2D Drafting

รูปที่ 12.37

จากรูปที่ 12.37 ในแถบรายการ Customization in All CUI files (1) จะแสดงรายชื่อไฟลกลุมเมนูทั้งหมดที่ โปรแกรมโหลดหรือเคยโหลดเขามาใชงาน อาทิ เชน เมนูหลัก Acad.cui และกลุม เมน ู อนื่ ๆ อาทิ Acetmain.cui (กลุม เมนู Express Tools) 3dmodeling.cui (กลุม ทูลบาร 3D Modeling) หากตองการแสดงเมนูกลุม ใด ใหเลือกชือ่ ไฟล .cui ของเมนูกลุม นัน้ จากแถบรายการนี้ โดยทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาให ไฟล Acad.cui จะถูกกําหนดใหเปนไฟลใชงาน และจะปรากฏ All Customization Files จากแถบรายการนี้ เมื่อเลือกไฟล .cui จากแถบรายการ Customization in All CUI files (1) จะปรากฏโครงสรางเวิรคสเปสและเมนูตา งๆ ในชองหนาตาง (2) ในชองหนาตางนี้ จะแสดงโครงสราง เวิรค สเปส(Workspaces) โครงสรางทูลบาร(Toolbars) โครงสรางเมนูบาร(Menu) โครงสรางช็อทคัทเมนู(Shortcut Menus) โครงสรางคียบอรดช็อทคัท(Keyboard Shortcuts) โครงสรางปุมของเมาส(Mouse Buttons) โครงสราง AutoLISP ทีโ่ หลดเขามาใชงาน(LISP Files) โครงสรางแทปเบล็ทเมนู(Tablet Menus) ปุม แทปเบล็ท(Tablet Buttons) สกรีนเมนู(Screen Menus) อิมเมจเมนู(Image Tile Menus) และโครงสรางกลุมเมนูที่โหลดเพิ่มเขามาใชงาน(Partial CUI Files) แถบรายการ Categories (3) จะเปนตัวกรองใหแสดงคําสัง่ ตางๆ ทีอ่ ยูใ นกลุม เมนูทปี่ รากฏในแถบรายการ นี้ โดยทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาให จะปรากฏ All Commands บนแถบรายการซึง่ แสดงใหเราทราบวาจะแสดงคําสัง่ ตางๆ ทั้งหมดจากกลุมเมนูทุกกลุม ที่โหลดเขามาใชงานใน AutoCAD คําสัง่ ทั้งหมดทีเ่ ลือกจากแถบรายการ Categories จะ ปรากฏในชองหนาตาง (4) เมื่อเราเลือกหัวขอเมนูหรือคําสั่งในชองหนาตาง (2) หรือเลือกคําสั่งจากชองหนาตาง (4) จะปรากฏคุ ณสมบัติ (Properties)ของวัตถุที่ ถู กเลือกบนชองหนาตาง (5) เราสามารถแกไขคุณสมบั ติต างๆ ของคําสั่งตางๆ ได หากเราตองการสรางทูลบารใหม ใหคลิกขวาบนหัวขอ Toolbars แลวเลือกคําสัง่ New4Toolbar ดังรูปที่ 12.38 (ซาย) จะปรากฏชื่อทูลบาร ใหม Toolbar1 ซึ่งโปรแกรมกําหนดมาให หากตองการสรางเมนูคอลัมนใหม ใหคลิก ขวาบนหัวขอ Menus แลวเลือกคําสัง่ New4 Menu ดั ง รู ป ที่ 12.38 (ขวา) จะปรากฏ เมนู คอลั ม น ใหม ชื่ อ Menu1 ต อจากเมนู รูปที่ 12.38 คอลั มน Help เราสามารถเปลี่ ยนชื่ อใหม หรือยอมรับชื่อที่โปรแกรมกําหนดมาให

chap-12.PMD

364

13/10/2549, 1:33

กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ

365

เมือ่ เราไดสรางทูลบารใหมหรือสรางเมนูคอลัมนใหมขนึ้ มาแลว เราสามารถนําคําสั่งตางๆ ที่ปรากฏในชองหนาตาง (4) เขามาใชงานในทูลบารใหมและเมนูคอลัมนใหมไดตามตองการ โดยเพียงคลิกและลากคําสัง่ ใดๆ ทีป่ รากฏในชอง หนาตาง (4) ไปปลอยบนชือ่ ทูลบารหรือเมนูคอลัมนใดๆ ที่ปรากฏอยูใ นชองหนาตาง (2) ไดตามตองการ หากตอง การสรางคําสัง่ ใหม ใหคลิกบนปุม New ดานขวาของแถบรายการ Categories จะปรากฏ Command1 ในชองหนาตาง (4) และจะปรากฏคุณสมบัติตางๆ ของคําสั่ง Command1 ดังรูปที่ 12.39 ใหแกไขชื่อคําสั่งในอิดิทบอกซ Name แลวพิมพคําสัง่ อาทิ เชน ^C^C_LIMITS;0,0;\ZOOM;A;GRID;ON เขาไปในอิดิทบอกซ Macro เลือก รู ปไอคอนที่ มีอยู แล วหรื อแกไขรูปไอคอน เพื่ อ สรางไอคอนใหมจาก Button Image รูปไอคอน จะปรากฏในอิ ดิ ทบอกซ Small image และ Large image เมื่ อสรางคําสั่ งใหมและกําหนด คุณสมบัตขิ องคําสั่งเรียบรอยแลว เราสามารถคลิก และลาก Command1 จากช องหน าตาง (4) ไป ปล อ ยบนทู ล บาร ห รื อ เมนู บ าร ห รื อ เมนู อื่ นๆ บนชองหนาตาง (2) ไดตามตองการ แลวคลิกปุม รูปที่ 12.39 Apply และ OK คําสั่ งใหมจะปรากฏบนทูลบาร หรือเมนูบารที่ตองการ

chap-12.PMD

Note

กอนที่จะเริ่มสรางหรือแกไขเมนูและทูลบาร เราควรที่จะสํารอง(Backup)ไฟล Acad.cui เก็บไวกอน เพราะถาหากมีการผิดพลาด เราจะสามารถคัดลอกไฟล Acad.cui ไปแทนที่ไฟลที่เกิดการผิดพลาดได เพื่อทีเ่ ราจะไดไมตอ งเสียเวลาในการติดตั้งโปรแกรมใหม

Note

ถึงแมวาจะมีการยกเลิกการใชงานไฟล Acad.mnu, Acad.mns, Acad.mnc เราสามารถ Import เขามา ใชงานระบบเมนูใหมใน AutoCAD 2006 ได

Note

หากเราตองการโหลดกลุมเมนูที่ถกู บันทึกไวในไฟล .cui อาทิ เชน Acetmain.cui ของ Express Tools เขามาใชงานรวมกับกลุมเมนู Acad.cui ใหคลิกขวาบน Partial CUI Files แลวเลือกคําสั่ง Load partial customization file เราสามารถเลือกโหลดไฟล .cui หรือไฟล .mns หรือ .mnu จาก AutoCAD รีลสี กอน ไดตามตองการ

Note

หากเมื่อใดก็ตามที่เมนูบารหายไปทั้งหมด ไมวาจะเกิดจากสาเหตุใดก็ตาม เราสามารถเรียกเมนูหลัก ของ AutoCAD 2006 และเมนูคอลัมน อื่นๆ กลับมาใชงานไดโดยพิมพคําสั่ง MENULOAD ผาน คียบอรด จะปรากฏไดอะล็อค Load/Unload Customizations คลิกบนปุม Browse คนหาไฟล Acad.cui จาก โฟลเดอร C:\ Documents and Settings\User name\Application Data\Autodesk\AutoCAD 2006\ R16.2\enu\Support คลิกชือ่ ไฟล Acad.cui คลิกปุม Open แลวคลิกปุม Load เมนูบารและทูลบารทหี่ ายไป ทั้งหมดจะกลับมาปรากฏ เราจะสามารถเรียกคําสั่งตางๆ ออกมาใชงานไดเชนเดิม

Note

หากไม จําเป น เราไมควรที่ จะใชคําสั่ ง MENULOAD นี้ เพราะอาจจะทําให เราไม สามารถเรียก โปรแกรมเสริมบางโปรแกรมทีต่ ดิ ตัง้ เพิม่ เติมไวกลับคืนมาได ซึง่ ถาหากไมมีแผนดิสคตน ฉบับสําหรับ ติดตั้งของโปรแกรมเสริมเหลานั้น อาจจะเปนการยุงยากในการเรียกโปรแกรมเสริมกลับมาปรากฏ บนเมนูบารได

365

13/10/2549, 1:33

366

12.53 Tools4Customize4Tool Palettes | CUSTOMIZE

2D Drafting

ดูวธิ กี ารใชคําสัง่ นีใ้ นการแกไขปรับแตงทูลพาเลท(Tool Palettes)ในบทที่ 11 หัวขอ 11.2

12.54 Tools4Customize4Import Customization | CUIIMPORT หากเรามีการปรับแตงแกไขเพิม่ เติมเมนูบาร ทูลบารและเมนูอนื่ ๆ ใน AutoCAD รีลสี กอนๆ ซึง่ บันทึกเก็บไวในไฟล .mnu หรือ .mns หรือถาหากเรามีการปรับแตงแกไขเพิม่ เติมเมนูบาร ทูลบารและเมนูอื่นๆ ใน AutoCAD 2006 แตอยูใน คอมพิวเตอรเครือ่ งอืน่ เราสามารถนําเมนูบาร ทูลบารและเมนูอนื่ ๆ สวนทีแ่ กไขเพิม่ เติมเหลานัน้ เขาไปเก็บไวในไฟล .cui อีกไฟลหนึง่ ได เมือ่ เรียกคําสัง่ นีอ้ อกมาใชงาน จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.40

รูปที่ 12.40

คลิกบนปุม (Open customization file) ของชองหนาตางทางดานซาย เพือ่ โหลดไฟล .cui, .mns, .mnu ทีม่ กี ารแกไข เพิ่มเติมคําสั่งเขามาใชงาน (หากตองการโหลดไฟล .mns หรือ .mnu ใหเลือก Menu Files จากแถบรายการ Files of type) คลิกบนปุม (Open customization file) ของชองหนาตางทางดานขวา เพื่อโหลดไฟล .cui, .mns, .mnu เปาหมายทีต่ องการนําคําสัง่ ทีไ่ ดรบั การแกไขเพิม่ เติมจากไฟลทปี่ รากฏในชองหนาตางดานซายเขามาใชงาน แลวคลิก บนเครื่องหมาย + ของหัวขอ Toolbars, Menus, Shortcut Menus และอื่นๆ แลวคนหาคําสั่งที่มกี ารแกไขเพิ่มเติม แลวคลิกและลากทูลบารหรือเมนูไปปลอยในหัวขอเดียวกันในชองหนาตางดานขวา แลวคลิกบนปุม (Save the current customization file) ของหนาตางทางดานขวา เพื่อบันทึกการเปลีย่ นแปลงเพิ่มเติมในไฟล Note

คําสัง่ นีส้ ามารถใชไดทงั้ การนําเขาและสงออกทูลบาร เมนูบารและเมนูอนื่ ๆ จากไฟลหนึง่ ไปยังอีกไฟล หนึง่ ได

12.55 Tools4Customize4Export Customization | CUIEXPORT คําสัง่ นีเ้ หมือนกับคําสัง่ Tools4Customize4Import Customization ทุกประการ เพราะเราสามารถใชคําสัง่ นีใ้ น การนําเขา(Import)หรือสงออก(Export)หรือสามารถแลกเปลี่ยนทูลบาร เมนูบารและเมนูอื่นๆ ระหวางไฟล .cui ทีป่ รากฏในชองหนาตางทัง้ สองได

12.56 Tools4Customize4Edit Program Parameters ใชคําสั่งนีส้ ําหรับแกไขเพิม่ เติมคําสั่งยอ เพือ่ ที่จะเราจะสามารถพิมพตวั อักษรเพียง 1 หรือ 2 หรือ 3 ตัวผานคียบ อรด เพือ่ เรียกคําสัง่ เต็มของ AutoCAD ออกมาใชงาน เมือ่ เรียกคําสัง่ นีอ้ อกมาใชงาน จะปรากฏหนาตาง Notepad เปดไฟล Acad.pgp ซึง่ เก็บบันทึกคําสั่งยออยูในโฟลเดอร C:\Documents and Settings\User name\Application Data\ Autodesk\AutoCAD 2006\R16.2\enu\Support ดังรูปที่ 12.41

chap-12.PMD

366

13/10/2549, 1:33

กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ

367

ภายในไฟล Acad.pgp คําสัง่ ยอจะปรากฏเปนตัวอักษรยอ 1 หรือ 2 หรือ 3 หรือมากกวานัน้ ตามดวยเครือ่ งหมายคอมมา , แลวเวนวรรคพอสวย งาม ตามดวยเครือ่ งหมายดอกจัน * ตามดวยคําสัง่ เต็มทีต่ อ งพิมพผา น คียบ อรด ในการสรางคําสัง่ ยอใหม เราจะตองแนใจวาตัวอักษรยอทีจ่ ะ ใชงานนั้น ไมซ้ํากับตัวอักษรยอทีไ่ ดกาํ หนดใหกับคําสั่งตางๆ ไปแลว หากตองการใชตัวอักษรยอใด ควรใชคําสั่ง Edit4Find แลวพิมพ ตัวอักษรยอทีเ่ ราจะใชงานเขาไปในอิดทิ บอกซ Find what เพือ่ ตรวจสอบ วาตัวอักษรยอที่เราจะใชงานมีการกําหนดใหกับคําสั่งใดแลวหรือไม ในการสรางตัวอักษรยอเราสามารถใชตวั อักษรหรือตัวเลขหรือตัวอักษรและ ตัวเลขในการสรางคําสัง่ ยอได หากเราไมพอใจคําสัง่ ยอทีโ่ ปรแกรมสราง รูปที่ 12.41 มาให อาทิ เชน คําสัง่ ยอ MI ใชเรียกคําสัง่ MIRROR เราตองการเพิม่ คําสัง่ ยอ MR ใหเรียกคําสัง่ MIRROR เชนเดียวกัน เราสามารถพิมพเพิม่ โดยสอดแทรกบรรทัด MR, *MIRROR เขาไป ณ ตําแหนงใดๆ ในไฟล Acad.pgp นีไ้ ด แตทางทีด่ คี วรสอดแทรกโดยเรียงลําดับบรรทัดตามตัวอักษรยอ เพือ่ ใหสะดวก ในการตรวจสอบและแกไข หากเราตองการเปลี่ยนแปลงตัวอักษรยอของคําสั่งใด เราสามารถลบตัวอักษรยอเดิม ของคําสัง่ ทีต่ อ งการแกไข แลวพิมพตวั อักษรยอใหมไดตามตองการ แตตอ งแนใจ วาตัวอักษรยอไมซา้ํ กับตัวอักษรยอ ทีก่ ําหนดใหกบั คําสัง่ อืน่ ๆ ไปแลว เมือ่ ไดแกไข เพิม่ เติมคําสัง่ ยอในไฟล Acad.pgp แลว ใหใชคําสัง่ File4Save เพือ่ บันทึกการ เปลีย่ นแปลง แลวปดหนาตาง Notepad กลับสูหนาตาง AutoCAD แลวพิมพ REINIT ผานบรรทัด Commad: เมือ่ ปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.42 คลิกใหปรากฏ เครื่องหมาย บนเช็คบอกซ PGP File เราจะสามารถใชงานคําสัง่ ยอไดทันที รูปที่ 12.42

12.57 Tools4Options | OPTIONS | OP ใชคําสัง่ นีใ้ นการปรับแตงตัวเลือกตางๆ ซึง่ ใชเปนคาเริม่ ตนในการทํางานของ AutoCAD 2006 อาทิ เชน การกําหนด โฟลเดอรสาํ หรับจัดเก็บไฟลฟอรแมตตางๆ การกําหนดคาพารามิเตอรตา งๆ การแสดงผลบนพืน้ ทีว่ าดภาพ การเปดและ บันทึกไฟล การพิมพแบบแปลนการตัง้ คาเริม่ ระบบ การกําหนดคาตางๆ สําหรับผูใ ชโปรแกรม การกําหนดรูปแบบของ ออโตสแนป การกําหนดวิธเี ลือกวัตถุ การกําหนดรูปแบบของไดนามิกอินพุท การสรางโปรไฟลสาํ หรับผูใ ชโปรแกรม แตละคน เปนตน เมือ่ ใชคําสัง่ นีจ้ ะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.43

Support File Search Path

คือโฟลเดอร สําหรับการค นหา ไฟลสนับสนุนตางๆ อาทิ เชน ไฟลที่จําเปนตอการทํางานของ AutoCAD ฟอนท ไ ฟล ไฟล แสดงข อความชวยเหลื อ(Help file) และอื่ นๆ เป น ต น

Working Support File Search Path คือโฟลเดอรใช งานที่ สามารถใช งานได ตามที่ ระบุใน Support File Search Path

Device Driver File Search Path คื อโฟลเดอร เก็บบั นทึ ก

รูปที่ 12.43

chap-12.PMD

367

13/10/2549, 1:33

368

ไดรฟเวอรไฟลเครื่องพิมพ Project File Search Path คือโฟลเดอรที่ใชจัดเก็บไฟลแบบแปลนของโปรเจกท Customization file คือโฟลเดอรทจี่ ัดเก็บไฟลเมนูหลัก Acad.cui Help, and Miscellaneous File Names คือโฟลเดอรเก็บบันทึกเมนูไฟลชวยเหลือทีอ่ ยู Url ใน อินเตอรเนตคอนฟกเกอเรชั่นไฟลและอืน่ ๆ Text Editor, Dictionary, and Font File Names คือโฟลเดอรและชื่อของเทกซอิดิทเตอรที่ใชกบั คําสั่ง MTEXT เราสามารถ ระบุดกิ ชันเนอรีห่ ลักและดิกชันเนอรีฉ่ บับปรับปรุง ระบุฟอนทไฟลสํารองและอืน่ ๆ Print File, Spooler, and Prolog Section Names ระบุชื่อพล็อทไฟล .plt ระบุชื่อโปรแกรมแอพพลิเคชั่นที่จะใชเปนพริ้นทสปูลลิง่ (Print spooling) ระบุชื่อโพสคริบทไฟล .psf ซึง่ ใชกับคําสั่ง PSOUT Printer Support File Path คือโฟลเดอรไฟล สนับสนุนในการพิมพ Print Spooler File Location คือโฟลเดอรสําหรับเก็บไฟลชั่วคราวบันทึกการพิมพ Printer Configuration Search Path คือโฟลเดอรสําหรับจัดเก็บไฟล .pc3 ควบคุมคอนฟกเกอเรชั่นของเครื่องพิมพ Printer Description File Search Path คือโฟลเดอรสําหรับจัดเก็บไฟล .pmp เก็บบันทึกการปรับแตงคอนฟกเกอเรชัน่ ของ เครือ่ งพิมพ Plot Style Table Search Path คือโฟลเดอรจัดเก็บไฟล .ctb และ .stb ควบคุมคุณสมบัตขิ องเสนในการพิมพ Automatic Save File Location คือโฟลเดอรทจี่ ัดเก็บไฟลที่โปรแกรมบันทึกใหโดยอัตโนมัติ Color Book Location คือโฟลเดอรทจี่ ัดเก็บไฟลสมุดเก็บบันทึกรหัสสีตา งๆ Data Sources Location คือโฟลเดอรในการ คนหาไฟลฐานขอมูล(Database) Template Settings คือโฟลเดอรที่บรรจุไฟลเทมเพล็ท(Template)ตนแบบ Drawing Template File Location คือโฟลเดอรทใี่ ชจัดเก็บไฟลตน แบบ .dwt ซึง่ ใชเปนไฟลสําหรับเก็บบันทึกตาราง รายการแบบและใชเปนไฟลตน แบบทีเ่ ก็บบันทึกคาเริ่มตนตางๆ ในการเริ่มไฟลแบบแปลนใหม Sheet Set Template File Location คือโฟลเดอรที่ใชสําหรับจัดเก็บเทมเพล็ทไฟลหรือตารางรายการแบบสําหรับใชงานรวมกับ Sheet Set Manager โดยทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาใหจะอยูใ นโฟลเดอรเดียวกันกับ Drawing Template File Location สวน Default Template File Name for QNEW คือไฟลเทมเพล็ท .dwt ที่เก็บคาเริ่มตนตางๆ ที่โหลดโดยอัตโนมัติเมื่อใชคําสั่ง Default Template Sheet Creation and Page Setup Overrides คือไฟลเทมเพล็ท .dwt ทีเ่ ก็บคาเริ่มตน File4New ตางๆ ทีโ่ หลดโดยอัตโนมัตเิ มือ่ ใชคําสัง่ New Sheet Tool Palettes File Locations คือโฟลเดอรทจี่ ดั เก็บไฟลตางๆ ที่เกี่ยวของกับทูลพาเลท Authoring Palettes File Locations คือโฟลเดอรที่จัดเก็บไฟลตางๆ ที่เกี่ยวของกับ การปรับแตงทูลพาเลท Log File Location คือโฟลเดอรที่จัดเก็บหรือบันทึกประวัติหรือล็อกไฟล (Log) Plot and Publish Log File Location คือโฟลเดอรทจี่ ัดเก็บหรือบันทึกประวัตหิ รือล็อกไฟล(Log)บันทึก การพิมพ Temporary Drawing File Location คือโฟลเดอรที่ AutoCAD เขียนไฟลชั่วคราว Temporary External Reference File Location คือโฟลเดอรที่ AutoCAD จะเก็บบันทึกไฟลเอกซเรฟชั่วคราว โฟลเดอรนี้ จะถูกใชงาน เมื่อเราเลือก Enable with copy ของตัวเลือก Demand load Xrefs ของแถบคําสั่ง Open and Save Texture Maps Search Path คือโฟลเดอรที่ AutoCAD จะคนหาไฟลรูปบิทแม็ปที่ใชในการเรนเดอรภาพ 3 มิตแิ บบเหมือน จริง I-drop Associate File Location คื อโฟลเดอร ที่ จัดเก็ บไฟล .dwg ที่ คลิกและลากจากเวบไซต ตางๆ ใน อินเตอรเนตที่สนับสนุน I-Drop Browse ใชปมุ นี้สําหรับเปลี่ยนไดรฟและคนหาโฟลเดอรที่ตอ งการ Add ใชปุม นีส้ ําหรับเพิม่ โฟลเดอรใหม Remove ใชปมุ นีส้ ําหรับลบโฟลเดอร Move Up ใชปุมนี้สําหรับเลือ่ นลําดับโฟลเดอร ขึน้ Move Down ใชปมุ นีส้ ําหรับเลือ่ นลําดับโฟลเดอรลง Set Current ใชปมุ นีส้ ําหรับกําหนดโฟลเดอรใชงานของ Project และ Dictionary

2D Drafting

chap-12.PMD

Note

ปุม Move Up และ Move Down จะใชงานไดก็ตอเมื่อมีโฟลเดอรตั้งแตสองโฟลเดอรขึ้นไป โดยปกติ AutoCAD จะคนหาไฟลในโฟลเดอรที่อยูบนกอนเสมอ หากคนหาไฟลในโฟลเดอรที่อยูเหนือกวา ไมพบจึงจะคนหาไฟลในโฟลเดอรทอี่ ยูตํา่ กวา

Note

ถึงแมวา โฟลเดอรบรรจุไฟลตา งๆ ทีเ่ กีย่ วของกับ AutoCAD 2006 ทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาใหนจี้ ะสามารถ แกไขเปลีย่ นแปลงได อยางไรก็ตาม หากไมมคี วามจําเปนก็ควรจะใชโฟลเดอรทโี่ ปรแกรมกําหนดมาให นอกเสียจากวาเราจําเปนจะตองเพิม่ โฟลเดอร ใหมเพื่อบอกให AutoCAD ไปคนหาไฟล ที่ไมไดอยูใ น โฟลเดอรที่ AutoCAD กําหนดมาให

368

13/10/2549, 1:33

กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ

369

Window Element ใช

เช็คบอกซในกลุมนี้ สําหรับปรับ แต ง รู ป แบบอิ น เตอร เ ฟสของ AutoCAD หากปรากฏ เครื่ องหมาย บนเช็ คบอกซ

Display scroll bars in drawing window จะปรากฏ

สค รอ ลบา ร แน วนอ นแ ละ แนวตั้ง เพื่อใชสําหรับการเลื่อน พื้ นที่ วาดภาพในแนวนอนและ แนวตั้ง หากปรากฏเครื่องหมาย บนเช็ คบอกซ Display screen menu จะปรากฏสกรีน รูปที่ 12.44 เมนู ห รื อเมนู คําสั่ ง ที่ ขอบด าน ขวาของพื้นที่วาดภาพ หากปรากฏเครื่องหมาย บนเช็คบอกซ Use large button for Toolbars ปุมไอคอนจะ ปรากฏเปนปุมขนาดใหญ หากปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Show ToolTips จะปรากฏคําแนะนําทูลทิพบน ปุมไอคอน เมือ่ เลื่อนเคอรเซอรไปบนปุมไอคอน หากปรากฏเครื่องหมาย บนเช็คบอกซ Show shortcut keys ToolTips จะปรากฏคียบอรดช็อทคัทบนทูลทิพ หากคลิกบนปุม Color เราสามารถใชปมุ นี้สําหรับกําหนดสีของ พื้นทีว่ าดภาพในโมเดลสเปส เลเอาทเปเปอรสเปสและสวนประกอบตางๆ เมือ่ คลิกปุม นี้จะปรากฏไดอะล็อคแสดง ตัวอยางจอภาพของ Model Tab และ Layout Tab เราสามารถเลือกสวนทีต่ อ งการปรับแตงสีใน Element หรือใชเมาส คลิกบนรูปตัวอยางจอภาพ แลวเลือกสีทตี่ องการในแถบรายการ Color เราใชปมุ Fonts สําหรับเลือกฟอนทตวั อักษร สําหรั บบรรทั ดป อนคําสั่ ง หากต องการให บรรทั ดป อ นคําสั่ งสามารถแสดงตั วอั กษรภาษาไทยได เราจะต อง ดาวนโหลด Fixed-Width Font ภาษาไทย แลวติดตั้ง Fonts นั้นเขากับระบบปฏิบัติการวินโดว จึงจะสามารถเลือก ฟอนทภาษาไทยโดยใชปมุ นี้ได (ดาวนโหลดฟอนทภาษาไทย Fixed-Width Font สําหรับบรรทัด Command: ไดทนี่ ี่ http://software.thai.net/tis-620/courierthai.html) Layout elements ใชตัวเลือกในกลุม นีค้ วบคุมการใชงานเลเอาท ในเปเปอรสเปส Display Layout and Model tabs เปด/ปดโหมดแสดงแถบเลเอาท Display printable area เปด/ปดโหมดแสดงพื้นที่ที่สามารถพิมพไดของเครื่องพิมพ Display paper backgrounds แสดงขอบ กระดาษของเลเอาทในเปเปอรสเปสและใช Display paper shadow เพือ่ แสดงเงาของขอบกระดาษ Show Page Setup Manager for new layouts หากปรากฏเครือ่ งหมาย จะปรากฏไดอะล็อค Page Setup Manager ทุกครัง้ ทีม่ ี การสรางเลเอาทใหม Create viewport for new layouts เมื่อปรากฏเครื่องหมาย โปรแกรมจะสรางวิวพอรท ใหมใหโดยอัตโนมัติทกุ ครั้งที่มีการสรางเลเอาทใหม Crosshair size ใชปรับขนาดของเคอรเซอรครอสแฮรเปน เปอรเซนตเทียบกับขนาดของพื้นที่วาดภาพ Display Resolution ใชตวั เลือกในกลุมนีส้ ําหรับควบคุมคุณภาพการ ปรากฏของวัตถุบนพื้นที่วาดภาพ Arc and circle smoothness ควบคุมความราบเรียบของสวนโคงของวงกลม เสนโคงและวงรี หากกําหนดคามากจะทําใหวัตถุโคงปรากฏมีความราบเรียบ แตจะทําใหการรีเจน(Regen)หรือการ คํานวณภาพใหมใชเวลาเพิ่มขึ้น คาทีส่ ามารถใชงานไดอยูระหวาง 1 ถึง 20,000 การปรับคานี้เหมือนกับการใชคําสั่ง VIEWRES Segments in polyline curve กําหนดจํานวนเซกเมนตหรือสวนของเสนตรงที่ตอ งการใหปรากฏบน เสนโพลีไลนทเี่ ปนสวนโคง Render object smoothness ควบคุมความราบเรียบของสวนเวาและสวนโคงของ โซลิด 3 มิติ ซึ่งจะมีผลเมื่อทําการซอนเสน(Hide), เชด(Shade)หรือเรนเดอรซึ่งเปนตัวเดียวกันกับตัวแปรระบบ FACETRES Contour lines per surface กําหนดจํานวนเสนคอนทัวรบนโซลิด 3 มิติ Display performance ใชตัวเลือกในกลุม นี้ในการควบคุมความเร็วในการแสดงผล Pan and zoom with raster image หากปรากฏ เครื่องหมาย หนาเช็คบอกซนี้เราจะสามารถมองเห็นรูปบิทแม็ปในขณะกําลังใชคําสั่ง Realtime ZOOM หรือ

chap-12.PMD

369

13/10/2549, 1:33

370

Realtime PAN Highlight raster image frame only เมื่อปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซนี้กรอบรูป บิทแม็ปจะถูกไฮไลทเมือ่ รูปบิทแม็ปถูกเลือก Apply solid fill เมื่อปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซนี้ เสน โพลีไลนที่มีความหนา โดนัท มัลติไลนและโซลิด 2 มิติจะถูกระบายสีเหมือนกับการใชคําสั่ง FILL Show text boundary frame only เมื่อปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซน้ี ตัวอักษรตางๆ จะปรากฏเพียงกรอบสี่เหลี่ยม ผืนผาเหมือนการใชคําสั่ง QTEXT Show silhouettes in wireframe ควบคุมการแสดงผลใหปรากฏเฉพาะเสน ขอบรูปโซลิดจะไมปรากฏเสนทะแยงระหวางผิวหนาของโซลิดทีม่ ผี วิ โคงเหมือนกับตัวแปร DISPSILH Reference Edit fading intensity ควบคุมความเขมของสีของวัตถุที่ไมไดถูกเลือกสําหรับการปรับแตงแกไขดวยคําสั่ง In-place Xref and Block Edit

2D Drafting

File Save ใชตวั เลือกในกลุม

นี้ ในการกํ าหนดรู ป แบบใน การบันทึกไฟลลงดิสค Save As โดยที่ โปรแกรมกําหนด มาให แถบรายการนี้ แสดง ฟอร แ มต AutoCAD 2004 Drawing (*.dwg) ซึ่ งเป น ฟอรแมตที่ AutoCAD 2006 จะ บั นทึ กไฟล แบบแปลน .dwg ลงดิสค ซึง่ จะใชฟอรแมตนีเ้ มือ่ มีการใชคําสัง่ File4Save As เราใช ปุ ม Thumbnail Preview Settings ในการ กํ าหนดรู ป แบบของรู ป ภาพ

รูปที่ 12.45

ตัวอยางของแบบแปลน เมือ่ คลิกบนปุม นีจ้ ะปรากฏไดอะล็อคแสดงเช็คบอกซ Save a thumbnail preview image และบน ซึ่งใชบันทึกรูปภาพตัวอยาง(Preview)ของแบบแปลนในหนาตาง Preview ของคําสั่ง File4Open DesignCenter และบน Windows Explorer เช็ คบอกซ

Generate Sheet, Sheet View and Model View Thumbnails ใชสําหรับเปด/ปดการสรางภาพแบบแปลน

ตัวอยางบนหนาตางของ Sheet Set Manager ในแถบคําสัง่ Sheet View, View List และแถบคําสั่ง Resource Drawings โดยเรา สามารถเลือกอับเดทดวยตนเอง(Update thumbnails manually) หรืออับเดทเมือ่ เขาสูช ที เซท(Update thumbnails when access) หรืออับเดทเมื่อบันทึกแบบแปลน(Update thumbnails when saving drawing) เราใช Incremental save percentage เพือ่ กําหนดค าเปอร เซนตของพื้ นที่ ที่ บันทึ กไฟล แบบแปลนลง รูปที่ 12.46 ดิสค เมื่อกําหนดคาเปอรเซนตการบันทึกไฟลสูง(Quick save หรือ qsave) ไฟล .dwg จะมีขนาดใหญกวาทีเ่ ปนจริง แตการบันทึกไฟลจะใชเวลานอยมาก เมือ่ กําหนดคาเปอรเซนต การบั นทึกไฟลต่ํา(Full save) ไฟล จะมีขนาดเล็ กเท ากั บขนาดไฟลจริงๆ แตการบั นทึกไฟลจะใชเวลานานขึ้ น หากตองการใหไฟล .dwg มีขนาดเล็กที่สุด เราจะตองกําหนดคาเปอรเซนตการบันทึกไฟลใหเทากับ 0 (ศูนย) File Safety Precautions ใชตัวเลือกในกลุม นี้ เพือ่ ความปลอดภัยของขอมูลแบบแปลน Automatic save หากปรากฏ เครื่องหมาย หนาเช็คบอกซนี้ โปรแกรมจะบันทึกไฟลแบบแปลนใหเราโดยอัตโนมัติตามชวงเวลาที่ตั้งไวใน

chap-12.PMD

370

13/10/2549, 1:33

กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ

371

อิดิทบอกซ Minutes between saves Create backup copy with each save หากปรากฏเครื่องหมาย หนา เช็คบอกซนี้ โปรแกรมจะบันทึกไฟลแบบแปลนสํารอง .bak ใหเราโดยอัตโนมัติ ซึ่งถาหากไฟลแบบแปลน .dwg เสียหาย เราสามารถใช Windows Explorer เปลีย่ นนามสกุล(Rename)ไฟล .bak เปน .dwg เพื่อนํากลับมาใชงานได Full-time CRC validation หากปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซน้ี โปรแกรมจะตรวจสอบความผิดพลาด ของวัตถุทุกๆ ครั้งที่วตั ถุถูกโหลดเขามาใชงาน Maintain a log file หากปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซน้ี โปรแกรมจะบันทึกการใชคําสัง่ ตางๆ ในหนาตาง AutoCAD Text Window ลงใน Log file File extension for temoprary files กําหนดนามสกุลของไฟลชั่วคราว เพื่อใหผูใชสามารถแยกไฟลชั่วคราวของตนเองในระบบ Network Security Options ใชสําหรับกําหนดรหัสผาน(Password) ใชงานและแนบลายเซ็นตอเิ ล็คทรอนิคส(Digital Signature) เพื่อใหโปรแกรมกําหนดรหัสผานและลายเซ็นต อิ เล็ คทรอนิ คส ให กับไฟล แบบแปลน .dwg ทุ กไฟล โดย อัตโนมัติ โดยที่เราไมตองเสียเวลาปอนรหัสผานหรือแนบ (Attach)ลายเซ็นตอิเล็คทรอนิคสในไฟลแบบแปลน .dwg แตละไฟล Display digital signature information โปรแกรมจะแสดงขอมูลเกี่ ยวกั บลายเซ็นตอิเล็คทรอนิคส เมือ่ เราเปดไฟลทมี่ ีลายเซ็นตอิเล็คทรอนิคสทถี่ กู ตองกํากับอยู รูปที่ 12.47 File Open ใชตัวเลือกในกลุมนี้สําหรับกําหนดโหมดการ เปดไฟล Number of recently-used files to list ใชกําหนดจํานวนรายชือ่ ไฟลแบบแปลน .dwg ทีจ่ ะแสดงประวัติ การเปดไฟลบนสวนลางสุดของเมนูคอลัมน File เราสามารถกําหนดจํานวนไฟลสงู สุดได 9 ไฟล Display full path in title หากมีเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซน้ี จะปรากฏ Full path พรอมทัง้ แสดงชือ่ ไฟลแบบแปลนบน Title bar ของวินโดว External Reference (Xrefs) ใชตัวเลือกในกลุมนี้สําหรับกําหนดโหมดการโหลดไฟลเอกซเรฟ เมื่อตองการใชงาน Demand load Xrefs ใช Disabled ในการปดโหมดการโหลดเฉพาะเวลา เมือ่ ตองการใชงาน เราใช Enabled ในการเปดโหมดการโหลดเมื่อเวลาตองการใชงานไฟลเอกซเรฟ ผูใชไฟลเอกซเรฟคนอื่นจะไม สามารถแกไขไฟลแบบแปลนได เราใช Enabled with Copy ในการเปดโหมดการโหลดเฉพาะเวลาเมื่อตองการ ใชงานไฟลเอกซเรฟ โดยวิธคี ัดลอกไฟลทถี่ กู อางอิง ผูใ ชไฟลเอกซเรฟอืน่ ๆ สามารถแกไขไฟลแบบแปลนได Retain changes to Xref layers หากปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซน้ี เราสามารถบันทึกการแกไขลงบนคุณสมบัติ ของเลเยอรและเลเยอรทสี่ อดแทรกเขามากับไฟลเอกซเรฟ Allow other users to Refedit current drawing ยอมใหผู ใชเอกซเรฟคนอื่นๆ สามารถใชคําสั่ง In-place Xref and Block Edit กับไฟลแบบแปลนใชงานนี้ ได ObjectARX Applications ใชตัวเลือกในกลุมนี้สําหรับควบคุมโปรแกรมแอพพลิเคชั่น AutoCAD Runtime eXtension และ Proxy graphics Demand Load ObjectARX apps ใชแถบรายการนี้ เพื่อระบุวา AutoCAD จะ ทําการโหลดเมื่อตองการ ถาแบบแปลนนั้นมี Custom Object ที่ถกู สรางจากแอพพลิเคชัน่ นั้น เราใช Disable load on demand ในการปดโหมดการโหลดเมื่อตองการ เราใช Custom object detect สําหรับโหลดแอพพลิเคชั่น ที่สรางวัตถุทอี่ ยูในแบบแปลนที่เปดออกมาใชงาน เราใช Command invoke สําหรับโหลดแอพพลิเคชั่นตนฉบับ เมือ่ มีการใชคําสัง่ ใดๆ ของแอพพลิเคชัน่ เราใช Object detect and command invoke สําหรับโหลดแอพพลิเคชัน่ ที่สรางวัตถุที่อยู ในแบบแปลนที่เปดออกมาใชงานหรือโหลดแอพพลิเคชั่นตนฉบับ เมื่ อมีการใชคําสั่งใดๆ ของ แอพพลิเคชั่น Proxy images for custom objects ควบคุมการปรากฏของวัตถุทถี่ ูกปรับแตงในไฟลแบบแปลน เราใช Do not show proxy graphics เพื่อไมใหวตั ถุที่ถูกปรับแตงปรากฏ เราใช Show proxy graphics เพื่อ ใหวตั ถุที่ถูกปรับแตงปรากฏ เราใช Show proxy bounding box เพือ่ แสดงกรอบแทนวัตถุทถี่ ูกปรับแตง Show Proxy Information dialog box หากปรากฏเครือ่ งหมาย หนาเช็คบอกซน้ี AutoCAD จะแสดงไดอะล็อคเตือน ใหระวัง เมื่อเปดไฟลทมี่ ีวัตถุทถี่ ูกปรับแตง(Custom Object)

chap-12.PMD

371

13/10/2549, 1:33

372

Note

เนื่องจากรายละเอียดของแถบคําสั่ง Plotting เกี่ยวของโดยตรงกับการพิมพแบบแปลน ดังนั้น ผูเ ขียน จึงขอนําหัวขอในแถบคําสัง่ Plotting ไปรวมไวในบทที่ 16 การพิมพแบบแปลน

2D Drafting

Current 3D Graphics Display ใชตั วเลือกในแถบ

ร า ย ก า ร นี้ สํ า ห รั บ เ ลื อ ก ไดรฟ เ วอร ควบคุ มการแสดง ผลใน 3 มิติ เมือ่ เลือกไดรฟเวอร แลวคลิกบนปุ ม Properties จะปรากฏไดอะล็ อคแสดงตั ว เลื อ กควบคุ ม การแสดงผลใน โหมด 3 มิติ เพือ่ ใหเราสามารถ ปรั บแต งประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด ของการดแสดงผลนั้น เมื่อเขา ไปในไดอะล็อค 3D Graphic Sytem Configuration ควรคลิก รูปที่ 12.48 ใหปรากฏเครื่องหมาย หนา เช็คบอกซ Render Options, Enable Light, Enable Materials, และ Enable Textures เพือ่ เพิ่มคุณภาพของภาพ 3 มิติ ในการแสดงแสงจากดวงไฟและเทกซเจอรแม็ปใหปรากฏในโหมด Shade โดยที่ไมจําเปนตองใชคําสั่ง Render Current Pointing Device ใชแถบรายการนี้สําหรับเลือกเมาสหรือดิจิไตเซอร โดยที่โปรแกรมกําหนดมาให Current System Pointing Device หากตองการใชดจิ ิไตเซอรตอ งติดตัง้ Wintab ไดรฟเวอรผา นระบบปฏิบตั กิ ารวินโดว เสียกอน จึงจะปรากฏชื่ อไดรฟเวอรบนแถบรายการนี้ เมื่ อเลื อกไดรฟเวอรแลว เราสามารถเลือกที่ จะใชเฉพาะ ดิจิไตเซอร Digitizer only หรือใชทงั้ เมาสและดิจไิ ตเซอร Digitizer and mouse Layout Regen Options ใชตวั เลือก กลุมนี้ควบคุมการคํานวณภาพใหมเมื่อมีการเปลีย่ นจาก Model tab ไปยัง Layout tab หรือจาก Layout หนึ่งไปยังอีก Layout หนึ่ง Rengen when switching layouts ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนจาก Layout หนึ่งไปยัง Model หรืออีก Layout หนึ่ง โปรแกรมจะคํานวณภาพใหม การทํางานในโหมดนี้จะชามาก เพราะจะมีการคํานวณภาพแบบแปลน ใหมทุกครัง้ Cache model tab and last layout เก็บภาพแบบแปลนใน Model และ Layout สุดทายเขาไปไวใน หนวยความจํา เพือ่ ไมตองมีการคํานวณ (Regen)ภาพใหม Cache model tab and all layouts เก็บภาพแบบแปลน ใน Model และ Layout ทั้งหมดเขาไปไวในหนวยความจํา เพือ่ ไมตองมีการคํานวณ(Regen)ภาพใหม dbConnect Options ใชตวั เลือกกลุม นี้ในการควบคุมการติดตอกับไฟลฐานขอมูล Store Links Index in Drawing File บันทึกอินเดกซของฐานขอมูลไวภายในไฟลแบบแปลน Open tables in read-only mode กําหนดใหเปด ไฟลฐานขอมูลออกมาใชงานในโหมดอานเทานั้น General Options ใชตัวเลือกในกลุมนี้สําหรับปรับคาตางๆ ของตัวเลือกทัว่ ไป Single-drawing compatibility mode โดยทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาให เราสามารถเปดไฟล หลายๆ ไฟลในคราวเดียว หากปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซนี้ เราจะเปดไฟลไดเพียงไฟลเดียวเทานั้น Display OLE properties dialog ควบคุมการปรากฏของไดอะล็อคแสดงคุณสมบัติของ OLE เมื่อสอดแทรก OLE objects เขามาใชงาน Show all warning messages แสดงไดอะล็อคซึง่ มีตัวเลือกขอความเตือนวา “Don’t Display this Warning Again” Beep on error in user input สงเสียงเตือนถาผูใชโปรแกรมปอนขอมูลผิดพลาด Load acad.lsp with every drawing โหลดไฟล acad.lsp กับทุกๆ ไฟลแบบแปลน Allow long symbol names หากปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซน้ี เราสามารถตั้งชื่อยาว 255 ตัวอักษรใหกบั วัตถุทุกประเภททีม่ ีชอื่ กํากับ อาทิ เชน Layer, Textstyle, Dimstyle, Block และอื่นๆ เปนตน Startup โดยทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาให Do

chap-12.PMD

372

13/10/2549, 1:33

กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ

373

not show a startup dialog เปนแถบรายการใชงาน ทําใหทกุ ครัง้ ทีเ่ ราเขาสู AutoCAD จะปรากฏไดอะล็อคสําหรับเลือก Template file หากตองการใชไดอะล็อคของ AutoCAD 2000 ปรากฏเมื่อเขาสู AutoCAD เราสามารถเลือก Show traditional startup dialog Live Enabler Options ใชตัวเลือกในโหมดนี้สําหรับกําหนดโหมดการตรวจสอบ Object Enabler ผานอินเตอรเนต เราสามารถใชวัตถุที่ถูกปรับแตงถึงแมวาจะไมมีโปรแกรม ObjectARX ที่ใชสราง วัตถุนนั้ Check Web for Live Enablers ควบคุมวา AutoCAD จะคนหา Object Enabler ในเวบไซตของ Autodesk หรือไม เราสามารถระบุจํานวนครัง้ ในอิดทิ บอกซ Maximum number of unsuccessful checks เพือ่ พยายามทีจ่ ะ ตรวจสอบผานอินเตอรเนต

รูปที่ 12.49

Windows Standard Behavior ใชตวั เลือกในกลุมนี้ สําหรับการใชคียบอรดและเมาส Shortcut menus in drawing area ซึง่ การใชเมาสคลิกขวา จะปรากฏช็อทคัด(Shortcut)เมนู หากปลดเครือ่ งหมาย ออก การคลิกขวา จะเทากับการปุม Q เราใชปุม Right-click Customization... ในการกําหนดรูปแบบในการใชเมาสขวา

เมื่อคลิกปุมนีจ้ ะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.50 เราสามารถกําหนดรูปแบบการคลิกขวาในสถานการณตางๆ กัน 4 แบบคื อ Turn on time-sensitive right-click หากคลิ กให ปรากฏ เครื่องหมาย หนาเช็คบอกซน้ี เราสามารถคลิกขวาอยางเร็ว ซึง่ จะเทากับ การกดปุม Q แตถาเราคลิกขวาและหนวงเวลาเล็กนอย(ประมาณ 1/4 วินาที)กอนปลอยปุมขวา จะเทากับการเรียกเคอรเซอรเมนูออกมาใชงาน ซึ่ง เปนวิธที สี่ ะดวกในการใชงานเปนอยางมาก Default Mode ถาไมมวี ตั ถุใดๆ ถูกเลือก เมื่อคลิกขวา เราสามารถเลือกที่จะใช Repeat Last Command เพื่อทําซ้ําคําสั่งหรือใช Shortcut Menu เพื่อเรียกเคอรเเซอรเมนู Edit Mode ถามีวัตถุใดๆ ถูกเลือก เมือ่ คลิกขวา เราสามารถเลือกที่จะใช Repeat Last Command เพื่อทําซ้ําคําสั่งหรือใช Shortcut Menu เพื่อเรียก เคอรเซอรเมนู Command Mode ในระหวางกําลังใชคําสัง่ ใดๆ อยู เมือ่ คลิก รูปที่ 12.50 ขวา เราสามารถเลือกทีจ่ ะใชปมุ Q หรือใช Shortcut Menu: alway enabled เพือ่ เรียกเมนูบนเคอรเซอรเสมอ หรือใช Shortcut Menu: enabled when command options are present เพือ่ ใหเมนูบนเคอรเซอรปรากฏ เฉพาะเมื่ อบรรทั ดคําสั่ งปรากฏตั วเลื อก Insertion scale เมื่ อบล็ อคที่ สอดแทรกผ าน Insert4 Block , DesignCenter, Tool Palettes เขาไปในแบบแปลนใชงานไมไดถูกกําหนดหนวยวัดไวในคําสัง่ Format4Unit เรา สามารถใชแถบรายการ Source content units ในการกําหนดหนวยวัดของบล็อคตนฉบับและใชแถบรายการ

chap-12.PMD

373

13/10/2549, 1:33

374

Target content units ในการกําหนดหนวยวัดของบล็อคปลายทาง ซึง่ เราสามารถใชในการแปลงหนวยของบล็อค ที่สอดแทรกเขามาใชงานบนพื้นที่วาดภาพ Field ใชตัวเลือกในกลุมนี้สําหรับกําหนดขอมูลฟลด หากปรากฏเครือ่ ง หมาย หนาเช็คบอกซ Display background of fields พื้นหลังของฟลดขอมูลตัวอักษรจะปรากฏเปนสีเทา เราสามารถกําหนดใหฟล ดขอ มูลมีการอับเดทอัตโนมัติ โดยคลิกบนปุม Field Update Settings เมือ่ มีการเปด

2D Drafting

ไฟล(Open) บันทึก(Save) พิมพ(Plot) สงเมล (eTransmit) รีเจน(Ren) โดยคลิกใหปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซทตี่ อ งการใหมีการ อับเดทดังรูปที่ 12.51 เมือ่ คลิกบนปุม Hidden Line Settings บน ไดอะล็ อคดั งรู ปที่ 12.49 จะปรากฏไดอะล็ อคดั งรูปที่ 12.52 ใช สําหรับควบคุมการแสดงผล ของวัตถุ 3 มิติ ซึง่ จะมีผลก็ตอ เมือ่ ใชคําสัง่ View4 Hide เลื อกรู ปแบบเส นประและเลื อกสี ในแถบรายการ Linetype และ Color ในฟลด Obscured lines หากตองการให รูปที่ 12.51 หนา ปรากฏเสนตัดกันระหวางโซลิดที่ไมได Union และมีสที ี่กําหนด เราสามารถคลิกใหปรากฏเครื่องหมาย เช็คบอกซ Display intersections และเลือกสีของเสนทีถ่ กู บังในแถบรายการ Color (ในกรณีที่เลือกเสนประ) ในฟลด Face intersections ที่ตองการใหปรากฏ แทนเสนที่ถกู บัง เราใช Halo gap percentage เพือ่ ทําใหเกิดชองวางระหวางโซลิดที่ถกู บัง หากตองการ ให โปรแกรมคํานวณการซ อนเส นแบบปกติ เลื อก Low (Single precision) หากตองการคํานวณการ ซ อนเส นด วยความละเอี ยดสู ง ให เลื อกปุ มเรดิ โอ High (Double precision) เราสามารถรวมตั ว อักษรเขาไปในโหมดการซอนเสนดวยคําสั่ง HIDE รูปที่ 12.52 ไดใน Include text in HIDE operations เมื่อ คลิกบนปุม Lineweight Settings บนไดอะล็อคดังรูปที่ 12.49 จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 5.17 ซึ่งใชสําหรับ กําหนดคาเริ่มตนตางๆ ในการใชงานความหนาเสน (Lineweight) อาทิ เชน การเลือกหนวยวัดของความหนาเสน การควบคุมสเกล ความหนาเสนที่ตองการใหปรากฏบนพื้นที่วาดภาพ เปนตน (ดูรายละเอียดของตัวเลือกตางๆ บน ไดอะล็อครูปที่ 5.17 ของคําสั่ง LWEIGHT) Priority for Coordinate Data Entry ควบคุมวิธีการที่ AutoCAD ตอบสนองกับการป อนขอมูลคอรออร ดิเนท Running object snap รับค าจากออฟเจกทสแนปกอนป อนคา คอรออรดิเนท Keyboard entry รับคาการปอนคาคอรออรดเิ นทและ ขามโหมดออโตสแนป Keyboard entry except scripts รับคาจากการปอนคาคอรออรดเิ นทกอนโหมดออโตสแนป ยกเวนในสคริปท(Scripts) หากปรากฏ เครือ่ งหมาย หนาเช็คบอกซ Make new dimensions associative เสนบอกขนาดทุกประเภททีถ่ กู สรางขึน้ ใหม จะสัมพันธกับวัตถุที่ถกู ใหขนาด นัน่ หมายถึงหากมีการแกไขเปลีย่ นแปลงวัตถุ เสนบอกขนาดก็จะเปลี่ยนแปลงตาม ไปดวยโดยอัตโนมัติ ดังนั้น กอนการเขียนเสนบอกขนาด เราควรที่จะตรวจสอบใหแนใจวาปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซน้ี Hyperlink ใชเช็คบอกซ Display hyperlink cursor, tooltip, and shortcut menu สําหรับ แสดงเคอรเซอรไฮเปอรลงิ ค แสดงทูลทิพ และแสดงช็อทคัทเมนู หากปรากฏเครือ่ ง หมาย หนาเช็คบอกซ Combine zoom and pan commands เราสามารถใชคําสัง่ Undo หรือ Redo เพียงครัง้ เดียว เพื่อยอนกลับหรือทําซ้ํากลุมคําสัง่ Zoom และ Pan ทีใ่ ชงานติดตอกันภายในครั้งเดียว เมือ่ คลิกบนปุม Edit Scale List บนไดอะล็อคดังรูปที่ 12.49 จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 5.19 (ซาย) ซึง่ ใชสําหรับสรางและแกไขมาตราสวน หรือสเกลมาตรฐาน เพื่อนําไปกําหนดใหกับวิวพอรทในเลเอาท ซึ่งจะเปนตัวกลางในการกําหนดมาตราสวนระหวาง ชิ้นงานในโมเดลสเปสกับกระดาษในเลเอาทเปเปอรสเปส

chap-12.PMD

374

13/10/2549, 1:33

กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ

375

AutoSnap Settings ใช

ตัวเลือกในกลุมนี้ในการกําหนด รู ป แ บ บ ข อ ง อ อ โ ต ส แ น ป Marker ถ ามี เครื่ องหมาย จะปรากฏมาร คเกอร ในโหมด ตางๆ อาทิ เชน บนตําแหนง ตางๆ ของวัตถุ Magnet ถ ามี เครื่ องหมาย หากเลื่ อน เคอร เซอร เ ข าใกล จุ ดใดๆ ของ ออโต ส แน ป จะเกิ ด แรงดึ ง ดู ด เคอร เซอร เข าไปยั งจุ ดนั้ น

Display AutoSnap tooltip

รูปที่ 12.53

แสดงโหมดของออโตสแนปบน เคอรเซอร Display AutoSnap aperture box แสดงกรอบสี่เหลี่ยมผืนผาซึ่งแสดงโหมดของออฟเจกทสแนป (นิยมใชใน AutoCAD รีลสี เกาๆ ตัง้ แตรลี สี 13 ลงไป) AutoSnap marker color ใชแถบรายการนีใ้ นการปรับสีของ มารคเกอรของ Object snap AutoSnap Marker Size ใชสไลเดอรนี้ ในการปรับขนาดของมารคเกอรของ Object snap หากปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซ Ignore hatch objects ออฟเจกทสแนปจะไมสามารถใชงานกับ ลวดลายแฮทช หากปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซ Replace Z value with current elevation ออฟเจกท สแนปมารคเกอรจะปรากฏบนระนาบ XY 2 มิติของจุด 3 มิติบนระนาบ UCS ใชงาน AutoTrack Settings ใชตัวเลือกในกลุมนี้ควบคุมการใชงานออโตแทร็ค Display polar tracking vector ใชสําหรับเปด/ปดโหมด โพลารแทร็คกิง้ Display full-screen tracking vector หากปรากฏเครื่องหมาย จะปรากฏแทร็คกิ้งเวคเตอร จุดไขปลาเต็มพืน้ ที่วาดภาพ หากไมปรากฏเครื่องหมาย จะปรากฏแทร็คกิง้ เวคเตอรจุดไขปลาถึงตําแหนงปลาย เคอรเซอรเทานัน้ Display AutoTrack tooltip ใชสําหรับแสดงทูลทิพ(คําแนะนํา)บนเคอรเซอรเพื่อรายงานให ทราบระยะทางและมุม Alignment Point Acquisition ใชตวั เลือกนีใ้ นการควบคุมการ จัดวางตําแหนงเวคเตอร เมือ่ ปุมเรดิโอ Automatic ถูกเลือกจะปรากฏแทร็คกิ้งเวคเตอร(Tracking Vector) เมือ่ เรา เลื่อนเคอรเซอรไปบนมารคเกอรของออฟเจกทสแนปโดยอัตโนมัติ เราเลือกปุมเรดิโอ Shift to Acquire เพื่อ ตองการใหปรากฏแทร็คกิง้ เวคเตอร เมือ่ เลือ่ นเคอรเซอรไปบนมารคเกอรของออฟเจกทสแนป แลวกดปุม S จึงจะ ปรากฏแทร็ คกิ้ ง เวคเตอร Aperture Size ใช ส ไลเดอร นี้ สําหรับปรับขนาดของเคอรเซอรออฟเจกทสแนป เราใชสไลเดอรนี้ รวมกับเช็คบอกซ Display AutoSnap aperture box เมือ่ คลิก บนปุม Settings ในฟลด Drafting Tooltip Appearance บนไดอะล็อคดังรูปที่ 12.53 จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.54 คลิก บนปุม Model Color เพือ่ กําหนดสีใหทลู ทิพของไดนามิกอินพุท ที่ปรากฏในโมเดลสเปส คลิกบนปุม Layout color เพื่อกําหนดสี ให ทู ลทิ พของไดนามิ กอิ น พุ ทที่ ปรากฏในเลเอาท เปเปอร สเปส กําหนดขนาดใหทลู ทิพของไดนามิกอินพุท โดยใชอดิ ิทบอกซหรือ สไลเดอร Size กําหนดความโปรงใสใหทลู ทิพของไดนามิกอินพุท โดยใชอดิ ิทบอกซหรือสไลเดอร Transparency เราใชปมุ เรดิโอ ในฟลด Apply to สําหรั บกําหนดให คาต างๆ ที่ ปรั บแต งบน รูปที่ 12.54

chap-12.PMD

375

13/10/2549, 1:33

376

ไดอะล็อค หากเลือกปุมเรดิโอ Override OS settings for all drafting tooltips คาตางๆ บนไดอะล็อคจะมีผล ตอทูลทิพสําหรับการเขียนแบบทั้งหมด หากเลือกปุมเรดิโอ Use settings only for Dynamic input tooltips คาตางๆ บนไดอะล็อคจะมีผลตอทูลทิพสําหรับไดนามิกอินพุทเทานั้น

2D Drafting

Pickbox Size ใชสไลเดอรนี้

สํ า หรั บ ปรั บ ขนาดเคอร เ ซอร สีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั ซึง่ จะปรากฏพรอม ข อ ความ Select objects: Selection Preview ใชตวั เลือก ในกลุมนี้สําหรับกําหนดรูปแบบ การดู ตั วอย างวั ตถุ ที่ จะถู กเลื อก เมื่ อ เลื่ อ นเคอร เซอร ไปวางบน วัตถุ หากปรากฏเครื่องหมาย บนเช็ คบอกซ When a command is active ในขณะที่ เรียกคําสัง่ ใดๆ ออกมาใชงาน เมือ่ เลื่ อนเคอร เซอร ไปบนวั ตถุ จะ รูปที่ 12.55 ปรากฏไฮไลทบนวัตถุนั้น หาก ปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ When no command is active ในขณะทีบ่ รรทัด Command: ไมไดมคี ําสัง่ ใด กําลังใชงาน เมือ่ เลือ่ นเคอรเซอรไปบนวัตถุ จะปรากฏไฮไลทบนวัตถุนั้น หากคลิกบนปุม Visual Effect Settings บนไดอะล็อคดังรูปที่ 12.55 จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.56 Selection Preview Effect ใชตวั เลือกในกลุม นี้ สํ าหรั บ กํ าหนดรู ป แบบการ แสดงผลของวั ตถุ ที่ จะถู ก เลือก เมื่ อเลื่อนเคอรเซอรไป บนวั ต ถุ นั้ น หากเลื อ กปุ ม เรดิ โอ Dash วั ต ถุ ที่ จ ะถู ก เลื อ กจะปรากฏเป นเส นประ หากเลือกปุมเรดิโอ Thicken วั ตถุ ที่ จะถู กเลื อกจะปรากฏ เปนเสนหนาทึบ หากเลือกปุม รูปที่ 12.56 เรดิโอ Both วัตถุทจี่ ะถูกเลือก จะปรากฏเปนเสนประและเสนหนาทึบ หากคลิกบนปุม Advanced Options จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.57 เราสามารถกรองวัตถุทไี่ มตองการใหมผี ลในโหมดการแสดงตัวอยางของวัตถุที่จะถูกเลือกเปนเสนประหรือเสนทึบ โดยที่ โปรแกรมกําหนดมาให จะปรากฏเครื่ อ งหมาย บนเช็ คบอกซ Exclude objects on locked layers ซึ่งจะทําใหวัตถุที่อยูเลเยอรที่ถกู ล็อค ไมมผี ลตอโหมดแสดงตัวอยางของวัตถุทจี่ ะถูกเลือก นอกจากนีใ้ นฟลด Exclude หากปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซของวัตถุใด วัตถุนนั้ จะถูกกรองออกไป จากโหมดการโหมดการแสดงตัวอยางของวัตถุที่จะถูกเลือกเปนเสนประหรือ เสนทึบ โดยทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาให จะปรากฏเครื่องหมาย บนเช็คบอกซ Xrefs และ Tables ดังนัน้ เอกซเรฟและตารางจะไมมีผลตอโหมดการแสดง รูปที่ 12.57 ตัวอยางของวัตถุ สวน Groups, Multiline Text และ Hatches จะมีผลตอ

chap-12.PMD

376

13/10/2549, 1:33

กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ

377

โหมดการแสดงตัวอยางของวัตถุ Selection Modes ใชตวั เลือกในกลุม นี้สําหรับกําหนดวิธกี ารเลือกวัตถุ หากมี เครื่องหมาย หนาเช็คบอกซ Noun/Verb Selection เราสามารถเลือกวัตถุไวกอนลวงหนาใหปรากฏจุดกริป๊ ส เมื่อเราเรียกคําสั่งใดๆ ที่ปรากฏขอความ Select objects: คําสั่งนั้นจะนํากลุมวัตถุทถี่ ูกเลือกไปใชงานโดยอัตโนมัติ โดยที่เราไมจําเปนตองเลือกวัตถุในคําสั่งนั้นซ้ําอีก Use Shift to Add หากมีเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซนี้ เมื่ อเลือกวัตถุชิ้นหนึ่งแลว หากเลือกวัตถุชิ้นตอไปอีก วัตถุชิ้นที่ ถูกเลือกกอนจะถูกยกเลิกออกจากกลุมการเลือก หากตองการเพิม่ เติมวัตถุใหมเขาไปในกลุม การเลือก เราจะตองกดปุม S บนคียบ อรดคางไว แลวคลิกลงบนวัตถุที่ ตองการเลือกเพิม่ เขาไปในกลุม Press and Drag หากมีเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซน้ี เราจะตองคลิกและลาก เพือ่ กําหนดกรอบสีเ่ หลีย่ มชัว่ คราว ใชในการเลือกวัตถุแบบ Window หรือ Crossing โดยทีไ่ มตอ งเสียเวลาพิมพตวั เลือก W หรือตัวเลือก C Implied Windowing หากมีเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซน้ี ถาเลือกวัตถุโดยใชเมาสคลิก เพือ่ กําหนดกรอบสีเ่ หลีย่ มชัว่ คราวลอมรอบวัตถุทตี่ องการเลือก โดยไมตอ งพิมพ W หรือ C ถากําหนดจุดแรกอยูท าง ซายมือ การเลือกจะเปนแบบ Window ถากําหนดจุดแรกอยูทางขวามือ การเลือกจะเปนแบบ Crossing Object Grouping หากมีเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซน้ี ถามีการนําเอาวัตถุตางๆ เขามารวมกลุม ดวยคําสัง่ GROUP เมื่อ ใชเมาสคลิกบนวัตถุชิ้นใดชิ้นหนึง่ ที่อยูภายในกลุมวัตถุช้นิ อืน่ ๆ ที่อยูใ นกลุมเดียวกันจะถูกเลือกดวย Associative Hatch หากมีเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซนี้ เมื่อเราเลือกลวดลายแฮทชหรือสีไลระดับ ขอบเขต Boundary ของแฮทชซงึ่ ถูกกําหนดใหอยูใ นโหมด Associative จะถูกเลือกเขาในกลุม ดวย Grip Size ใชสไลเดอรนสี้ ําหรับปรับ ขนาดจุดกริป๊ สหรือจุดสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั เล็กๆ ซึง่ จะปรากฏบนวัตถุทถี่ กู เลือก Grips ใชตวั เลือกในกลุม นีใ้ นการกําหนด รูปแบบและสีของจุดกริ๊ปส Unselected grip color คลิกบนแถบรายการนี้ เพื่อเลือกสีของจุดกริ๊ปสที่ไมไดถูก เมาสคลิก เราสามารถเลือกสีของกริป๊ สไดตามตองการ สีทโี่ ปรแกรมกําหนดมาใหคือสีนํา้ เงิน Selected grip color คลิกบนแถบรายการนี้ เพื่อเลือกสีของกริป๊ สที่ถกู เมาสคลิก สีที่โปรแกรมกําหนดมาใหคือสีแดง Hover grip color คลิกบนแถบรายการนี้ เพื่อเลือกสีของกริ๊ปสทเี่ ลื่อนเคอรเซอรไปวาง Enable grips ใชสําหรับเปด/ปดโหมดการ ใชกริป๊ ส หากปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซน้ี กริป๊ สจะอยูใ นสถานะเปด Enable grips within blocks หากปรากฏเครือ่ งหมาย หนาเช็คบอกซน้ี จะทําใหปรากฏจุดกริป๊ สบนวัตถุทกุ ๆ ชิน้ ทีเ่ ปนสวนประกอบของบล็อค (โดยปกติ บล็อคจะแสดงจุดกริป๊ สตรงจุดสอดแทรกเทานัน้ ) เราสามารถกําหนดจํานวนของวัตถุทถี่ ูกเลือก เพือ่ แสดง จุดกริป๊ สหรือไมแสดง โดยปอนจํานวนวัตถุเขาไปในอิดิทบอกซ Object selection limit for display of grips หากเลือกวัตถุเกินกวาจํานวนที่กําหนดจะไมปรากฏจุดกริ๊ปสบนวัตถุที่ถูกเลือกทั้งหมด เราใช แ ถบคํ าสั่ ง Profiles สําหรั บ สร างโปรไฟล ซึ่ ง เก็ บ บั น ทึ กค าเริ่ มต น ต างๆ บน ไดอะล็อค Options สําหรับผูใ ช โปรแกรมแตละๆ คนในเครื่อง คอมพิ วเตอร ที่ มี ผู ใชหลายคน ผูใ ช AutoCAD แตละคนอาจจะ ชอบการปรั บ แต ง ค าเริ่ ม ต นที่ แตกตางกัน ถาปราศจากการใช Profiles หากมีผใู ชคนใดคนหนึง่ ทําการปรั บแต งค าเริ่ มต นของ AutoCAD ไปแลวและเราตอง การเปลี่ ยนไปยั ง จอภาพของ AutoCAD ที่เราชอบ เราจะตอง เสียเวลาปรับแตงคาเริ่มตนของ AutoCAD ใหมทงั้ หมด ถาแตละ คนใชโปรไฟลของตนเอง หาก

รูปที่ 12.58

chap-12.PMD

377

13/10/2549, 1:33

378

ผูใ ชโปรแกรมคนใดปรับแตงคาเริม่ ตนของ AutoCAD จะไมมีผลการเปลีย่ นแปลงกับคาเริม่ ตนของผูอ นื่ ตัวอยาง เชน ผูใช AutoCAD คนหนึ่งอาจจะชอบพื้นที่วาดภาพสีขาว มีสครอลบารยึดติดกับขอบพื้ นที่วาดภาพ มีขนาดของ ครอสแฮร 100 เปอรเซนต ผูใชโปรแกรมอีกคนหนึง่ อาจจะตองการพื้นทีว่ าดภาพสีดาํ ไมมสี ครอลบารยึดติดกับขอบ พื้ นที่ วาดภาพ มีขนาดของครอสแฮร 5 เปอรเซนต หากมีการสรางโปรไฟลของแตละคนไวแลว ผูใชแตละคน จะสามารถเรียกจอภาพของตนเองออกมาใชงานในทันทีที่ตองการ โดยไมตองผานขั้นตอนการปรับแตงคาเริ่มตน ตางๆ อีก

2D Drafting

Note

ใน AutoCAD 2006 เราใช Profiles ในการควบคุมคาเริม่ ตนตางๆ รวมทัง้ สีของพื้นทีว่ าดภาพ แตไมได ควบคุมจํานวนบรรทัดปอนคําสัง่ Command: เหมือนในรีลีสกอนๆ เราใช Workspaces ในการบันทึก ตําแหนงและจํานวนบรรทัดปอนคําสั่ง และยังควบคุมตําแหนงของทูลบาร หนาตาง DesignCenter, Properties, Tool Palettes และหนาตางๆ อื่นอีกดวย

Note

ในเครือ่ งคอมพิวเตอรที่มีการสรางชื่อ User name หรือ Log in name ของผูใ ชโปรแกรมแตละคนแยก อิสระตอกัน จะทําใหไฟลตา งๆ ของ AutoCAD ทีผ่ ใู ชโปรแกรมสามารถปรับแตงได แยกกันอยูคนละ โฟลเดอร ดังนัน้ หาก ผูใ ชโปรแกรมคนหนึง่ ปรับแตง AutoCAD จะไมมผี ลตอผูใ ชโปรแกรมอีกคนหนึง่ ถึงแมวาจะมีการแยกโฟลเดอรและไฟลของ AutoCAD สําหรับผูใชโปรแกรมแตละคนแลว เรายัง สามารถใชประโยชนจาก Profiles ในการกําหนดคาเริม่ ตนตางๆ ใหเหมาะสมบกับงานเขียนแบบแตละ ประเภทได

Current profile แสดงชือ่ โปรไฟลใชงาน Set Current กําหนดใหชื่อโปรไฟลทถี่ ูกเลือกเปนโปรไฟลใชงาน Add to List... คลิกบนปุมนี้เพื่อสรางโปรไฟลของผูใชโปรแกรมคนใหม โดยคัดลอกคาเริ่มตนตางๆ จากชื่อ

โปรไฟลที่ถกู เลือก แลวคลิกบนปุม นี้ จะปรากฏไดอะล็อค Add Profile ขึน้ มา ใหพมิ พชอื่ โปรไฟลใหมในอิดทิ บอกซ Profile Name โดยจะพิมพรายละเอียดใน Description หรือไมก็ได Rename เปลีย่ นชือ่ และรายละเอียดของโปรไฟล ของผูใ ชโปรแกรมที่ถกู เลือก Delete ลบชือ่ โปรไฟลทถี่ กู เลือกออกจากไดอะล็อค Export ใชปมุ นีใ้ นกรณีทตี่ อ งการ คัดลอกโปรไฟลคาเริม่ ตนตางๆ ของผูใ ชโปรแกรม AutoCAD จากเครือ่ งหนึง่ ไปใชงานในคอมพิวเตอรอกี เครือ่ งหนึง่ โดยบันทึกโปรไฟลลงดิสคในฟอรแมต .arg Import ใชปุมนี้ในกรณีที่ ตองการนําโปรไฟลของผูใชโปรแกรม AutoCAD จากเครือ่ งอืน่ เขามาใชงาน โดยเลือกไฟลจากดิสคฟอรแมต .arg Reset ใชปมุ นี้ เพือ่ เรียกคืนการปรับแตงคา เริม่ ตนตางๆ กลับมาเปนมาตรฐานตามทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาให ซึง่ จะไดคาเริ่มตนตางๆ ของ AutoCAD เหมือนกับ ครั้งแรกที่เขาสู AutoCAD เหมือนการติดตัง้ โปรแกรมเสร็จสิน้ ใหมๆ นัน่ เอง

12.58 Modify4Match Properties | MATCHPROP | MA | ใชคําสั่งนี้สําหรับคัดลอกคุณสมบัติ อาทิ เชน สี เลเยอร รูปแบบเสน สเกลแฟคเตอรของเสนประ ความหนาเสน (Lineweight) ความหนาใน 3 มิต(ิ Thickness) รูปแบบการพิมพ(Plot style) สไตลเสนบอกขนาด สไตลตวั อักษรและ ลวดลายแฮทชจากวัตถุชนิ้ หนึง่ ไปใหวัตถุอกี ชิน้ หนึง่ หรือหลายๆ ชิน้

Source object กอ นใชคําสั่ง

chap-12.PMD

378

Destination object รูปที่ 12.59

Destination object หลังใชคําสั่ง

13/10/2549, 1:33

379

กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ

{จากรูปที่ 12.59 (ซาย) และ (กลาง)} Select source object: {คลิกบนวัตถุตรงจุดที่ 1 เพือ ่ ใชเปนตนแบบของคุณสมบัต}ิ Command: '_matchprop

Current active settings: Color Layer Ltype Ltscale Lineweight Thickness

{รายงานคุณสมบัตทิ งั้ หมดทีส่ ามารถถายทอดใหกบั วัตถุอนื่ ได} Select destination object(s) or [Settings]: {คลิกบนวัตถุปลายทางจุดที่ 2, 3, 4 และ 5 เพือ่ กําหนดคุณสมบัตใิ หม} Select destination object(s) or [Settings]: {คลิกขวาหรือQจะปรากฏดังรูปที่ 12.59 (ขวา)} PlotStyle Text Dim Hatch

รูปที่ 12.60

หากตองการจํากัดคุณสมบัติบางประการที่สามารถถาย ทอดได เมื่อปรากฏบรรทัด Select destination object(s) or [Settings]: ใหพมิ พ S จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.60 คลิกบนเช็คบอกซ เพื่อยกเลิกคุณสมบัตทิ ี่ไมตอง การใหถายทอดไปยังวัตถุอนื่ หากปรากฏเครื่องหมาย บนเช็คบอกซทงั้ หมด นั่นหมายถึงคุณสมบัติทงั้ หมดจาก วั ตถุต นทาง(Source object)จะถู กถ ายทอดไปยั งวัตถุ ปลายทาง(Destination object) ถาไมปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซใด คุณสมบัตนิ ั้นจะไมถูกถายทอด

12.59 AI_MOLC | ใชสําหรับกําหนดเลเยอรใชงาน โดยใชเลเยอรของวัตถุทถี่ กู เลือกเปนเลเยอรใชงาน(Current layer)

กอ นใชคําสั่ง Command: _ai_molc

รูปที่ 12.61 {จากรูปที่ 12.61 (ซาย)}

Select object whose layer will become current:

หลังใชคําสั่ง

{คลิกบนวัตถุทอี่ ยูใ นเลเยอรทตี่ อ งการ เปลีย่ น

เปนเลเยอรใชงาน ในทีน่ คี้ ลิกตรงจุดที่ 1} {เลเยอร Center จะเปลีย่ นเปนเลเยอรใชงานแทนเลเยอร 0}

Center is now the current layer.

12.60 GROUP | G ใชคําสั่งนี้สําหรับสรางกลุม(Group)ของวัตถุ เพื่อรวมวัตถุหลายๆ ชิ้นเขาดวยกันเสมือนเปนวัตถุชิ้นเดียว เมื่อวัตถุ ประเภทเดียวกันถูกรวมเขากลุม แลว จะทําใหเกิดความสะดวกในการเลือกวัตถุ ในการสรางกลุม ของวัตถุจะมีการตัง้ ชือ่

chap-12.PMD

379

13/10/2549, 1:33

380

กลุมและสามารถกําหนดสถานะของการเลือกใหกบั วัตถุทอี่ ยูในกลุมวัตถุที่ถกู รวมเขากลุม (Group)ยังคงเปนวัตถุ ทีม่ สี ภาพเดิม ซึง่ แตกตางจากบล็อค เนือ่ งจากเราจะไมสามารถแกไขปรับแตงวัตถุทถี่ กู แปลงเปนบล็อค แตเราสามารถ ทีจ่ ะแกไขวัตถุทถี่ กู รวมกลุม ได

2D Drafting

การรวมกลุม ของวัตถุหลายชิน้ เขาดวยกัน จะไมทาํ ใหขนาดของไฟลเล็กลงแตอยางใด ซึง่ ตรงกันขามกับบล็อคซึง่ ทําให ไฟลมขี นาดเล็กลง อยางไรก็ตาม ประโยชนของการรวมกลุม ก็คอื เราสามารถแกไขปรับแตงเคลือ่ นยายวัตถุแตละชิน้ ที่ อยูใ นกลุม ไดโดยทีไ่ มตอ งมีการระเบิดกลุม นัน้ ใหเปนวัตถุธรรมดาเสียกอนและชวยใหการเลือกวัตถุจากกลุม ไดโดยงาย เมือ่ พิมพคําสัง่ นีผ้ า นคียบ อรดจะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 12.62

Group Name แสดงรายชื่อกลุมของวัตถุ Selectable แสดง

สถานะการเลือกวัตถุภายในกลุม Yes หมายถึงสามารถเลือก วัตถุทั้ งหมดในคราวเดียว No หมายถึงสามารถเลือกวัตถุได คราวละชิน้ Group Identification ใชตวั เลือกกลุม นีส้ ําหรับ กําหนดชื่อและรายละเอียดตางๆ ของกลุม วัตถุ Group Name แสดงชือ่ กลุม วัตถุใชงานหรือใชสําหรับตัง้ ชือ่ กลุม ใหม ชือ่ กลุม สามารถใชตวั เลขหรือตัวอักษรหรือทัง้ สองอยางรวมกันไมเกิน 31 ตัวอักษรและสามารถใชเครื่องหมายพิเศษ - _ และ $ ได Description กําหนดขอความรายละเอียดของกลุม วัตถุไมเกิน 64 ตัวอักษร Find Name < ในกรณีที่เราไมทราบวาวัตถุทอี่ ยู รูปที่ 12.62 บนพื้ นที่ วาดภาพถูกกําหนดอยู ในกลุ มใด คลิกบนปุ ม Find Name < และคลิกบนวัตถุบนพืน้ ที่วาดภาพจะปรากฏไดอะล็อคแสดงชื่อกลุม วัตถุนนั้ Highlight < ในกรณีที่เราไม ทราบวากลุมวัตถุบนไดอะล็อคมีวัตถุใดรวมอยูในกลุมบาง ใหคลิกบนชื่อกลุมวัตถุบนไดอะล็อค แลวคลิกบนปุม Highlight < วัตถุที่อยูใ นกลุมนัน้ จะกลายเปนเสนประ Include Unnamed แสดงรายชือ่ กลุมทีไ่ มไดถูกตัง้ ชื่อซึง่ มี ชื่อขึน้ ตนดวย *A1, *A2, *A3, ... ใหปรากฏบนไดอะล็อค Create Group ใชตวั เลือกในกลุมนี้สําหรับสรางกลุม ของวัตถุ New ใชสําหรับสรางกลุม วัตถุใหม Selectable เมือ่ มีเครือ่ งหมาย จะทําใหกลุม วัตถุทสี่ รางใหมมสี ถานะที่ สามารถเลือกวัตถุทงั้ หมดในกลุม ไดในคราวเดียว Unnamed เมือ่ มีเครือ่ งหมาย โปรแกรมจะตัง้ ชือ่ กลุม วัตถุใหโดย อัตโนมัติ โดยใชเครื่องหมาย *A และตามดวยตัวเลขตามลําดับ Change Group ใชตวั เลือกในกลุม นี้สําหรับปรับ แตงแกไขวัตถุภายในกลุม Remove ใชปุมนี้สําหรับเลือกวัตถุออกจากกลุม Add ใชปุมนี้สําหรับเพิ่มวัตถุเขาไป ในกลุม Rename ใชสําหรับเปลีย่ นชื่อกลุมของวัตถุทถี่ ูกเลือก Re-order ใชสําหรับเรียงลําดับกอนหลังตามตัวเลข ของวัตถุที่อยูในกลุมที่ถูกเลือก เมื่อคลิกบนปุมนี้จะปรากฏไดอะล็อคสําหรับเรียงลําดับวัตถุขึ้นมาบนจอภาพ โดย ปกติวัตถุจะถูกเรียงตามลําดับที่ถกู เลือกเขากลุม Description ใชสําหรับแกไขปรับปรุงคําอธิบายของกลุม วัตถุทถี่ ูก เลือก Explode ใชสําหรับระเบิดกลุมวัตถุที่ถูกเลือกออกจากไดอะล็อค แตวัตถุตางๆ ที่อยูใ นกลุมจะคงอยูบนพืน้ ที่ วาดภาพไมถูกลบตามชื่อกลุมไปดวย Selectable หากมีสถานะ Yes แลวเลือกวัตถุใดๆ วัตถุอื่นที่อยูในกลุมจะ ถูกเลือกดวย หากมีสถานะ No แลวเลือกวัตถุใดๆ วัตถุอนื่ ที่อยูใ นกลุมจะไมถูกเลือกดวย Note

chap-12.PMD

เมื่อมีการกําหนดวัตถุตางๆ เขาไปไวในกลุมเดียวกันแลว เมื่อใชคําสั่งใดๆ ของ AutoCAD ที่ปรากฏ ขอความ Select object บนบรรทัดปอนคําสัง่ เราสามารถใชตวั เลือก G จะปรากฏขอความ Enter group name: ใหพิมพช่อื กลุมของวัตถุที่ตอ งการเลือกหรืออาจใชเมาสคลิกบนวัตถุใดๆ ทีอ่ ยูภายในกลุมวัตถุ อื่นๆ ทั้งหมดที่อยูภายในกลุมเดียวกันจะถูกเลือกไปดวย อนึ่ง การใชตัวเลือก G หรือใชเมาสคลิกใน ลักษณะทีก่ ลาวมานีต้ วั เลือก Selectable ของกลุม ตองมีสถานะ Yes จึงจะสามารถเลือกวัตถุทอี่ ยูภ ายใน กลุม ทัง้ หมดได

380

13/10/2549, 1:33

กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ

381

หากมีความจําเปนตองรวมวัตถุตางๆ เขาเปนวัตถุเดียวและคัดลอกกลุมวัตถุนั้นไปยังตําแหนงตางๆ ในแบบแปลน เรานิยมใชการใช Block มากกวาการใช Group เนือ่ งจาก Block สามารถชวยทําใหไฟล แบบแปลนมีขนาดเล็กมาก แต Group ก็เหมือนกับการคัดลอกวัตถุธรรมดา ไฟลจะขนาดใหญตามจํานวน ของวัตถุทถี่ กู คัดลอก

Note

12.61 LTSCALE | LTS ใชกําหนดคาสเกลแฟคเตอรรวม(Global Linetype scale)ใหกบั เสนประทุกๆ เสนในไฟลแบบแปลนใชงาน

Scale factor = 1

รูปที่ 12.63

Scale factor = 0.5

Scale factor = 2

Command: LTSCALE New scale factor <1.0000>:

{กําหนดคาสเกลแฟคเตอรของเสนประทีต่ อ งการ}

Note

นอกจากควบคุ มสเกลรวม(Global Linetype scale)ของเส นประทุกเส นแลว เรายังสามารถปรับ สเกลยอย(Local linetype scale) ใหกับเสนประแตละเสนได โดยใชคําสั่ง Modify4Properties แลวคลิกบนเสนประทีต่ อ งการปรับสเกล แลวปอนคาสเกลแฟคเตอรเขาไปในอิดทิ บอกซ Linetype Scale

Note

คําสั่ง LTSCALE จะไมมผี ลตอเสนเต็ม(Continuous) แตจะมีผลตอเสนประแบบตางๆ เทานั้น

12.62 Draw4Point4Divide | DIVIDE | DIV | ใชสําหรับแบงเสนตรงหรือเสนโคงออกเปนสวนๆ เทาๆ กัน เมือ่ ใชคําสัง่ นีโ้ ปรแกรมจะเขียนจุด(Points)ซึง่ มีระยะหาง ระหวางจุดเทาๆ กันบนเสนตรงหรือเสนโคงทีน่ ํามาแบงดังรูปที่ 12.64 Point Style = Point size = 2%

กอ นใชคําสั่ง

chap-12.PMD

รูปที่ 12.64

381

หลังใชคําสั่ง

แบงเสนออกเปน 10 สวนเทาๆ กัน

หลังใชคําสั่ง

13/10/2549, 1:33

382 {จากรูปที่ 12.64 (ซาย)} {คลิกบนเสนตรงหรือเสนโคงทีต่ อ งการแบงออกเปนสวนๆ เทากัน} the number of segments or [Block]: {พิมพจํานวนเซกเมนตของเสนทีต ่ อ งการแบงออก เปนสวนๆ เทาๆ กันหรือพิมพ B เพือ่ เลือกใชบล็อคในการแบงเสน ในทีน่ พี้ มิ พ 10 แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 12.64 (กลาง) สังเกตุวา แทบจะไมมอี ะไรเปลีย่ นแปลง}

Command: _divide

2D Drafting

Select object to divide: Enter

Note

เมือ่ แบงเสนดวยคําสัง่ DIVIDE แลวเราจะไมเห็นความเปลี่ยนแปลงใดๆ เนือ่ งจากโปรแแกรมจะสราง จุด(Points)ซึ่งมีขนาดเล็กมากบนเสนที่ถกู เลือกโดยมีระยะหางเทาๆ กัน เนือ่ งจากจุดตางๆ ที่ถูกสราง ขึ้นมานั้นมีขนาดเล็กมากและถูกเสนที่เราเลือกทับอยู เราจึงไมสามารถมองเห็นจุดแบงเสนได หาก ตองการมองเห็นจุดทีถ่ กู สรางขึน้ มา เราสามารถกําหนดขนาดของจุดใหมขี นาดใหญกวาเดิม ซึง่ จะมอง เห็นไดชัดเจนหลังจากที่แบงเสนแลว โดยใชคําสั่ง Format4Point Style จากเมนูบารซึ่งจะปรากฏ ไดอะล็อคขึ้นมา เราสามารถเลือกรูปแบบและขนาดของจุด(Point Size)ได

Note

อันทีจ่ ริง คําสัง่ DIVIDE นีไ้ มไดแบงแยกเสนออกเปนหลายๆ สวนจริงๆ คําสัง่ นีเ้ พียงแตจะสรางจุดขึน้ มาตรง จุดตางๆ ทีแ่ บงเสนเทานัน้ เสนทีถ่ กู แบงยังเปนวัตถุเดิมและมีความยาวเทาเดิมไมไดมกี ารเปลีย่ นแปลง

12.62.1 ขัน้ ตอนการใชบล็อคแบงเสน จากรูปที1่ 2.65 (ซาย) หากตองการสรางตาราง โดยแบงเสนตรงในแนวตัง้ เสนใดเสนหนึง่ ออกเปน 5 สวนเทาๆ กันดังรูปที่ 12.66 สิง่ แรกทีเ่ ราตองทําก็คอื เลือกเสนทีจ่ ะใชในการแบงออกเปน 5 สวนเทาๆ กัน เราสามารถใชเสนหมายเลข 1 หรือ 2 เปนเสนที่ถกู แบง แตไมสามารถใชเสนหมายเลข 3 เพราะเสนหมายเลข 3 ยาวเกินออกไปนอกขอบเขตที่เราตอง การแบงเสนในการแบงเสนเพือ่ สรางตาราง เราสามารถใชบล็อคมาชวย โดยสรางบล็อคจากเสนหมายเลข 5 โดยมี ขัน้ ตอนดังตอไปนี้

รูปที่ 12.65

Note

chap-12.PMD

1.

เปดไฟล 12-382-65.dwg จากโฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM แนบทายหนังสือคูม อื

2.

จากรูปที่ 12.65 (ซาย) เขียนเสนตรง เพื่อทีจ่ ะนําไปสรางบล็อคสําหรับแบงเสน โดยใชคําสั่ง Draw4Line คลิกบนปุม (Mid point) เมือ่ ปรากฏมารคเกอร แลวคลิกจุดที่ 1 คลิกบน ปุม (Perpendicular) เมือ่ ปรากฏมารคเกอร ตรงจุดที่ 3 แลวคลิกซาย แลวคลิกขวาเพือ่ ออกจากคําสั่ง จะปรากฏดังรูปที่ 12.65 (ขวา)

3.

จากรูปที่ 12.65 (ขวา) สรางบล็อคจากเสนหมายเลข 5 โดยใชคําสัง่ Draw4Block4Make จะปรากฏไดอะล็อค Block Definition ตัง้ ชือ่ บล็อค Hor ในแถบรายการ Name แลวคลิกบน ปุม Pick Point จะปรากฏขอความ Specify insertion base point: เพือ่ กําหนดจุดสอดแทรกของ บล็อค เปดโหมด # ใหคลิกตรงจุดที่ 4 ไดอะล็อคจะกลับมาปรากฏบนจอภาพ คลิก บนปุม Select object แลวคลิกบนเสนหมายเลข 5 แลวคลิกขวา คลิกบนปุม เรดิโอ Delete เพือ่ ลบ เสนดังกลาวออกจากพื้นที่วาดภาพ แลวคลิกปุม OK เพื่อออกจากไดอะล็อค กอนการใชคําสัง่ Draw4Block4Make เราจะตองใชคําสัง่ Format4Unit เพือ่ กําหนดหนวยวัด ใน Insertion scale ใหตรงกับหนวยวัดที่เราจะกําหนดในการสรางบล็อคเสียกอน มิฉะนั้น บล็อคจะ เปลีย่ นแปลงขนาดไมถกู ตองตามทีเ่ ราตองการ หลังจากทีส่ รางบล็อคดวยคําสัง่ นี้แลว

382

13/10/2549, 1:33

กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ 4.

383

ใชคําสัง่ Draw4Point4Divide

หรือพิมพคําสัง่ ผานคียบ อรดดังนี้

{จากรูปที่ 12.65 (ขวา)} Select object to divide: {คลิกบนเสนตรงในแนวตัง้ หมายเลข 6 ซึง่ เปนเสนทีต ่ อ งการแบง} /Block: B {พิมพตวั อักษร B เพือ ่ เลือกใชบล็อคในการแบงเสน} Block name to insert: HOR {พิมพชอ ื่ บล็อค HOR แลวกดปุม Q} Align block with object? N {พิมพตวั อักษร N แลวกดปุม  Q} Number of segments: 5 {พิมพจาํ นวน 5 เซกเมนตทต ี่ อ งการ เสนในแนวตัง้ จะถูกแบงออกเปน 5 สวน เทาๆ กันโดยใชบล็อค HOR ซึง่ เปนเสนในแนวนอนดังรูปที่ 12.66 } Command: _divide

รูปที่ 12.66

ในการแบงเสนสรางตารางโดยใชบล็อคมาทําการแบงเสน เมือ่ ปรากฏบรรทัดขอความ Align block with object? เราตองการ พิมพ N หรือ No เสมอ มิฉะนัน้ บล็อคเสนตรงจะถูกปรับใหเอียงตามเสนที่ถกู แบง ซึง่ เราไมตอ งการใหเปนเชนนั้น

Note

12.63 Draw4Point4Measure | MEASURE | ME | ใชสําหรับแบงเสนตรงหรือเสนโคงออกเปนสวนๆ เทาๆ กัน โดยกําหนดระยะหางของแตละสวนทีต่ อ งการแบงดังรูปที่ 12.67

กอ นใชคําสั่ง

รูปที่ 12.67

หลังใชคําสั่ง

แบงเสนออกเปน 10 สวนเทาๆ กัน

หลังใชคําสั่ง

{จากรูปที่ 12.67 (ซาย)} Select object to measure: {คลิกบนเสนตรงหรือเสนโคงทีต ่ อ งการแบง} Specify length of segment or [Block]: 50 {พิมพระยะหางเปนหนวยวัดของ AutoCAD ของ เซกเมนตทตี่ อ งการแบงหรือพิมพ B เพือ่ เลือกใชบล็อคในการแบงเสน จะปรากฏดังรูปที่ 12.67 (กลาง) สังเกตุวา เราจะยังมองไมเห็นจุดทีถ่ กู สราง} Command: _measure

chap-12.PMD

Note

การแบงเสนออกเปนระยะเทาๆ กันของคําสัง่ MEASURE จะเริม่ ตนแบงเสนทีถ่ กู เลือกโดยนับจากจุดที่ เราใชเมาสคลิก

Note

คําสั่งนี้มีลักษณะการใชงานเหมือนกับคําสั่ง DIVIDE ทุกประการ เพียงแตแตกตางกันตรงที่คําสั่ง DIVIDE กําหนดจํานวนเซกเมนตทั้งหมดที่ตองการแบง สวนคําสั่ง MEASURE กําหนดระยะหาง ระหวางจุดแบงเสนแตละจุด คําสั่ง MEASURE มีวิธีการใชงานเหมือนกับคําสั่ง DIVIDE สามารถใช บล็อคชวยในการแบงเสนไดเชนเดียวกัน

383

13/10/2549, 1:33

384 หากตองการสรางตารางเหมือนกับคําสั่ง DIVIDE เราสามารถทําตามขั้นตอนการใชบล็อคในการ แบงเสนของคําสัง่ DIVIDE ไดเชนเดียวกัน เพียงแตเปลีย่ นจํานวนเซกเมนตในบรรทัดขอความ Number of segments: เปนระยะหางในบรรทัดขอความ Specify length of segment: ในขอ 4 เทานั้น

Note

2D Drafting

12.64 ‘CAL นอกจากเราจะสามารถใช ‘CAL หรือ Calculator นีเ้ ปนเครือ่ งคิดเลขในการคํานวณธรรมดาแลว เรายังสามารถใช ‘CAL เปนเครื่องมือที่ ชวยในการคํานวณตําแหนงที่แมนยําพื้นที่วาดภาพได คําสั่งนี้ เปนคําสั่ งทรานสแพเรนท (Transparent Command) ซึง่ หมายความวาเราสามารถเรียกคําสัง่ นีอ้ อกมาใชงานไดในระหวางทีอ่ ยูท า มกลางคําสัง่ ใดๆ แตตองพิมพเครื่องหมาย ‘ นําหนา CAL เสมอ สวนใหญแลวเรามักจะใช ‘CAL ชวยในการกําหนดตําแหนงที่ แมนยําบนพืน้ ทีว่ าดภาพรวมกับออฟเจกทสแนป(Object Snap)ในโหมดตางๆ โดยใชตวั อักษร 3 ตัวแรกของออฟเจกท สแนป อาทิ เชน END, MID, CEN, INT และอืน่ ๆ เปนตน ในการใช ‘CAL เราสามารถใชตัวเลขจํานวนจริง(Real) จํานวนเต็ม(Integer)และฟงชัน่ (Functions) เชือ่ มเขาดวยกันดวยโอเปอรเรเตอร + (บวก), - (ลบ), * (คูณ), / (หาร), ^ (ยกกําลัง)ในกลุม เอกซเพรสชัน่ ภายในเครือ่ งหมาย ( ) ดังนี้ CAL (3^2+14-5*3+4/2) {กําหนดเอกซเพรสชัน่ } {โปรแกรมจะคํานวณตามลําดับ 3^2 = 9, 5*3 = 15, 4/2 = 2, ð 9+14-(+15)+2 = 10 ซึง่ ผลทีไ่ ดจากการคํานวณในเอกซเพรสชัน่ คือ 10}

Command:

>> Expression: 10.0

12.64.1 การใชออฟเจกทสแนปรวมกับ CALCULATOR เราสามารถใชออฟเจกทสแนปโหมดตางๆ ในฟงชัน่ คําสั่ง CAL เมื่อใชออฟเจกทสแนปในเอกซเพรสชั่น โปรแกรม จะบอกใหเลือกวัตถุโดยใชออฟเจกทสแนปโหมดทีร่ ะบุในฟงชัน่ เมือ่ ไดเลือกวัตถุเรียบรอยแลว โปรแกรมจะนําคาทีไ่ ด จากการเลือกวัตถุไปคํานวณตามทีร่ ะบุในเอกซเพรสชัน่ นัน้ ถาใชออฟเจกทสแนปแทนฟงชัน่ ในเอกซเพรสชัน่ เราจะใช ตัวอักษร 3 ตัวแรกของออฟเจกทสแนปและจะปรากฏเคอรเซอรออฟเจกทสแนปในเอกเพรสชัน่ เปนรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั เปรียบเทียบกับเคอรเซอรอน่ื ๆ ดังรูปที่ 12.68 รูปที่ 12.68 เคอรเซอรออฟเจกทสแนป ปรากฏเมื่อใชรวมกับ ‘CAL

Note

เคอรเซอรออฟเจกท สแนปในโหมดปกติ

เคอรเซอรสําหรับเลือกวัตถุ

ในการใช ‘CAL รวมกับโหมดตางๆ ของออฟเจกทสแนป เราจะตองปดโหมดออฟเจกทสแนป(Object Snap)เสียกอน (สังเกตุได จากปุม OSNAP บนบรรทัดแสดงสถานะจะตองปรากฏเปนตัวอักษรสีเทา ออน) หากออฟเจกทสแนปเปดอยู เราจะตองใชปมุ ฟงชัน่ คีย #เพือ่ ปดโหมดออฟเจกทสแนปเสียกอน โปรแกรมจึงจะทํางานไดถกู ตอง

12.64.2 ออฟเจกทสแนปโหมด(Object snap modes) โหมดตางๆ ของออฟเจกทสแนปทีส่ ามารถนํามาใชรว มกับ Calculator ได จะใชตวั อักษร 3 ตัวแรกของออฟเจกทสแนป ดังตอไปนี้

chap-12.PMD

384

13/10/2549, 1:33

กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ

385

ฟงชัน่

ออฟเจกทสแนป

คําอธิบาย

END MID INT EXT CEN QUA TAN PER PAR INS NOD NEA

ENDpoint MIDpoint INTersect EXTension CENter QUAdrant TANgent PERpendicular PARallel INSertion NODe NEArest

จุดปลายเสน จุดกึง่ กลางเสน จุดตัดระหวางเสนสองเสน จุดตอเสน จุดศูนยกลางของวงกลม 0, 90, 180, 270 องศาของวงกลม จุดสัมผัส จุดตัง้ ฉาก จุดขนาน จุดสอดแทรกของบล็อคหรือตัวอักษร จุด(Point) จุดที่ใกลทสี่ ุด

12.64.3 ขัน้ ตอนการใช ‘CAL ในโหมด (END+END)/2 จากรูปที่ 12.69 หากเราตองการเขียนวงกลมรัศมี 10 หนวย โดยกําหนดใหจดุ ศูนยกลางของวงกลมอยูท กี่ งึ่ กลางระหวาง ปลายเสนตรง ในแนวนอนทัง้ สองดังรูปที่ 12.69 (ขวา) โดยปกติ เราจะตองเขียนเสนตรงชัว่ คราวเชือ่ มตอปลายเสนตรง ในแนวนอนทั้งสองเสียกอนดังรูปที่ 12.69 (ซาย) เพื่อที่จะสามารถใชออฟเจกทสแนป MID Point ในการกําหนดจุด ศูนยกลางของวงกลม เมือ่ เขียนวงกลมเรียบรอยแลว จึงลบเสนตรงชัว่ คราวนัน้ ทิง้ ไป แตวธิ ดี งั กลาวไมเหมาะสมทีจ่ ะ นํามาใชงาน เพราะเราจะตองเสียเวลาในการเขียนเสน แลวก็ลบเสนทิง้ ไป ถาเราใช ‘CAL เขามาชวยเราสามารถทีจ่ ะ กําหนดตําแหนงจุดศูนยกลางของวงกลมใหอยูก ึ่งกลางระหวางปลายเสนทัง้ สองไดอยางรวดเร็ว กอนอืน่ เปดไฟล 12-385-69.dwg จากโฟลเดอร \Exercise แผน DVD-ROM แนบทายหนังสือคูม ือ แลวใชคําสัง่ Draw4Circle4 Center, Radius ดังตอไปนี้

กอ นใชคําสั่ง

รูปที่ 12.69

หลังใชคําสั่ง

{จากรูปที่ 12.69 (ซาย) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด} Specify center point for circle or [3P/2P/Ttr (tan tan radius)]: 'CAL {เรียกคําสัง่ ‘CAL ออกมาใชงาน} >> Expression: (END+END)/2 {กําหนดเอกซเพรสชัน ่ ระหวางปลายเสน(END)และปลายเสน (END)หารดวย 2} >> Select entity for END snap: {เลือ ่ นเคอรเซอรสเี่ หลีย่ มจัตรุ สั ใหครอบคลุมปลายเสนจุดที่ 1 แลวคลิกซาย} >> Select entity for END snap: {เลือ ่ นเคอรเซอรสเี่ หลีย่ มจัตรุ สั ใหครอบคลุมปลายเสนจุดที่ 2 แลวคลิกซาย} Command: _circle

chap-12.PMD

385

13/10/2549, 1:33

386

(116.421 112.562 0.0)

{โปรแกรมรายงานจุดคอรออรดเิ นทของจุดศูนยกลางของวงกลม} 10 {พิมพรศั มี 10 หนวย จะปรากฏดังรูปที่

Specify radius of circle or [Diameter] <10.0000>:

12.69 (ขวา)}

2D Drafting

Note

หากออฟเจกทสแนปอยูใ นสถานะเปด โปรแกรมจะทํางานผิดพลาดในทันที ซึง่ จะไดตาํ แหนงไมถกู ตอง

Note

ในการใช ‘CAL ในโหมดปลายเสนบวกปลายเสนหารสองหรือ (END+END/2) เราสามารถใชตวั อักษร ยอ MEE แทนได

Note

ใน AutoCAD 2006 มีออฟเจกทสแนปใหม Mid Between 2 Points โดยกดปุม S แลวคลิกเมาสขวา แลวเลือก Mid Between 2 Points ไดจากช็อทคัดเมนูซึ่งมีวิธีการใชงานเหมือนกับ (END+END)/2 ทุกประการและสามารถใชงานแทนกันได เพราะมีจุดประสงคในการหาจุดกึ่งกลางเชนเดียวกัน

12.64.4 ขัน้ ตอนการใช ‘CAL ในโหมด (MID+CEN)/2 จากรูปที่ 12.48 หากเราตองการเขียนวงกลมรัศมี 10 หนวย มีจดุ ศูนยกลางของวงกลมอยูร ะหวาง จุดกึง่ กลางระหวางเสนตรงในแนวตัง้ (1) กับจุด ศูนยกลางของวงกลม (2) กอนอื่น เปดไฟล 12-386-70.dwg จากแผน DVD-ROM แนบทาย หนังสือคู มือ แลวใชคําสั่ง Draw4 Circle4 Center, Radius ดังตอไปนี้

กอ นใชคําสั่ง

รูปที่ 12.70

หลังใชคําสั่ง

{จากรูปที่ 12.70 (ซาย) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด} {เรียกคําสัง่ ‘CAL ออกมาใชงาน} >> Expression: (MID+CEN)/2 {กําหนดเอกซเพรสชัน ่ ระหวางกึง่ กลางเสน(MID)และจุดศูนยกลางวงกลม (CEN)หารดวย 2} >> Select entity for MID snap: {เลือ ่ นเคอรเซอรสเี่ หลีย่ มจัตรุ สั ใหครอบคลุมจุดกึง่ กลางเสนตรงจุดที่ 1 แลวคลิกซาย} >> Select entity for CEN snap: {เลือ ่ นเคอรเซอรสเี่ หลีย่ มจัตรุ สั ไปบนเสนขอบของวงกลมตรงจุดที่ 2 แลวคลิกซาย} (115.113 167.585 0.0) {โปรแกรมรายงานจุดคอรออรดเิ นทของจุดศูนยกลางของวงกลม} Specify radius of circle or [Diameter] <8.7703>: 10 {พิมพรศ ั มี 10 หนวย จะปรากฏดังรูปที่ 12.70 (ขวา)} Command: _circle

Specify center point for circle or [3P/2P/Ttr (tan tan radius)]: 'CAL

Note

chap-12.PMD

เราสามารถเลือกใช (MID+CEN)/2 หรือ (CEN+MID)/2 หากใช (MID+CEN)/2 เราจะตองเลือกจุด กึ่งกลางของเสนตรงกอน เลือกจุดศูนยกลางวงกลม แตถาเราใช (CEN+MID)/2 เราจะตองเลือกจุด ศูนยกลางของวงกลมกอนเลือกจุดกึง่ กลางของเสนตรง

386

13/10/2549, 1:33

กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ

387

12.64.5 ขัน้ ตอนการใช ‘CAL ในโหมด (CEN+CEN+CEN)/3 จากรูปที่ 12.71 หากตองการเขียนวงกลมรัศมี 10 หนวย มีจุดศูนยกลางวงกลมอยูร ะหวางจุดศูนยกลางวงกลมทัง้ 3 วง กอนอื่น เปดไฟล 12-387-71.dwg จากแผน DVD-ROM แนบทายหนังสือคูมือ แลวใชคําสัง่ Draw4Circle4 Center, Radius ดังตอไปนี้

กอ นใชคําสั่ง Command: _circle

หลังใชคําสั่ง

รูปที่ 12.71

{จากรูปที่ 12.71 (ซาย) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด} {เรียกคําสัง่ ‘CAL

Specify center point for circle or [3P/2P/Ttr (tan tan radius)]: 'CAL

ออกมาใชงาน} (CEN+CEN+CEN)/3 {กําหนดเอกซเพรสชัน่ ระหวางจุดศูนยกลาง(CEN)บวกจุด ศูนยกลาง(CEN)บวก จุดศูนยกลาง(CEN)หารดวย 3} >> Select entity for CEN snap: {เลือ ่ นเคอรเซอรสเี่ หลีย่ มจัตรุ สั ไปบนเสนขอบของวงกลมตรงจุดที่ 1 แลวคลิกซาย} >> Select entity for CEN snap: {เลือ ่ นเคอรเซอรสเี่ หลีย่ มจัตรุ สั ไปบนเสนขอบของวงกลมตรงจุดที่ 2 แลวคลิกซาย} >> Select entity for CEN snap: {เลือ ่ นเคอรเซอรสเี่ หลีย่ มจัตรุ สั ไปบนเสนขอบของวงกลมตรงจุดที่ 3 แลวคลิกซาย} (410.235 190.152 0.0) โปรแกรมรายงานจุดคอรออรดเิ นทของจุดศูนยกลางของวงกลม} Specify radius of circle or [Diameter] <8.7703>: 10 {พิมพรศ ั มี 10 หนวย จะปรากฏดังรูปที่ 12.71 (ขวา)} >> Expression:

12.65 การใชพอยทฟว เตอร(Point Filters)

,

,

,

,

,

Point filters ใชสําหรับแยกคาคอรออรดเิ นทออกจากจุดทีก่ าํ หนดเก็บไวชวั่ คราวเพือ่ ทีจ่ ะนําคาคอรออรดเิ นทนัน้ ออกมา รวมกับคาคอรออรดิเนทของจุดทีก่ ําหนดตอไป โดยเก็บคา X หรือ Y ของจุดคอรออรดเิ นททีใ่ ชพอยทฟว เตอรกําหนด เปนจุดแรกไวในหนวยความจํา แลวจึงนําไปรวมกับคา X หรือ Y ของจุดคอรออรดเิ นททีก่ าํ หนดจุดตอไป

กอ นใชคําสั่ง

chap-12.PMD

387

รูปที่ 12.72

หลังใชคําสั่ง

13/10/2549, 1:33

388

จากรูปที่ 12.72 (ซาย) หากเราตองการเขียนวงกลม วงหนึง่ รัศมี 10 หนวยโดยมีจุดศูนยกลางของวงกลมอยูร ะหวาง จุดตัดในแนวตั้ ง (1) และจุดตั้ งในแนวนอน (2) เราสามารถใชพอยทฟวเตอรชวย โดยการแยกคา X ของจุด คอรออรดเิ นทที่ (1) ออกมา เพือ่ นําไปรวมกับคา Y ของจุดที่ (2) โดยมีการใชงานดังนี้

2D Drafting

{จากรูปที่ 12.72 (ซาย) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะเปด} .X {พิมพ .X เพือ่ แยกคา X ออกจากจุดที่ 1} of {เลือ่ นเคอรเซอรไปบนจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร ใหคลิกซาย} (need YZ): .Y {พิมพ .Y เพือ ่ แยกคา Y ออกจากจุดที่ 2} of {เลือ่ นเคอรเซอรไปบนจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏ มารคเกอร ใหคลิกซาย} (need Z): {โปรแกรมจะถามคา Z ซึง่ ใชใน 3 มิติ ในทีน ่ เี้ ราคลิกเมาสซา ย ณ ตําแหนงใดๆ บนพืน้ ทีว่ าดภาพ เพือ่ ใชคา Z เทากับ 0 จะปรากฏจุดศูนยกลางของวงกลม ณ จุดทีเ่ ราตองการ} Specify radius of circle or [Diameter] <10.0000>: 10 {พิมพรศ ั มีวงกลม 10 หนวยจะปรากฏ ดังรูปที่ 12.72 (ขวา)} Command: _circle

Specify center point for circle or [3P/2P/Ttr (tan tan radius)]:

Note

อันที่จริงในบรรทัดขอความ (need YZ): จากตัวอยางที่ผานมานี้ เราไมจําเปนตองพิมพ .Y ก็ได เรา สามารถใช Object snap ในโหมด MID point แลวคลิกตรงจุดที่ 2 ไดทันที เพราะโปรแกรมตองการ ใหเรากําหนดคา YZ ซึ่งหมายถึงคา Y สวน Z นั้นใน 2 มิติเทากับศูนยเสมอ เพราะฉะนั้นจึงไมจําเปน ตองใชพอยทฟวเตอร .Y ในบรรทัดขอความ (need YZ): ก็ได

Note

พอยทฟว เตอรมจี ดุ ประสงคในการใชงานเหมือนกับ TRACKING ทุกประการคือหาจุดตัดในแนวนอนและ แนวตัง้ ระหวางจุดคอรออรดเิ นท แตการใช TRACKING คอนขางงายและสะดวกกวามาก ดังนัน้ ผูเ ริม่ ใช โปรแกรมจึงควรใช TRACKING ซึง่ งายกวา สวนผูท ตี่ อ งการศึกษาการเขียนแบบในระบบ 3 มิตคิ วรทีจ่ ะ ศึกษาการใชพอยทฟว เตอรใหเปนทีเ่ ขาใจเพราะวา TRACKING ไมสามารถนําไปใชงานในระบบ 3 มิติ ได อยางไรก็ตาม TRACKING สามารถนําไปใชในระนาบ 2 มิตใิ นระบบ 3 มิตไิ ดเทานัน้

12.66 LAYERP | ใชคาํ สัง่ LAYERP หรือคลิกบนปุม ไอคอน สําหรับเรียกคืนสถานะเดิมของเลเยอรตา งๆ กลับมาใชงาน โดยไมตอ ง เสียเวลาปรับสถานะตางๆ ของแตละเลเยอรดวยตนเอง หากตองการใชคําสัง่ นี้ ตองแนใจวาคําสัง่ LAYERPMODE อยูในสถานะ ON

12.67 การแปลงโหมดไฟลแบบแปลน(Color to Named Tools) หากเราใชคาํ สัง่ File4New เพือ่ เริม่ ไฟลแบบแปลนใหม แลวเลือก Template file .dwt ทีม่ ชี อื่ ลงทายดวย -Named Plot Styles.dwt แบบแปลนใหมนนั้ จะอยูใ นโหมดการใชชอื่ สไตลควบคุมการพิมพ โดยจะใชตารางควบคุมคุณสมบัติ ในการพิมพฟอรแมต .stb แตหากเราเริม่ ไฟลแบบแปลนใหม โดยเลือก Template file .dwt ทีม่ ชี อื่ ลงทายดวย -Color Dependent Plot Styles.dwt หรือมีชอื่ เปน acadiso.dwt หรือ acad.dwt แบบแปลนใหมนนั้ จะอยูใ นโหมดการใชรหัสสี ควบคุมการพิมพ โดยจะใชตารางควบคุมคุณสมบัตใิ นการพิมพฟอรแมต .ctb เมือ่ แบบแปลนถูกสรางขึน้ มาในโหมด ใดก็ตาม เราสามารถทีจ่ ะเปลีย่ นโหมดของแบบแปลนนัน้ ได โดยใชคําสัง่ CONVERTPSTYLES เพือ่ แปลงไฟลแบบ แปลนจากโหมด Color-dependent plot styles เปนโหมด Named plot style หรือแปลง ไฟลแบบแปลนจากโหมด Named plot style เปนโหมด Color-dependent plot styles ไดเชนเดียวกัน นอกจากนี้ ยังมีคําสัง่ CONVERTCTB ซึง่ ใชสําหรับแปลงตารางควบคุมคุณสมบัตเิ สน(Plot style table)จากฟอรแมต .ctb ไปเปน .stb อีกดวย

chap-12.PMD

388

13/10/2549, 1:33

กลุ มคําสั่งสารพัดประโยชนตางๆ

389

Note

นอกจากการใชคําสั่ง File4New เพื่อเริ่มแบบแปลนใหมในโหมด Color-dependent plot style หรือ Named plot style แลว หากมีการใชคําสั่ง Tools4Options ð Plotting เราก็สามารถเลือกโหมด Use Color-dependent plot styles หรือ Use named plot styles ไดเชนเดียวกัน โดยจะมีผลก็ตอเมื่อ ออกจากโปรแกรม AutoCAD แลวเรียกโปรแกรม AutoCAD ใหมอกี ครั้ง

Note

คําสัง่ CONVERTCTB และคําสัง่ CONVERTPSTYLES ทัง้ สองนีจ้ ะตองเรียกผานบรรทัด Command: ของ AutoCAD เทานั้น

12.67.1 การแปลงแบบแปลนจากโหมด Color เปนโหมด Named มีขนั้ ตอนดังนี้ 1.

ใชคําสัง่ File4Open เปดไฟลแบบแปลนโหมด Color ออกมาใชงาน ในทีน่ ที้ ดลองเปดไฟล 12-389-73.dwg จากโฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM แนบทายหนังสือ

Note

เนื่องจากไฟลที่เปดออกมาจากแผน DVD-ROM จะอยูในโหมดอานเพียงอยางเดียว จึงไมสามารถ แปลงไฟลได เราจะตองใช คําสัง่ File4Save As บันทึกลงไฟลใหมในโฟลเดอรใดๆ ในฮารดดิสคก็ได เสียกอน

Note

(Plot style control)ซึง่ ใชงานไมไดและอยูท างขวาสุดบนทูลบาร แถบรายการสีเทา Object properties บอกใหทราบวาเรากําลังอยูในโหมด Color-dependent plot style

2.

เริม่ แปลงตารางควบคุมคุณสมบัติ Color-dependent plot style table (.ctb) ใหเปน Named plot style table (.stb) เสียกอนโดยใชคําสัง่ ดังนี้ CONVERTCTB {พิมพคาํ สัง่ CONVERTCTB ผานคียบ อรด จะปรากฏไดอะล็อคสําหรับเลือก ไฟล .ctb ใหคน หาไฟล .ctb ในโฟลเดอร \Plot Styles ซึง่ ใชควบคุมการพิมพของแบบแปลน แลวคลิก Open จะปรากฏไดอะล็อค Create File .stb ใหตงั้ ชือ่ ไฟล แลวคลิกบนปุม Save}

Command:

3.

เริม่ แปลงไฟลแบบแปลน .dwg โหมด Color-depedent plot style ใหเปนโหมด Named plot style โดยพิมพคําสัง่ ดังนี้

Command: CONVERTPSTYLES {พิมพคาํ สัง่ CONVERTPSTYLES ผานคียบ  อรดจะปรากฏไดอะล็อค

แสดงคําเตือนวา เราควรแปลงไฟล .ctb ทีใ่ ชกบั ไฟลแบบแปลนใชงานใหเปนไฟล .stb เสียกอน ใหคลิกบนปุม OK จะปรากฏไดอะล็อคสําหรับเลือก ไฟล .stb ใหคลิกบนไฟล .stb ทีเ่ ราไดแปลงไว กอนแลวและคลิกปุม Open ไฟลแบบแปลนใชงานจะถูกแปลงเปนโหมด Named plot style}

Note

หลังทีแ่ บบแปลนถูกแปลงเปนโหมด Named plot style เราจะสังเกตุไดจากแถบรายการ (Plot style control) ทีเ่ คยปรากฏเปนสีเทา บัดนีไ้ ดเปลีย่ นเปนสีขาวและพรอมเลือกสไตลใชงานไดทนั ที

12.67.2 การแปลงแบบแปลนจากโหมด Named เปนโหมด Color มีขนั้ ตอนดังนี้ 1.

chap-12.PMD

ใชคําสัง่ File4Open เปดไฟลแบบแปลนโหมด Named ออกมาใชงาน ในทีน่ ลี้ องเปดไฟล 11-389-74.dwg จากโฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM

389

13/10/2549, 1:33

390 เนื่องจากไฟลที่เปดออกมาจากแผน DVD-ROM จะอยูในโหมดอานเพียงอยางเดียว จึงไมสามารถ แปลงไฟลได เราจะตองใช คําสั่ง File4Save As บันทึกลงไฟลใหมในโฟลเดอรใดในฮารดดิสคก็ได เสียกอน

Note

2D Drafting

Note

แถบรายการสีขาว

2.

บอกใหเราทราบวาเรากําลังอยูในโหมด Named plot style

เริม่ แปลงไฟลแบบแปลน .dwg โหมด Named plot style ใหเปนโหมด Color-dependent plot style โดยพิมพคําสัง่ ดังนี้

Command: CONVERTPSTYLES {พิมพคาํ สัง่ CONVERTPSTYLES ผานคียบ  อรดจะปรากฏไดอะล็อค

แสดงขอความเตือนการเปลีย่ นโหมดแบบแปลน ใหคลิกบนปุม OK ไฟลแบบแปลนใชงานจะ (Plot style control) ถูกแปลงเปนโหมด Color สังเกตุไดจากแถบรายการ ไดกลายเปนสีเทา}

12.68 Tools4Markup Set Manager | MARKUP | MSM | ใชสําหรับจัดการกับ Markup หรือคําอธิบายระบุตําแหนงในการแกไขแบบ แปลนซึง่ อยูใ นไฟลแบบแปลน .dwf ผูต รวจแบบจะใชโปรแกรม Autodesk DWF Composer ในการระบุตําแหนงและเขียนขอความทีจ่ ะบอกใหผเู ขียนแบบทราบ วาจะตองแกไขแบบแปลนตรงจุดใดและจะตองแกไขแบบแปลนอยางไรบาง เมือ่ ผูเ ขียนแบบใช Markup Set Manager ดังรูปที่ 12.73 เปดไฟล .dwf ทีไ่ ดรบั จากผูตรวจแบบแลว ผูเขียนแบบจะทราบทันทีวา จะตองแกไขแบบแปลนกีจ่ ดุ และแตละจุดอยู ณ ตําแหนงใดบาง โดยสามารถเปดไฟล .dwg โดยคลิกขวาบน แลวเลือก Open Sheet หรือคลิกขวาบนไอคอน แลวเลือก ไอคอน Open Markup เพือ่ แสดงจอภาพ ณ ตําแหนง Markup ไดอยางรวดเร็ว

รูปที่ 12.73

12.69 Tools4QuickCalc | QUICKCALC | QC |

เมื่อเรียกคําสัง่ นี้ จะปรากฏเครื่องคิดเลข QuickCalc ดังรูปที่ 12.74 เราสามารถใชเครือ่ งคิดเลขนีช้ ว ยในการคํานวณพืน้ ฐานหรือใชฟง ชัน่ การ คํานวณทางวิทยาศาสตร โดยคลิกแถบคําสัง่ Scientific หรือใชฟง ชัน่ ในการแปลงหนวยความยาว(Length) พืน้ ที(่ Area) ปริมาตร(Volumn) มุม(Angle)จากหนวยวัดหนึง่ ไปยังอีกหนวยวัดหนึง่ ไดอยางสะดวก เปนอันวาเราไดศกึ ษากลุม คําสัง่ สารพัดประโยชนตา งๆ ทีม่ อี ยูท งั้ หมด เรียบรอยแลว หากเราฝกฝนการใชคําสั่งตางๆ ในบทนี้ใหเกิดความ เขาใจและสามารถเลือกใชคําสัง่ ไดเหมาะสมกับสถานการณตา งๆ ใน การเขียนแบบแลว เราก็จะสามารถเขียนแบบไดอยางมีประสิทธิภาพ มากยิง่ ขึน้ รูปที่ 12.74

chap-12.PMD

*********************************

390

13/10/2549, 1:33

Related Documents

Autocad 2d
June 2020 26
Autocad 2d
August 2019 28
Autocad 2006 2d Chap-14
November 2019 2
Autocad 2006 2d Chap-12
November 2019 4
Autocad 2006 2d Chap-04
November 2019 4
Autocad 2006 2d Chap-18
November 2019 4