Autocad 2006 2d Chap-04

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Autocad 2006 2d Chap-04 as PDF for free.

More details

  • Words: 7,610
  • Pages: 36
กลุม คําสัง่ สําหรับการแกไขปรับแตงวัตถุ

คําสัง่ ในกลุม คําสัง่ สําหรับการแกไขปรับแตงวัตถุทเี่ กิดขึน้ ใหมมคี ําสัง่ JOIN เพียงคําสัง่ เดียว แตมหี ลายคําสัง่ ในกลุม นี้ ซึง่ ไดรบั การปรับปรุงเพิม่ ขีดความสามารถ อาทิ เชน คําสัง่ MOVE, COPY, OFFSET, ROTATE, SCALE, STRETCH, TRIM, EXTEND, CHAMFER สวนคําสัง่ อืน่ ๆ ในกลุม นีย้ งั คงมีการใชงานเหมือนเดิมทุกประการ ถึงแมวา แตละคําสัง่ ไดรบั การปรับปรุงเพิ่มเติมเพียงเล็กนอย แตกม็ ีประโยชนในการใชงานเปนอยางมาก เพราะจะชวยใหเราเสียเวลา ในการใชคําสัง่ ตางๆ ในการทํางานซ้ําๆ นอยลง ใน AutoCAD เรามักจะเรียกสิ่งทีเ่ ราสรางขึน้ จากคําสัง่ ตางๆ ทีไ่ ดอธิบายมาในบททีแ่ ลววา “วัตถุ” หรือ “ออฟเจกท” (Object) หากตองการทราบวาออฟเจกททถี่ กู สรางขึน้ เปนวัตถุประเภทใด ในเบือ้ งตนเราสามารถทราบไดจากคําสัง่ ที่ สรางออฟเจกทนนั้ ตัวอยาง เชน เสนตรงทีส่ รางจากคําสัง่ LINE เปนออฟเจกทประเภท Line เสนตรงทีส่ รางจากคําสัง่ PLINE เปนออฟเจกท Polyline เสนโคงทีส่ รางจากคําสัง่ ARC เปนออฟเจกท Arc วงกลมทีส่ รางจากคําสัง่ CIRCLE เปนออฟเจกท Circle จุดเล็กๆ ทีส่ รางจากคําสัง่ POINT เปนออฟเจกทประเภท Point อยางไรก็ตาม มีวตั ถุบางประเภท ซึ่งถูกสรางจากคําสัง่ พื้นฐานที่ถูกดัดแปลงมาจากคําสัง่ อื่น อาทิ เชน สี่เหลีย่ มผืนผาที่สรางจากคําสัง่ RECTANG ไมไดเปนวัตถุ Rectang เพราะคําสัง่ RECTANG เปนคําสั่งทีด่ ัดแปลงมาจากคําสัง่ PLINE สี่เหลี่ยมผืนผาจึงเปน ออฟเจกทประเภท Polyline รูปหลายเหลีย่ มทีส่ รางจากคําสัง่ POLYGON ก็เปนออฟเจกท Polyline เชนเดียวกัน เปนตน รูปที่ 4.1

Note

chap-04.PMD

วัตถุทั้งหมดที่เกี่ยวของกับการเขียนแบบ 2 มิติมีดังนี้คือ Line, Polyline, XLine, Ray, MLine, Arc, Circle, Spline, Ellipse, Point, Region, Text, MText, Field, Hatch, Block, Xref, Raster Image, Table และ Viewport ในเปอรสเปส วัตถุแตละประเภทมีคุณสมบัตติ ามประเภทของวัตถุนนั้ ตัวอยาง เชน เสนตรง Line ที่สรางดวยคําสั่ง LINE ในคราวเดียวแตมีการเขียนเสนหลายๆ สวนหรือหลาย เซกเมนต แตละเซกเมนตจะกลายเปนวัตถุแยกชิ้นเปนอิสระไมมีความหนา(Width) สวนเสนตรง โพลีไลนทถี่ ูกสรางจากคําสัง่ PLINE ในคราวเดียวแตมีการเขียนเสนหลายๆ เซกเมนต แตละเซกเมนต ยังคงเปนวัตถุชนิ้ เดียว ซึง่ สามารถกําหนดความหนา(Width)และมีสวนประกอบเปนเสนโคงได

93

13/10/2549, 1:26

94

กลุม คําสัง่ สําหรับการแกไขปรับแตงวัตถุมปี ระโยชนตอ การเขียนแบบเปนอยางมาก เนือ่ งจากในการเขียนแบบจริงดวย AutoCAD เรามักไมนิยมใชคําสั่งในการเขียนภาพที่กลาวมาในบทที่แลวเขียนชิ้นงานใหเสร็จสิ้ นในคราวเดียว เพราะวาถาหากทําเชนนั้น เราจะสิ้นเปลืองเวลาในการเขียนแบบเปนอยางมาก ในทางปฏิบัติ การเขียนแบบดวย AutoCAD เรามักเขียนเสนชิน้ งานใหเปนเสนรางคราวๆ แลวจึงตัด(Trim)เสนรางสวนเกินทีย่ น่ื ออกไปใหพอดี ซึง่ คลาย กับการเขียนแบบดวยมือดังตัวอยางในรูปที่ 4.2 (บน-ขวา) เปนรูปที่เขียนเสร็จเรียบรอยแลว สังเกตุวารูปดังกลาว ประกอบไปดวยเสนตรง 5 เสนและเสนโคง 1 เสน หากเราใชคําสัง่ LINE เขียนสวนทีเ่ ปนเสนตรงและ ใชคําสัง่ ARC เขียนเสนทีเ่ ปนสวนโคง จะเสียเวลา เปนอยางมาก เพราะการกําหนดขนาดเสนแตละ เสนและการกําหนดจุดศูนยกลางของสวนโคงและ กอ นใชคําสั่ง หลังใชคําสั่ง รัศมีไมอํานวยความสะดวกในการทํางานมากนัก ในทางตรงกันขาม กลับเปนอุปสรรคทีท่ าํ ใหใชเวลา ในการเขียนชิน้ งานมากขึน้ แตถา เปลีย่ นวิธเี ขียนใหม โดยเขี ยนสี่ เหลี่ ยมผื น ผ าและเขี ยนวงกลมรั ศมี เทากับสวนโคงขึน้ มาแทน โดยใชกงึ่ กลางดานบน ของสี่เหลี่ยมผืนผาเปนจุดศูนยกลางของวงกลม กอ นใชคําสั่ง หลังใชคําสั่ง รูปที่ 4.2 ดังรูปที่ 4.2 (บน-ซาย) แลวใชคําสั่งในการแกไข วัตถุตดั เสน(Trim)ทีไ่ มตอ งการทิง้ ไป เราจะสามารถ สรางชิน้ งานชิน้ เดียวกันไดรวดเร็วกวาวิธีเดิมมาก อีกตัวอยางหนึง่ ซึง่ มีลกั ษณะคลายๆ กัน จากรูปที่ 4.2 (ลาง-ขวา) เปนรูปชิ้นงานที่เขียนเสร็จเรียบรอยแลว สวนรูปที่ 4.2 (ลาง-ซาย) เปนเสนตรงและวงกลมทีเ่ ขียนเปนรูปรางคราวๆ ของชิน้ งาน หากเราเลือกใชคาํ สัง่ LINE และ ARC โดยพยายามเขียนเสนใหมคี วามยาวและมุมทีต่ อ งการ จะทําใหเรา เขียนภาพไดชา กวาการเขียนเสนรางขึน้ มากอนซึง่ ประกอบดวยเสนตรงและวงกลม แลวจึงใชคําสัง่ ในการแกไขวัตถุ ตัดเสน(Trim)เสนสวนเกินตางๆ ทิง้ ไป เพือ่ ใหไดรปู ทรงของชิน้ งานทีต่ อ งการ วิธนี เี้ ปนอีกวิธหี นึง่ ทีเ่ รานิยมใชงาน เราจะ เห็นไดวา คําสัง่ สําหรับการแกไขปรับแตงวัตถุทจี่ ะอธิบายตอไปอยางละเอียดในบทนีม้ เี ปนหัวใจสําคัญทีจ่ ะชวยใหเรา สรางชิน้ งานไดอยางรวดเร็ว โดยเฉลีย่ แลวในแบบแปลนหนึง่ เราจะใชคําสัง่ ในการแกไขปรับแตงวัตถุมากกวาคําสัง่ ในการเขียนวัตถุ ดังนัน้ เราจึงควรทีจ่ ะฝกฝนทักษะในการใชคําสัง่ ตางๆ ทุกคําสัง่ ในบทนีใ้ หสามารถใชงานไดอยางมี ประสิทธิภาพ คําสัง่ ทีใ่ ชในการแกไขปรับแตงวัตถุ มีรายละเอียดดังตอไปนี้

2D Drafting

4.1 Modify4Erase | ERASE | E | ใชสําหรับลบวัตถุออกจากแบบแปลน Command: _erase

{คลิกบนวัตถุหรือใชโหมดการเลือกแบบ Window หรือ Crossing แลวลอมกรอบวัตถุ ทัง้ หมดทีต่ อ งการลบ วัตถุทถี่ กู เลือกจะกลายเปนเสนประ} Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ยุตกิ ารใชคาํ สัง่ วัตถุทถี่ กู เลือกทัง้ หมดซึง่ ปรากฏเปน เสนประจะถูกลบทิง้ ไป} Select objects:

Note

chap-04.PMD

ในขณะที่ปรากฏบรรทัดขอความ Select objects: ของคําสั่งใดๆ เราสามารถใชตัวเลือก W, C, WP, CP, F, ALL, P, R, A และอื่นๆ ชวยใหเราเลือกวัตถุไดอยางรวดเร็ว (ดูรายละเอียดในหัวขอการเลือก วัตถุในบทที่ 2)

94

13/10/2549, 1:26

กลุ มคําสั่งสําหรับการแกไขปรับแตงวัตถุ

95

Note

อีกวิธีหนึ่งในการลบวัตถุ โดยไมตองเรียกคําสั่ง Erase ออกมาใชงาน ในขณะที่บรรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ เราสามารถคลิกบนวัตถุทตี่ อ งการลบ แลวกดปุม = (Delete) บนคียบ อรด วิธนี ี้ จะใชไดก็ตอเมื่อปรากฏเครื่องหมาย บนเช็คบอกซ Noun/verb selection ในคําสั่ง Tools4Options ð Selection ซึง่ ปกติ เปนคาที่โปรแกรมกําหนดมาใหอยูแลว

Note

เพื่อความรวดเร็วในการเลือกวัตถุในโหมด W (Window) และโหมด C (Crossing) เราไมจําเปนตอง พิมพตวั เลือก W หรือ C เขาไปในบรรทัดขอความ Select objects: เราสามารถใชเมาสคลิกบนพื้นที่วาด ภาพเพือ่ สรางกรอบสี่เหลีย่ มผืนผาชั่วคราวลอมรอบวัตถุ ถาเรากําหนดมุมแรกของสี่เหลี่ยมผืนผาจาก ทางซายและมุมทะแยงอยูทางขวาของวัตถุจะเปนการเลือกโหมด Window ถาเรากําหนดมุมแรกของ สี่เหลี่ยมผืนผาจากทางขวาและมุมทะแยงอยูทางซายของวัตถุจะเปนการเลือกโหมด Crossing

Note

หากเราไดลบวัตถุไปแลว ตองการเรียกวัตถุดังกลาวกลับคืนมา ใหคลิกบนปุมไอคอน

(Undo)

4.2 Modify4Copy | COPY | CO | ใชคําสัง่ นีส้ ําหรับคัดลอกวัตถุ(Objects)ดังรูปที่ 4.3

กอ นใชคําสั่ง

รูปที่ 4.3

หลังใชคําสั่ง

{จากรูปที่ 4.3 (ซาย) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะเปด} Select objects: {คลิกตรงจุดที่ 1 และ 2 เพือ ่ เลือกวัตถุแบบ Window} Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ยุตกิ ารเลือกวัตถุ} Specify base point or [Displacement] : {เลือ ่ นเคอรเซอรไปบนจุดที่ 3 แลว คลิกซายเมือ่ ปรากฏมารคเกอร หรือ เพือ่ กําหนดจุดฐานในการคัดลอก} Specify second point or <use first point as displacement>: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปบนจุดที่ 4 แลวคลิกซาย เมือ่ ปรากฏมารคเกอร หรือ จะปรากฏดังรูปที่ 4.3 (ขวา)} Specify second point or [Exit/Undo] <Exit>: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปบนจุดที่ 5, 6, 7 แลวคลิกซาย เมือ่ ปรากฏมารคเกอร หรือ เพือ่ กําหนดจุดแทนทีใ่ นการคัดลอก } Specify second point or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ยุตกิ ารใชคาํ สัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 4.3 (ขวา)} Command: _copy

Note

chap-04.PMD

เนื่องจากชิ้นงานที่ตองการคัดลอกประกอบไปดวยเสนตรงและเสนโคงแยกอิสระตอกัน ดังนั้น ใน บรรทัด Select objects: เราจะตองเลือกเสนสวนประกอบตางๆ ของชิน้ งานใหไดทงั้ หมด แตการคลิกลง บนวัตถุครั้งละ 1 ชิ้นทําใหเสียเวลาในการเลือกวัตถุเปนอยางมาก ดังนั้น จึงมีการคลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ เลือกวัตถุทงั้ หมดแบบ Window ในการเลือกแบบนี้ เราจะตองระวังไมใหกรอบสีเ่ หลีย่ มชัว่ คราวไป ครอบคลุมเสนที่ไมตอ งการเลือกทัง้ เสน แตสามารถพาดผานเสนทีไ่ มตอ งการบางสวนได เราจะตอง พยายามใหเสนทีไ่ มตอ งการเลือกไมสวนที่ยนื่ ออกไปนอกกรอบสี่เหลี่ยมชัว่ คราว

95

13/10/2549, 1:26

96

Note

สังเกตุวาในบรรทัดขอความ Specify base point or [Displacement] : จะมีตัวเลือก [Displacement] หากเราตองการทีจ่ ะคัดลอกวัตถุใหหา งจากตําแหนงเดิมตามระยะทีก่ ําหนด เราสามารถ คลิกขวาหรือ Q หรือพิมพ D เพื่อเลือก Displacement จะปรากฏขอความ Specify displacement <0.0000, 0.0000, 0.0000>: หากตองการคัดลอกวัตถุไปทางขวาในแนวนอนหางจากวัตถุตน ฉบับ 50 หนวย เราสามารถใชรเี ลทีฟคอรออรดเิ นท @50,0 หรือรีเลทีฟโพลารคอรออรดเิ นท @50<0 โดยไมตอ ง คลิกเพือ่ กําหนดจุด Base point หากตองการคัดลอกวัตถุลงดานลางในแนวดิง่ หางจากวัตถุตน ฉบับ 200 หนวย เราสามารถใชรเี ลทีฟคอรออรดเิ นท @0,-200 หรือรีเลทีฟโพลารคอรออรดเิ นท @200<270 โดยไม ตองคลิกเพื่อกําหนดจุด Base point ตัวเลือกนีเ้ ปนฟเจอรใหมของ AutoCAD 2006

2D Drafting

Note

จากรูปที่ 4.3 (ซาย) สังเกตุวา การระบุตาํ แหนงอางอิง(Base point)สําหรับการคัดลอกชิน้ งานบนบรรทัด ขอความ Specify base point or [Displacement] : เราจะตองใชจดุ ใดจุดหนึง่ บนชิน้ งาน ทีก่ าํ ลังจะคัดลอกเปนจุดฐาน ในทีน่ คี้ อื จุดที่ 3 แลวกําหนดจุดเดียวกัน ในทีน่ คี้ อื จุดที่ 4 ในบรรทัดขอความ Specify second point or <use first point as displacement>: การกระทําเชนนีเ้ พื่อใชระยะหางจากจุดที่ 3 และจุดที่ 4 เปนระยะหางของการคัดลอกวัตถุ รูปที่ 4.4

chap-04.PMD

Note

ในการคัดลอกวัตถุ เราจะตองมองใหออกวาจุดใดสมควรใชเปนจุด Base point จุดทีใ่ ชเปน Base point สวนมากจะอยูบนจุดใดจุดหนึ่งของชิ้นงานที่ตองการคัดลอกเสมอ แตก็ไมไดหมายความวา เราจะ สามารถใชจดุ ใดๆ บนชิน้ งานเปนจุด Base point ไดเสมอ เราจะตองพิจารณาตําแหนงทีจ่ ะนําวัตถุทตี่ อ ง การคัดลอกไปวางตรงเปาหมายดวยวามีจดุ ใดใหเราสามารถใชเปนจุด Second point แลวยอนกลับไป มองจุดเดียวกันบนชิน้ งานและพิจารณาวามีจดุ เดียวกันหรือไม ถามี แสดงวาจุดทีอ่ ยูบ นชิน้ งานนัน้ จะ ตองเปน Base point และจุดเดียวกันที่อยูใ นตําแหนงเปาหมายนั้นเปนจุด Second point เราจึงสามารถ คัดลอกชิน้ งานไปยังตําแหนงทีต่ อ งการไดอยางถูกตอง จากรูปที่ 4.4 ในการคัดลอกวัตถุ เราจะเห็นวาจุดที่ 1 จะตองแทนทีจ่ ุดที่ 5 ดังนัน้ เราสามารถเลือกใชจุดที่ 1 เปน Base point และจุดที่ 5 เปน Second point หากเลือกใชจุดที่ 4 เปน Base point เราจะตองใชจุดที่ 8 เปน Second point ในบางกรณี เราไมจําเปน ตองกําหนดจุด Base point บนชิ้นงานเสมอ หากชิ้นงานเปาหมายมีจุดอางอิงเดียวกันใหเลือกใชงาน เชน หากเรากําหนดจุดที่ 2 เปน Base point เราจะตองใชจุดที่ 6 เปน Second point หากเรากําหนดจุดที่ 3 เปน Base point เราจะตองใชจุดที่ 7 เปน Second point เราจะไมสามารถใชจุดที่ 9, 10, 11, 12 เปน จุด Base point ไดเนือ่ งจากไมมจี ุดเดียวกันทีส่ ามารถอางอิงไดในตําแหนงเปาหมายที่จะทําการคัดลอก ชิ้นงานไปวาง เมื่อเขาใจการกําหนดจุด Base point และ Second point แลว เราจะสามารถคัดลอกวัตถุ ไดอยางถูกตองและรวดเร็ว

Note

ในขณะที่ปรากฏบรรทัดขอความ Select objects: เราสามารถใชตัวเลือก W, C, WP, CP, F, ALL, P, R, A และอื่นๆ ชวยให เราเลือกวัตถุไดอยางรวดเร็ว (ดูรายละเอียดในหัวขอการเลือกวัตถุในบทที่ 2)

96

13/10/2549, 1:26

กลุ มคําสั่งสําหรับการแกไขปรับแตงวัตถุ

97

สังเกตุวา ใน AutoCAD 2006 ตัวเลือก Multiple ซึ่งใชสําหรับการคัดลอกวัตถุหลายๆ ชิ้นถูกยกเลิกไป แลวตัง้ แต AutoCAD 2005 เนือ่ งจากคําสัง่ Copy ของ AutoCAD 2006 เปนการคัดลอกแบบหลายๆ ชิน้ อยูแลวโดยอัตโนมัติ นอกจากจะคลิกขวา เพื่อยุตกิ ารใชคําสั่ง

Note

4.3 Modify4Mirror | MIRROR | MI | ใชคําสัง่ นีส้ ําหรับคัดลอกวัตถุแบบพลิกกลับในลักษณะกระจกเงาดังรูปที่ 4.5

กอ นใชคําสั่ง

รูปที่ 4.5

หลังใชคําสั่ง MIRRTEXT = 0

หลังใชคําสั่ง MIRRTEXT = 1

{จากรูปที่ 4.5 (ซาย)} {คลิกตรงจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ ใชโหมด Window เลือกวัตถุทตี่ อ งการคัดลอกแบบพลิกกลับ} Select objects: {คลิกขวาหรือ Q} Specify first point of mirror line: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปบนจุดที่ 3 แลวคลิกซายเมือ่ ปรากฏมารคเกอร แตถา ไมปรากฏมารคเกอร แสดงวา OSNAP อยูใ นสถานะปด เราสามารถกดปุม # เพือ่ เรียก OSNAP ใหออกมาทํางานหรือกดปุม S คางไว แลวเลือก End point จากเคอรเซอรเมนู แลวเลือ่ นเคอรเซอร ไปบนจุดที่ 3 เพือ่ กําหนดจุดแรกของแนวพลิกกลับ} หรือคลิกบนปุม ไอคอน Specify second point of mirror line: {เปดโหมดออรโธ(Ortho)โดยกดปุม  ฟงชัน่ คีย * เพือ่ บังคับ ใหเคอรเซอรเลือ่ นไดเฉพาะในแนวดิง่ เลือ่ นเคอรเซอรไปยังประมาณจุดที่ 4 หรือจุดใดๆ ในแนวดิง่ แลวคลิกซายหรือเลือ่ นเคอรเซอรไปบนจุดที่ 4 แลวคลิกซาย เมือ่ ปรากฏมารคเกอร หรือกดปุม แลวจึงเลือ่ น S คางไว แลวเลือก End point จากเคอรเซอรเมนูหรือคลิกบนปุม ไอคอน เคอรเซอรไปบนจุดที่ 4 เพือ่ กําหนดจุดทีส่ องของระนาบพลิกกลับ } Delete source objects? [Yes/No] : {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ใชตวั เลือก N โดยไมลบ วัตถุเดิม จะปรากฏภาพเหมือนแบบกระจกเงาดังรูปที่ 4.5 (ขวา)} Command: _mirror

Select objects:

chap-04.PMD

Note

ในการคัดลอกวัตถุแบบกระจกเงานี้ ระนาบพลิกกลับ(Mirror line)เปนสิง่ กําหนดทิศทางการพลิกกลับ ของวัตถุที่ถูกเลือก ในการกําหนดตําแหนงของระนาบพลิกกลับ เราสามารถใชเมาสคลิกบนพื้นที่ วาดภาพหรือพิมพคา คอรออรดเิ นทหรือใชออฟเจกทสแนป เพือ่ กําหนดตําแหนงบนบรรทัด Specify first point of mirror line: และบรรทัด Specify second point of mirror line: ได

Note

ในกรณีทตี่ อ งการคัดลอกแบบพลิกกลับชิน้ งานทีม่ ตี วั อักษรหรือขอความเปนสวนประกอบ หากไมตอ ง การใหตวั อักษรพลิกกลับตามชิน้ งานไปดวย ใหพมิ พตวั แปรระบบ MIRRTEXT ผานบรรทัด Command: แลวกําหนดคา 0 หากตองการใหตัวอักษรพลิกกลับแบบกระจกเงา ใหกําหนดคา 1 โดยที่โปรแกรม กําหนดมาให MIRRTEXT = 0 ไมมีการพลิกกลับตัวอักษร

97

13/10/2549, 1:26

98

4.4 Modify4Offset | OFFSET | O | ใชสําหรับสรางเสนคูข นานกับเสนตรง เสนโคง วงกลมหรือวงรีทมี่ อี ยูแ ลวดังรูปที่ 4.6

2D Drafting

รูปที่ 4.6 Before

After Command: _offset

{จากรูปที่ 4.6 ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด}

Current settings: Erase source=No Layer=Source OFFSETGAPTYPE=0

10 {กําหนดระยะหาง ของเสนคูข นานทีจ่ ะสรางหรือเลือกตัวเลือก T, E, หรือ L} Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงหรือเสนโคงตนฉบับ} Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>{คลิก ณ ตําแหนงใดๆ บน พืน้ ทีว่ าดภาพดานทีต่ อ งการใหปรากฏเสนคูข นานหรือพิมพตวั เลือก M หรือ U} Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงหรือเสนโคงทีต ่ อ งการสรางเสน คูข นานเสนตอไป} Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit> {คลิก ณ ตําแหนงใดๆ บน พืน้ ทีว่ าดภาพดานทีต่ อ งการใหปรากฏเสนคูข นาน} Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกขวาหรือ Q เพือ ่ ยุตกิ ารใชคาํ สัง่ } Specify offset distance or [Through/Erase/Layer] :

เราสามารถใชตัวเลือก Through โดยการพิมพ T ในบรรทัด Specify offset distance or [Through] <0.0000>: จะ ปรากฏขอความ Specify through point: ใหคลิกตรงตําแหนงซึ่งเสนคูข นานที่ตอ งการจะลากผาน ซึง่ เราสามารถที่จะ สรางเสนคูขนานผานจุดใดๆ ก็ได หากตองการสรางเสนคูขนานใหม แลวลบเสนตนฉบับ ใหเลือกตัวเลือก Erase โดยพิมพ E จะปรากฏขอความ Erase source object after offsetting? [Yes/No] : ใหพิมพ Y หากตองการ เปลีย่ นเลเยอรของเสนคูขนานไปอยูใ นเลเยอรใหม กอนใชคําสั่งนี้ ใหกําหนดเลเยอรเปาหมายเปนเลเยอรใชงานใน แถบรายการควบคุมเลเยอร แลวเรียกคําสั่งนี้ออกมาใชงาน เลือกตัวเลือก Layer โดยพิมพ L เมือ่ ปรากฏขอความ Enter layer option for offset objects [Current/Source] <Source>: ใหพมิ พ C เพือ่ เลือกเลเยอรเปาหมายเปนเลเยอรใชงาน หากตองการใหคําสัง่ นี้ทํางานอยางตอเนื่องโดยเลือกเสนตนฉบับเพียงครั้งเดียวแตสามารถสรางเสนคูขนานหลายๆ เสนโดยไมตอ งเสียเวลาเลือกวัตถุตนฉบับใหมทกุ ครั้ง ใหเลือกตัวเลือก Multiple โดยพิมพ M

4.5 Modify4Array | ARRAY | AR | ใชสําหรับคัดลอกวัตถุ(Objects)คราวละหลายๆ รูป ซึง่ แบงการคัดลอกออกเปน 2 แบบคือแบบเปนแถวและคอลัมน (Rectangular array)ดังรูป 4.7 และแบบหมุนรอบแกน(Polar array)ศูนยกลางของวงกลมดังรูปที่ 4.11

4.5.1 การใชคาํ สัง่ Array แบบ Rectangular

เมื่อเรียกคําสั่ง Array ออกมาใชงาน จะปรากฏไดอะล็อค Array ดังรูปที่ 4.8 (ซาย) โดยที่โปรแกรมกําหนดให Rectangular Array เปนโหมดใชงาน ใหคลิกบนปุม ไอคอน Select objects แลวเลือกวัตถุทตี่ อ งการคัดลอกแบบ อะเรย ในทีน่ ี้คลิกบนสี่เหลี่ยมจัตรุ ัสตรงจุดที่ 1 แลวคลิกขวา เพื่อกลับสูไ ดอะล็อค กําหนดจํานวนแถวในอิดทิ บอกซ Rows กําหนดจํานวนคอลัมนในอิดทิ บอกซ Columns ปอนระยะหางระหวางแถวเขาไปในอิดิทบอกซ Row Offset

chap-04.PMD

98

13/10/2549, 1:26

กลุ มคําสั่งสําหรับการแกไขปรับแตงวัตถุ

กอ นใชคําสั่ง

99

รูปที่ 4.7

หลังใชคําสั่ง

ปอนระยะหางระหวางคอลัมนเขาไปในอิดทิ บอกซ Column Offset ในทีน่ ี้ Row Offset = -45, Column Offset = 40 แลวคลิกบนปุม Preview เพือ่ ตรวจ สอบความถูกตอง จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 4.8 (ขวา) หากการคัดลอกแบบอะเรยปรากฏไมถกู ตอง ใหคลิกบนปุม Modify หากปรากฏอะเรยถกู ตอง แลว ใหคลิกบนปุม Accept เพือ่ ยอมรับ รูปที่ 4.8

Note

ในการกําหนดระยะหางระหวางแถว(Row Offset)และระยะหางระหวางคอลัมน(Column Offset) แทนที่เราจะพิมพคาระยะหางเขาไปในไดอะล็อค เราสามารถคลิกบนปุม ที่อยูบนแถวเดียวกับ Row Offset แลวคลิกจุดสองจุดบนพื้นที่วาดภาพ เพื่อกําหนดระยะหางระหวางแถวหรือคลิกบนปุม ที่อยูบนแถวเดียวกับ Column Offset แลวคลิกจุดสองจุดบนพื้นที่วาดภาพ เพื่อกําหนดระยะหาง ระหวางคอลัมนหรือคลิกบนปุม แลวคลิกจุดสองจุดบนพืน้ ทีว่ าดภาพ เพือ่ กําหนดระยะหางระหวาง แถวและคอลัมนไปพรอมๆ กันในคราวเดียว

Note

หากเราตองการสราง Rectangular Array ทีท่ ํามุมเอียงใดๆ เราสามารถปอนคามุมเอียงหรือคลิกบนปุม แลวคลิกจุดสองจุดบนพืน้ ทีว่ าดภาพ เพือ่ กําหนดมุมเอียงทีต่ อ งการดังตัวอยางรูปที่ 4.9 โดยกอนอืน่ ในขณะที่อยูบนไดอะล็อค Array คลิกบนปุม Select Objects แลวเลือกเสนขั้นบันไดโดยคลิกจุดที่ 1 และ 2 ตามลําดับเพื่อเลือกวัตถุแบบ Window แลวกําหนดมุมเอียง โดยคลิกบนปุม ของ Angle of array แลวคลิกตรงจุดที่ 3 และ 4 คาของมุมเอียงจะปรากฏบนไดอะล็อค กําหนดจํานวนแถว Row = 1 จํานวน Column = 5 แลวกําหนดระยะหางระหวางคอลัมน โดยคลิกบนปุม ของ Column Offset แลวคลิกตรงจุดที่ 3 และ 4 แลวคลิกบนปุม Preview จะปรากฏดังรูปที่ 4.9 (ขวา)

กอ นใชคําสั่ง

chap-04.PMD

99

รูปที่ 4.9

หลังใชคําสั่ง

13/10/2549, 1:26

100

4.5.2 การใชคาํ สัง่ Array แบบ Polar ในการคัดลอกวัตถุแบบหมุนรอบแกน เมื่อเรียก คําสั่ง Array ออกมาใชงาน จะปรากฏไดอะล็อค Array คลิกบนปุม เรดิโอ Polar Array เพือ่ เขาสูโ หมด การคัดลอกแบบ Polar Array จะปรากฏไดอะล็อค Select ดังรูปที่ 4.10 ใหคลิกบนปุมไอคอน objects แลวเลือกวัตถุทตี่ อ งการคัดลอกแบบอะเรย ในทีน่ ี้คลิกตรงจุดที่ 1 และ 2 ของรูปที่ 4.11 (ซาย) เพื่อเลือกวัตถุทั้งหมดแบบ Window แลวคลิกขวา เพือ่ กลับสูไ ดอะล็อค คลิกบน ปุม ของ Center point เพือ่ กําหนดจุดหมุนของอะเรย ในทีน่ คี้ ลิกตรง รูปที่ 4.10 จุดที่ 3 แลวกําหนดจํานวนนับในอิดทิ บอกซ Total number of items ในที่นกี้ ําหนดจํานวนนับเทากับ 8 นอกนั้นใชคา ที่โปรแกรมกําหนดมาให ตอไปลองคลิกบนปุม Preview เพื่อตรวจสอบความถูกตอง จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 4.8 (ขวา) หากการคัดลอกแบบอะเรยปรากฏ ไมถกู ตอง คลิกบนปุม Modify หากปรากฏอะเรยถกู ตอง คลิกบนปุม Accept จะปรากฏดังรูปที่ 4.11 (ขวา)

2D Drafting

โดยปกติ Polar Array จะถูกสรางขึน้ รอบ จุดศูนยกลางของวงกลม 1 รอบหรือ 360 องศา หากเราต องการสร า งอะเรย ไม ครบรอบของวงกลม เราสามารถระบุคา มุมทีต่ องการในอิดิทบอกซ Angle to fill คามุมเปนบวก อะเรยจะหมุนทวนเข็ม นาฬิกา คามุมเปนลบ อะเรยจะหมุนตาม รูปที่ 4.11 เข็มนาฬิกาดังรูปที่ 4.12 เรายังสามารถ เปลีย่ นวิธกี ารสรางอะเรยในแถบรายการ Method โดยเราสามารถเปลีย่ นจากจํานวนรวมและมุมรวม(Total number of items & Angle to fill)หรือจํานวนรวมและมุมของแตละชิน้ (Total number of items & Angle between items)หรือมุมรวม และมุมของแตละชิน้ (Angle to fill & Angle between items) Total number of items =8 Angle to fill = -90

Total number of items =8 Angle to fill = 180

Total number of items =8 Angle to fill = 90

Total number of items =8 Angle to fill = -180

รูปที่ 4.12

Total number of items =16 Angle to fill = 270

chap-04.PMD

100

Total number of items =16 Angle to fill = -270

Total number of items =16 Angle to fill = 360

13/10/2549, 1:26

กลุ มคําสั่งสําหรับการแกไขปรับแตงวัตถุ

101

4.6 Modify4Move | MOVE | M | ใชสําหรับเคลือ่ นยายวัตถุ(Objects)ไปยังตําแหนงใหมดงั รูปที่ 4.13

กอ นใชคําสั่ง

รูปที่ 4.13

หลังใชคําสั่ง

{จากรูปที่ 4.13 (ซาย) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะเปด} {คลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ ใชโหมดการเลือกวัตถุทตี่ อ งการเคลือ่ นยายแบบ Window หรือ คลิกบนจุดที่ 3 เพียงจุดเดียวก็ได เนือ่ งจากเสนสวนประกอบตางๆ ของอางน้าํ ถูกทําใหเปนบล็อค เสนสวนประกอบของอางน้าํ จึงถูกเลือกทัง้ หมด เมือ่ ใชเมาสคลิกบนเสนใดๆ ของอางน้าํ } Select objects: {คลิกขวาหรือ Q} Specify base point or [Displacement] : {เลือ ่ นเคอรเซอรไปบนจุดที่ 4 แลว คลิกซายเมือ่ ปรากฏมารคเกอร หรือ เพือ่ กําหนดจุดฐานหรือจุดอางอิงในการเคลือ่ นยาย} Specify second point or <use first point as displacement>: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปบนจุดที่ 5 แลวคลิกซายเมือ่ ปรากฏมารคเกอร หรือ หรือคลิกบนปุม แลวคลิกจุดที่ 5 เพือ่ กําหนด ระยะแทนทีจ่ ะปรากฏดังรูปที่ 4.13 (ขวา)} Command: _move

Select objects:

chap-04.PMD

Note

โดยปกติ หากเราตองการเคลือ่ นยายวัตถุไปยังตําแหนงใดๆ ในบรรทัด Select objects: เราจะเลือกวัตถุที่ ตองการเคลือ่ นยายทัง้ หมดเสียกอน แลวคลิกขวาเพื่อออกจากโหมด Select objects: จากนัน้ จึงกําหนด จุด Base point ณ ตําแหนงใดๆ ทีส่ ามารถใชเปนจุดอางอิง โดยปกติ จุด Base point มักจะตองอยูใกลๆ หรืออยูบ นจุดใดจุดหนึง่ ของวัตถุทตี่ อ งการเคลือ่ นยายเสมอ แลวจึงกําหนดจุด Displacement ณ ตําแหนง เปาหมายที่ตองการเคลื่อนยายวัตถุ

Note

จากรูปที่ 4.13 (ซาย) หากตองการเคลื่อนยายอางน้ําหางจากตําแหนงเดิมไปทางซายในแนวนอน 0.5 หนวย ในบรรทัดขอความ Specify base point or [Displacement] : ใหคลิกขวา เพื่อ ใชตัวเลือก Displacement จะปรากฏขอความ Specify displacement <0.0000, 0.0000, 0.0000>: ให พิมพแอบโซลุทคอรออรดเิ นท -0.5,0 หรือแอบโซลุทโพลารคอรออรดเิ นท 0.5<180

Note

จากรูปที่ 4.13 (ซาย) หากตองการเคลื่อนยายอางน้ําหางจากตําแหนงเดิมไปทางซายในแนวนอน 0.1 และลงดานลางในแนวดิ่ง 0.1 หนวย ในบรรทัดขอความ Specify base point or [Displacement] : ใหคลิกขวา เพือ่ ใชตวั เลือก Displacement จะปรากฏขอความ Specify displacement <0.0000, 0.0000, 0.0000>: ใหพิมพแอบโซลุทคอรออรดเิ นท -0.1,-0.1

101

13/10/2549, 1:26

102

4.7 Modify4Rotate | ROTATE | RO | ใชสําหรับหมุนวัตถุ(Objects)ใหเอียงทํามุมรอบจุดศูนยกลางทีก่ าํ หนดดังรูปที่ 4.14

กอ นใชคําสั่ง Command: _rotate

รูปที่ 4.14

2D Drafting

หลังใชคําสั่ง

{จากรูปที่ 4.14 (ซาย) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะเปด}

Current positive angle in UCS: ANGDIR=counterclockwise ANGBASE=0

{คลิกตรงจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ ใชโหมดการเลือกแบบ Window} Select objects: {พิมพ R เลือกนําวัตถุบางชิน ้ ออกจากกลุม การเลือก} Remove objects: {คลิกตัวอักษรตรงจุดที่ 3 และคลิกบนเสนตรงจุดที่ 4 เพือ ่ นําออกจากกลุม การเลือก} Remove objects: {คลิกขวาหรือ Q เพือ ่ ออกจากโหมดการเลือกวัตถุออกจากกลุม } Specify base point: {กําหนดจุดหมุน โดยเลือ ่ นเคอรเซอรไปตรงจุดทีต่ อ งการใชเปนจุดหมุน จนกระทัง่ ปรากฏมารคเกอร หรือ ตรงจุดที่ 5 แลวคลิกซาย หากไมปรากฏมารคเกอรดงั กลาว เรา สามารถคลิกบนปุม ไอคอน หรือ แลวเลือ่ นเคอรเซอรกลับไปยังจุดที่ 5 แลวคลิกซาย} Specify rotation angle or [Copy/Reference] <0>: 215 {กําหนดคามุม 215 องศา เพือ ่ หมุน วัตถุทวนเข็มนาฬิกา แลวกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 4.14 (ขวา)} Select objects:

Note

จากตัวอยางขางบนนี้ เราสามารถเลือกวัตถุทตี่ อ งการหมุนโดยใชโหมด Window แลวนําวัตถุบางชิ้น ที่ถกู เลือก แตไมตอ งการเลือกออกจากกลุม โดยใชตวั เลือก R หรือ Remove

Note

ในบรรทัด Specify rotation angle or [Copy/Reference] <0>: เราสามารถพิมพ C เพื่อเลือกตัวเลือก Copy หากไมตอ งใหโปรแกรมลบวัตถุตน ฉบับ ตัวเลือก Copy เปนฟเจอรใหมใน AutoCAD 2006

กอ นใชคําสั่ง

chap-04.PMD

102

รูปที่ 4.15

หลังใชคําสั่ง

13/10/2549, 1:26

กลุ มคําสั่งสําหรับการแกไขปรับแตงวัตถุ

103

การหมุนวัตถุทไี่ ดแสดงตัวอยางไปแลวนัน้ เปนการหมุนโดยอางอิงจากคามุมเดิมของวัตถุทตี่ อ งการหมุน หากเราไม ทราบวาคามุมเดิมของวัตถุทตี่ อ งการหมุนทํามุมกีอ่ งศาดังรูปที่ 4.15 (ซาย) แตเราตองการหมุนวัตถุดงั กลาวใหชไี้ ปที่ 45 องศา จากแนวแกน X ดังรูปที่ 4.15 (ขวา) เราจะใชคา มุม 45 องศาในบรรทัดขอความ Rotation angle ไมได เนือ่ ง จากคามุม 45 องศาจะทําใหวตั ถุหมุนจากมุมเดิมเพียง 45 องศาทวนเข็มนาฬิกา แตมุมทีต่ องการนัน้ วัดจากแกน X (0 องศา) ทํามุม 45 องศา ดังนัน้ คามุมทีต่ อ งหมุนวัตถุจากการประมาณดวยสายตาคราวๆ ประมาณ 100 กวาองศา ถาเราจะระบุ Rotation angle เราตองใชคําสัง่ DIST วัดมุมปจจุบนั ของวัตถุเสียกอน แลวจึงนําคาดังกลาวมาใชเปน ตัวตัง้ แลวลบดวยคามุม 45 องศา จึงจะไดคา มุมทีน่ ําไปกําหนดในบรรทัด Rotation angle แตถา หากเราไมตอ งการเสีย เวลาวัดมุมและหักลบเพือ่ ใหไดคา มุมทีต่ อ งการ เราสามารถใชตวั เลือก Reference ในคําสัง่ ROTATE ดังขัน้ ตอนตอไปนี้ Command: _rotate

{จากรูปที่ 4.15 (ซาย) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะเปด}

Current positive angle in UCS: ANGDIR=counterclockwise ANGBASE=0

{คลิกตรงจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ ใชโหมดการเลือกแบบ Window} Select objects: {คลิกขวาหรือ Q} Specify base point: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปบนจุดที่ 3 แลวคลิกซาย เมือ่ ปรากฏมารคเกอร หรือ หรือ เพือ่ กําหนดจุดหมุน} Specify rotation angle or [Reference]: R {พิมพ R เพือ ่ เลือกตัวเลือก Reference} Specify the reference angle <0>: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปบนจุดที่ 3 แลวคลิกซาย เมือ่ ปรากฏมารคเกอร เพือ่ กําหนดจุดแรกของมุมอางอิง} Specify second point: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปบนจุดที่ 4 แลวคลิกซาย เมือ่ ปรากฏมารคเกอร หรือ หรือ เพือ่ กําหนดจุดทีส่ องของมุมอางอิง} Specify the new angle: 45 {พิมพคา มุม 45 องศา ชิน ้ งานจะถูกหมุนไปเอียงทํามุม 45 องศากับ แนวแกน X ดังรูปที่ 4.15 (ขวา)} Select objects:

4.8 Modify4Scale | SCALE | SC | ใชสําหรับเปลีย่ นขนาดวัตถุ(Objects)หรืออีกนัยหนึง่ คือการเปลีย่ นสเกลแฟคเตอรใหกบั วัตถุ Scale factor = 1/5 หรือ 0.2

กอ นใชคําสั่ง

รูปที่ 4.16

หลังใชคําสั่ง

{จากรูปที่ 4.16 (ซาย) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะเปด} Select objects: {คลิกตรงจุดที่ 1 เพือ ่ เลือกวัตถุทตี่ อ งการเปลีย่ นสเกล เนือ่ งจากวัตถุเปนบล็อคจึงไมจาํ เปน ตองเลือกวัตถุแบบ Window} Select objects: {คลิกขวาหรือ Q} Specify base point: {คลิกบนปุม  (Nearest) เลือ่ นเคอรเซอรไปบนจุดที่ 2 แลวคลิกซาย เมือ่ ปรากฏ มารคเกอร เพือ่ กําหนดจุดยึดในการเปลีย่ นสเกลใหอยูบ นเสนตรง ณ จุดทีใ่ กลเมาสคลิกมากทีส่ ดุ } Command: _scale

chap-04.PMD

103

13/10/2549, 1:26

104 {กําหนดคาสเกลแฟคเตอร 0.2 เพือ่ ลดขนาดของวัตถุลงจาก เดิม 5 เทาหรือ 20 เปอรเซนตของขนาดเดิม}

Specify scale factor or [Reference]:

2D Drafting

Note

ถาตองการเปลีย่ นสเกลใหวตั ถุมขี นาดใหญขนึ้ จากเดิมสองเทาจะตองใชสเกลแฟคเตอรเทากับ 2 ถาตอง การเปลี่ยนสเกลใหวัตถุมีขนาดใหญขึ้นจากเดิมหาเทาจะตองใชสเกลแฟคเตอรเทากับ 5 ถาตองการ เปลีย่ นสเกลใหวตั ถุมีขนาดเล็กลงจากเดิมสิบเทาจะตองใชสเกลแฟคเตอรเทากับ 0.1

จากการเปลี่ยนสเกลวัตถุขา งตนนี้ ใชในกรณีที่ตองการเปลี่ยนสเกลโดยอางอิงจากขนาดเดิมของวัตถุ หากเรา จําเปนตองเปลีย่ นสเกลวัตถุโดยทีต่ องการใหสว นใดสวนหนึ่งของวัตถุมีความยาวที่ตองการ เราจะตองใชตัวเลือก Reference แทน ตัวอยาง เชน สมมุติวาเราตองการเปลี่ยนสเกลของสัญลักษณบานประตูดังรูปที่ 4.17 (ซาย) เพือ่ ใหความกวางของประตูมขี นาดฟตพอดีกบั ชองประตูดงั รูปที่ 4.17 (ขวา) ในขณะนีเ้ ราไมทราบวาสัญลักษณบาน ประตูมขี นาดเทาใด แตเราทราบวา เมือ่ เปลีย่ นสเกลเสร็จเรียบรอยแลว สัญลักษณบานประตูจะตองมีขนาดฟตพอดีกบั วงกบผนัง ซึง่ มีระยะเทากับ 2 เมตร การเปลีย่ นสเกลในลักษณะนี้ เราไมสามารถกําหนดสเกลแฟคเตอรได (ถึงทําไดกจ็ ะ ตองกดเครือ่ งคิดเลข ซึง่ จะเสียเวลาพอสมควร) เราสามารถใชตวั เลือก Reference ในการแกไขปญหาไดดงั ตอไปนี้

กอ นใชคําสั่ง

รูปที่ 4.17

หลังใชคําสั่ง

{จากรูปที่ 4.17 (ซาย) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะเปด} {คลิกตรงจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ เลือกสัญลักษณบานประตูแบบ Window} Select objects: {คลิกขวาหรือ Q} Specify base point: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปบนจุดที่ 3 แลวคลิกซาย เมือ่ ปรากฏมารคเกอร } Specify scale factor or [Copy/Reference] <5.0000>: R {พิมพ R เพือ ่ เลือกตัวเลือก Reference} Specify reference length <1>:{เลือ ่ นเคอรเซอรไปบนจุดที่ 3 แลวคลิกซาย เมือ่ ปรากฏมารคเกอร } Specify second point: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปบนจุดที่ 4 แลวคลิกซาย เมือ่ ปรากฏมารคเกอร } Specify new length or [Points] <1.0000>: 2 {พิมพ 2 เพือ ่ กําหนดความกวางใหมของบานประตู หรือเลือ่ นเคอรเซอรไปบนจุดที่ 5 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร ใหคลิกซาย สัญลักษณบานประตูจะ ขยายพอดีระยะ 2 หนวยดังรูปที่ 4.17 (ขวา)} Command: _scale

Select objects: 1 found

chap-04.PMD

Note

เนือ่ งจากสัญลักษณบานประตูซงึ่ ประกอบไปดวยเสนตรงและเสนโคงตางๆ ไมไดถกู ทําใหเปนบล็อค จึงมีสว นประกอบเปนวัตถุหลายชิน้ ดังนัน้ ในบรรทัด Select objects: เราจึงเลือกวัตถุโดยลอมกรอบบาน ประตูแบบ Window

Note

ในบรรทัด Specify scale factor or [Copy/Reference] <0.0000>: เราสามารถพิมพ C เพื่อเลือกตัวเลือก Copy หากไมตอ งใหโปรแกรมลบวัตถุตน ฉบับ ตัวเลือก Copy เปนฟเจอรใหมใน AutoCAD 2006

104

13/10/2549, 1:26

กลุ มคําสั่งสําหรับการแกไขปรับแตงวัตถุ Note

105

ในบรรทัด Specify new length or [Points] <1.0000>: หากเราไมตองการพิมพระยะ ตองการใชเมาส คลิกจุด 2 จุด เพื่อกําหนดความยาวใหม เราสามารถพิมพ P เพื่อเลือกตัวเลือก [Points] จะปรากฏ ขอความ Specify first point: คลิกตรงจุดใดๆ เพือ่ กําหนดจุดเริ่มตน จะปรากฏขอความ Specify second point: คลิกตรงจุดสิ้นสุดของระยะ New length ที่ตอ งการอางอิง

4.9 Modify4Stretch | STRETCH | S | ใชสําหรับยืดวัตถุใหขยายออกหรือหดวัตถุใหสั้นลงดังรูปที่ 4.18 คําสัง่ นีม้ ปี ระโยชนตอการเขียนแบบเปนอยางมาก เนือ่ งจากเมือ่ มีการกําหนดขนาดชิน้ งานผิดพลาด เราสามารถแกไขขนาดของชิน้ งาน โดยไมตอ งลบและสรางชิน้ งาน ขึน้ มาใหม หากตองการแกไขระยะหาง 50 หนวยในรูปที่ 4.18 (ซาย) ใหกลายเปน 70 หนวย เราสามารถใชคําสัง่ ดังนี้

กอ นใชคําสั่ง Command: _stretch

รูปที่ 4.18

หลังใชคําสั่ง

{จากรูปที่ 4.18 (ซาย)}

Select objects to stretch by crossing-window or crossing-polygon...

{คลิกจุดที่ 1 และ 2 ตามลําดับ เพือ่ เลือกวัตถุในโหมด Crossing} Select objects: {คลิกขวาหรือ Q} Specify base point or [Displacement] : {คลิกจุดที่ 3 หรือจุดใดๆ บนพืน ้ ที่ วาดภาพ เพือ่ กําหนดจุดอางอิง หรือคลิกขวา เพือ่ เลือกตัวเลือก Displacement} Specify second point or <use first point as displacement>: @20<0 {พิมพคารีเลทีฟ คอรออรดเิ นท @20<0 หรือเลือ่ นเมาสทางขวาในแนวนอน แลวพิมพ 20 แลวกดปุม Q เพือ่ กําหนดระยะหาง 20 หนวยไปทางขวา ระยะหางของชองวางทีเ่ ปดอยูจ ะเปลีย่ นจาก 50 หนวยเปน 70 หนวยดังรูปที่ 4.18 (ขวา)} Select objects:

chap-04.PMD

Note

ในการทําให Objects ยืดหรือหดดวยคําสั่ง Stretch เราจะตองเลือก Objects ในโหมด Crossing เทานั้น การใชเมาสคลิกเพือ่ กําหนดกรอบสีเ่ หลีย่ มชัว่ คราวลอมรอบสวนทีต่ อ งการทําใหยดื หรือหดจากขวาไป ทางซายเปนการกําหนดการเลือกแบบ Crossing โดยอัตโนมัติ

Note

ความยาวที่ยืดออกไปของชิ้นงานขึ้นอยูกับระยะทางจากจุด Specify base point or [Displacement] : ถึงจุด Specify second point or <use first point as displacement>: หรือจุดทีถ่ ูกแทน ที่ซึ่งเทากับระยะทาง 20 หนวยไปตามแนวแกน +X หรือ @20<0 องศา

Note

ในบรรทัดขอความ Specify base point or [Displacement] : เราสามารถคลิกขวา เพื่อใชตัวเลือก Displacement จะปรากฏขอความ Specify displacement <0.0000, 0.0000, 0.0000>: ใหพมิ พแอบโซลุทคอรออรดเิ นท 20,0

105

13/10/2549, 1:26

106

2D Drafting รูปที่ 4.19

Note

จากรูปที่ 4.18 (ซาย) หากตองการแกไขระยะ 45 หนวยใหกลายเปน 25 หนวย ในบรรทัดขอความ Select objects: ใหคลิกจุดที่ 4 และจุดที่ 5 เพื่อเลือกแบบ Crossing ในบรรทัด Specify base point... ใหคลิก ณ ตําแหนงใดๆ บนพื้นที่วาดภาพ ในบรรทัด Specify second point... พิมพ @20<180 จะปรากฏดังรูปที่ 4.19 (ซาย)

Note

จากรูปที่ 4.18 (ซาย) หากตองการแกไขระยะ 60 หนวยใหกลายเปน 30 หนวย ในบรรทัดขอความ Select objects: ใหคลิกจุดที่ 6 และจุดที่ 7 เพื่อเลือกแบบ Crossing ในบรรทัด Specify base point... ใหคลิก ณ ตําแหนงใดๆ บนพืน้ ทีว่ าดภาพ ในบรรทัด Specify second point... พิมพ @30<270 จะปรากฏ ดังรูปที่ 4.19 (ขวา)

4.10 Modify4Length | LENGTHEN | LEN | ใชสําหรับเพิม่ หรือลดความยาวของเสนตรง LINE, PLINE หรือเสนโคง ARC โดยไมตอ งมีเสน ขอบเขต(Boundary) มาชวยในการตอเสน เราสามารถกําหนดความยาวทีเ่ พิม่ ขึน้ หรือลดลง(Delta)เปอรเซนตทเี่ พิม่ ขึน้ หรือลดลง(Percent) ความยาวจริงของเสน(Total) หรือใชเมาสลากเสนใหยาวขึน้ ได(Dynamic)ดังรูปที่ 14.20 Percent = 50

กอ นใชคําสั่ง

รูปที่ 4.20

หลังใชคําสั่ง

Command: _lengthen

{คลิกบนเสนทีต่ อ งการทราบความยาว} {โปรแกรมจะรายงานคาความยาวเสนปจจุบนั } Select an object or [DElta/Percent/Total/DYnamic]: DE {พิมพตวั เลือกเพือ ่ เลือกวิธใี นการ ตอเสน} Enter delta length or [Angle] <0.0000>: 50 {พิมพคา ของตัวเลือกในการตอเสน} Select an object or [DElta/Percent/Total/DYnamic]: Current length: 100.0000

DElta ใชสําหรับเพิม่ ความยาวเสน โดยกําหนดระยะทีเ่ พิม่ ขึน้ (Delta)ทีต่ อ งการ แลวคลิกปลายเสนดานทีต่ อ งการเพิม่

ความยาว การใชเมาสคลิกปลายเสนแตละครัง้ จะทําใหความยาวเพิม่ ขึ้นทุกครัง้ ตามทีร่ ะบุใน Delta เมื่อเลือกตัวเลือก DElta โปรแกรมจะใหเรากําหนดคาทีเ่ พิม่ ขึน้ หรือเลือกตัวเลือก Angle เพือ่ ใชกบั เสนโคงเพือ่ ระบุมมุ ทีเ่ พิม่ ขึน้ ของสวน โคง(หากกําหนดคา Delta เปนลบ จะทําใหเสนหดสัน้ ลง) Percent ใชสําหรับกําหนดความยาวโดยอางอิงจากขนาด เดิมของเสนที่ ถูกเลือก โดยมีหนวยความยาวเปนเปอรเซ็ นต ถาต องการลดความยาวเสนลงครึ่ งหนึ่งใหปอนคา

chap-04.PMD

106

13/10/2549, 1:26

กลุ มคําสั่งสําหรับการแกไขปรับแตงวัตถุ

107

เปอรเซ็นตเทากับ 50 ถาตองการเพิ่มความยาวเสนขึน้ เปนสองเทาจากความยาวเสนเดิม ใหปอ นคาเปอรเซนตเทากับ 200 Total ใชสําหรับกําหนดคาความยาวจริงทั้งหมดของเสน โดยปอนคาความยาวเสนที่ตองการเปลี่ยนแปลง แลวคลิกบนปลายเสนดานทีต่ องการใหเกิดการเปลี่ยนแปลง DYnamic ใชตวั เลือกนี้ในกรณีที่ตอ งการเพิ่มหรือลด ความยาวเสน โดยใชเมาสลากเสนที่ตอ งการเพิม่ หรือลดความยาว เมือ่ พิมพตวั อักษร DY เพื่อใชตวั เลือก DYnamic จะปรากฏขอความ Select an object to change or [Undo]: คลิกบนปลายเสนดานที่ตองการเพิ่มหรือลดความยาว แลวเลือ่ นเมาสเพื่อเพิ่มหรือลดความยาวเสน แลวคลิกเพื่อกําหนดความยาวทีต่ องการ

4.11 Modify4Trim | TRIM | TR | ใชสาํ หรับตัดเสนตรง เสนโพลีไลน เสนโคง วงกลม วงรีและวัตถุอนื่ ๆ เปนตน การใชคําสัง่ นีจ้ ะใชกบั เสนตัง้ แตสองเสนขึน้ ไปทีต่ ดั กันหรือพาดผานกัน อยางไรก็ตาม เราสามารถกําหนดตัวเลือกของคําสัง่ นีใ้ หใชกบั เสนทีไ่ มตดั กันจริงๆ ได ในการตัดเสนดวยคําสัง่ TRIM เราจะตองเลือกเสนทีใ่ ชเปนขอบเขตในการตัดหรือขอบตัด ซึง่ เราเรียกวา “cutting edge” และจะตองเลือกเสนทีจ่ ะถูกตัดเฉือน ซึง่ เรียกวา “object to trim” ดังนัน้ กอนทีจ่ ะทําการตัดเสน เราจะตองสามารถที่ จะแยกออกวาเสนใดทําหนาทีเ่ ปนขอบตัดและเสนใดทําหนาทีเ่ ปนเสนทีถ่ กู ตัดหรือเสนใดใชเปนจุดเริม่ ตนและจุดสิน้ สุด ในการตัด เมือ่ เราสามารถแยกหนาทีข่ องเสนออก เราก็สามารถใชคําสัง่ TRIM ตัดเสนไดอยางรวดเร็ว

กอ นใชคําสั่ง

รูปที่ 4.21

หลังใชคําสั่ง

chap-04.PMD

107

13/10/2549, 1:26

108 Command: _trim

{จากรูปที่ 4.21 (บน)}

{โปรแกรมรายงานโหมดในการตัด} {โปรแกรมบอกใหเราเลือกขอบตัด} Select objects or <select all>: {คลิกบนเสนตรงจุดทีต ่ อ งการใชเปนเสนขอบตัดหรือคลิกขวา เพือ่ ใหโปรแกรมเลือกวัตถุทงั้ หมดเปนขอบตัด} Select objects: {คลิกขวาหรือ Q เมือ ่ ไดเลือกเสนทีท่ ําหนาทีเ่ ปนขอบตัดทัง้ หมดแลว} Current settings: Projection=UCS Edge=None

2D Drafting

Select cutting edges ...

Select object to trim or shift-select to extend or [Fence/Crossing/Project/Edge/

{คลิกบนเสนตรงจุดตางๆ ทีต่ อ งการตัดหรือพิมพ F เพือ่ กําหนดโหมดการเลือก โหมด Fence แลวลากเสนพาดผานเสนทีต่ อ งการตัดหรือคลิกมุมลางดานขวา คลิกมุมบนดานซาย เพือ่ ลอมกรอบเสนทีต่ อ งการตัดแบบ Crossing} eRase/Undo]:

Select object to trim or shift-select to extend or [Fence/Crossing/Project/Edge/ eRase/Undo]:

{คลิกขวาหรือ Q เพือ่ ยุตกิ ารใชคาํ สัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 4.21 (ลาง)}

Note

วิธีทงี่ ายที่สดุ ในการใชคําสั่ง TRIM ตัดเสนคือเราจะตองคลิกขวา ในบรรทัด Select objects or <select all>: เพือ่ ใหโปรแกรมเลือกวัตถุทั้งหมดเปนขอบตัด(Cutting edge)โดยอัตโนมัติ เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim or shift-select to extend or [Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]: เราก็ สามารถใชเมาสคลิกบนเสน ณ ตําแหนงทีต่ อ งการตัดเสนทิง้ ไปไดทันที แตวธิ นี จี้ ะไมสะดวกในกรณีที่ ตองการตัดเสนที่มีเสนอื่นๆ พาดผานหลายๆ เสน เพราะจะทําใหเราตองเสียเวลาตัดเซกเมนตตางๆ ของเสนทีถ่ ูกเสนอื่นๆ พาดผานจนกวาจะเหลือเซกเมนตของเสนที่เราตองการ

Note

หากตัดเสนดวยคําสั่ง TRIM แลวพบวาไมสามารถตัดเสนนั้นตอไปไดอีก ในบรรทัด Select object to trim or shift-select to extend or [Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]: เราสามารถพิมพ R เพือ่ เลือกตัวเลือก eRase เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects to erase or <exit>: เราสามารถคลิกบนเสน ที่ตอ งการลบ แลวคลิกขวา โดยทีไ่ มจําเปนตองออกจากคําสั่ง TRIM

4.11.1 การใชคาํ สัง่ TRIM ตัดเสนทีไ่ มไดตดั กันจริง โดยทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาใหคาํ สัง่ TRIM ไมสามารถตัดเสนทีไ่ มไดตดั หรือพาดผานกันจริง หากตองการตัดเสนทีไ่ มได พาดผานกันจริงดังรูปที่ 4.22 (ซาย) เราสามารถใชตวั เลือก Edge ของคําสัง่ TRIM เพือ่ ตัดเสนใหปรากฏดังรูปที่ 4.22 (ขวา) โดยมีรายละเอียดดังนี้

กอ นใชคําสั่ง Command: _trim

หลังใชคําสั่ง

รูปที่ 4.22 {จากรูปที่ 4.22 (ซาย)}

Current settings: Projection=UCS Edge=None

{สังเกตุวา Edge =None}

Select cutting edges ... Select objects or <select all>:

{คลิกขวาหรือ Q}

Select object to trim or shift-select to extend or [Fence/Crossing/Project/Edge/

chap-04.PMD

108

13/10/2549, 1:26

กลุ มคําสั่งสําหรับการแกไขปรับแตงวัตถุ eRase/Undo]:

109

E {พิมพ E เพือ่ เลือกตัวเลือก Edge}

Enter an implied edge extension mode [Extend/No extend] :

เพือ่ เลือกตัวเลือก Extend เพือ่ ตัดเสนทีไ่ มไดตดั กันจริง}

E {พิมพ E

Select object to trim or shift-select to extend or [Fence/Crossing/Project/Edge/

{คลิกขวาหรือ Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ } {คลิกขวาหรือ Q เพือ่ เรียกคําสัง่ TRIM ออกมาใชงานอีกครัง้ } Current settings: Projection=UCS Edge=Extend {สังเกตุวา Edge = Extend} eRase/Undo]:

Command: TRIM

Select cutting edges ...

{คลิกบนเสนโคงจุดที่ 1 และเสนตรงจุดที่ 2 เพือ่ เลือกเสนขอบตัด} {คลิกขวาหรือ Q เพือ่ ออกจากโหมดการเลือกเสนขอบตัด}

Select objects or <select all>: Select objects:

Select object to trim or shift-select to extend or [Fence/Crossing/Project/Edge/ eRase/Undo]:

{คลิกบนเสนตรงจุดที่ 3 และจุดที่ 4 เพือ่ เลือกปลายเสนทีจ่ ะถูกตัด}

Select object to trim or shift-select to extend or [Fence/Crossing/Project/Edge/ eRase/Undo]:

{คลิกขวาหรือ Q เพือ่ ยุตกิ ารใชคาํ สัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 4.22 (ขวา)}

Fence ใชสําหรับตัดเสนจํานวนมากโดยลากเสนพาดผานเสนที่ตองการตัดทั้งหมด เมื่อใชตัวเลือกนี้ จะปรากฏ

ขอความ Specify first fence point: คลิกเพือ่ กําหนดจุดเริ่มตนของเสน Fence เมือ่ ปรากฏขอความ Specify next fence point or [Undo]: คลิกเพือ่ กําหนดจุดตอไปของ Fence ใหพาดผานเสนตางๆ แลวคลิกขวา เสนที่ถกู Fence พาดผาน ทัง้ หมดจะถูกตัด Crossing ใชสําหรับตัดเสนจํานวนมากเชนเดียวกัน โดยสรางกรอบสีเ่ หลีย่ มชัว่ คราวลอมรอบหรือ พาดผานเสนที่ตองการตัดทัง้ หมด อันที่จริง เราไมจําเปนตองพิมพตวั เลือก C เพือ่ กําหนดโหมดการเลือกเสนแบบ Crossing หากเราคลิกจุดแรกเพื่อกําหนดกรอบสีเ่ หลี่ยมชัว่ คราวทางดานขวากอน แลวจึงคลิกเพื่อกําหนดจุดมุมตรง ขามของสีเ่ หลีย่ มชั่วคราวทางดานซาย โปรแกรมจะกําหนดโหมดการเลือกแบบ Crossing ใหโดยอัตโนมัติ Project เปนตัวเลือกทีใ่ ชในการตัดเสนในระนาบ 3 มิติ Edge ใชสําหรับกําหนดโหมดตัดเสนทีข่ อบตัดไมไดพาดผานเสนที่ ตองการตัด โดยพิมพ E เพื่อเลือก Edge mode ซึ่งแบงออก เปน 2 โหมดคือ Extend โดยพิมพ E เพื่อเลือกโหมด Extend ซึง่ จะทําใหเสนทีไ่ มไดพาดผานกัน จะถูกตัดเสนได No extend ใชสําหรับกําหนดใหเสนจะตองพาดผานกัน จริง จึงจะสามารถตัดเสนได โดยพิมพ N เพือ่ เลือกโหมด No extend โปรแกรมกําหนดใหตวั เลือกนีเ้ ปนตัวเลือกใชงาน โดยทีข่ อบตัดและเสนที่จะถูกตัดจะตองบรรจบกันจริงๆ จึงจะสามารถตัดเสนได Erase ใชสําหรับลบเสนทีเ่ หลือ จากการตัดหรือลบวัตถุอนื่ ๆ โดยทีไ่ มจําเปนตองออกจากคําสัง่ TRIM Undo ยกเลิกการตัดเสนครัง้ กอน สามารถยอน กลับไปจนถึงจุดที่เริ่มตัดเสนได ในการตัดเสนทีย่ นื่ ออกไปจํานวนมากดังรูปที่ 4.23 (ซาย) เราควรใชตวั เลือก F (Fence) หรือ C (Crossing) ชวยในการ เลือกเสนทีต่ อ งการตัด เพราะเราจะไดไมตอ งเสียเวลาในการใชเมาสคลิกปลายเสนแตละเสนทีต่ อ งการตัด หากเสนทีย่ นื่ ออกไปมีจํานวนมาก เราจะตองใชตวั เลือก Fence โดยมีวธิ ีการใชงานดังตอไปนี้

กอ นใชคําสั่ง Command: _trim

รูปที่ 4.23

หลังใชคําสั่ง

{จากรูปที่ 4.23 (ซาย)}

Current settings: Projection=UCS Edge=Extend

chap-04.PMD

109

13/10/2549, 1:26

110 Select cutting edges ...

{คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1 เพือ่ ใชเปนขอบตัด} {คลิกขวาหรือ Q เพือ่ ออกจากการเลือกเสนขอบตัด}

Select objects or <select all>: Select objects:

2D Drafting

Select object to trim or shift-select to extend or [Fence/Crossing/Project/Edge/

F {พิมพ F เพือ่ เลือกโหมด Fence} Specify first fence point: {คลิกตรงจุดที่ 2 เพือ ่ กําหนดจุดเริม่ ตนของ Fence} Specify next fence point or [Undo]: {คลิกตรงจุดที่ 3 และ 4 เพือ ่ กําหนดจุดที่ Fence พาดผาน} Specify next fence point or [Undo]: {คลิกขวาหรือ Q เพือ ่ ยุตกิ ารใช Fence เสนทุกเสนทีถ่ กู Fence จะถูกตัดออกทัง้ หมด eRase/Undo]:

Select object to trim or shift-select to extend or [Fence/Crossing/Project/Edge/ eRase/Undo]:

{คลิกตรงจุดที่ 5 และ 6 เพือ่ กําหนดโหมดการเลือกแบบ Crossing}

Select object to trim or shift-select to extend or [Fence/Crossing/Project/Edge/ eRase/Undo]: {คลิกขวาหรือ Q เพือ ่ ยุตกิ ารใชโหมด Crossing เสนทุกเสนทีถ่ กู กรอบ Crossing พาดผานจะถูกตัดออกทัง้ หมดดังรูปที่ 4.23 (ขวา)

Note

ในระหวางที่กําลังอยูในคําสั่ง TRIM และปรากฏขอความ Select object to trim or shift-select to extend or [Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]: เราสามารถเปลีย่ นจากคําสั่ง TRIM (ตัดเสน) ไปเปนคําสัง่ EXTEND (ตอเสน) โดยเพียงกดปุม S บนคียบอรดคางไว แลวคลิกบนเสนทีต่ อ งการ ตอใหพุงไปชนเสนขอบเขตไดทันที หากปลอยปุม S จะกลับสูค ําสั่งและทําคําสั่ง TRIM ตอไป

4.12 Modify4Extend | EXTEND | EX | ใชสําหรับตอเสนตรงและเสนโคงใหพงุ ไปชนเสนขอบเขตทีก่ าํ หนดดังรูปที่ 4.24

รูปที่ 4.24

กอ นใชคําสั่ง

หลังใชคําสั่ง

Command: _extend

{จากรูปที่ 4.24 (ซาย)}

Current settings: Projection=UCS Edge=None

หลังใชคําสั่ง

{โปรแกรมรายงานโหมด Edge}

Select boundary edges ...

{คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1 เพือ่ เลือกเสนขอบเขตหรือคลิกขวา เพือ่ ใหโปรแกรมเลือกวัตถุทงั้ หมดเปนขอบเขตในการตอเสน} Select objects: {คลิกขวาหรือ Q เพือ ่ ออกจากการเลือกเสนขอบเขต} Select objects or <select all>:

Select object to extend or shift-select to trim or [Fence/Crossing/Project/Edge/

{คลิกบนเสนทีต่ อ งการตอตรงจุดที่ 2, 3, 4, 5 และจุดที่ 6} Object does not intersect an edge. {โปรแกรมรายงานวาไมสามารถตอเสนที่ 2 และเสนที่ 6 ได เพราะเสนไมตดั กันจริง เนือ่ งจากโหมด Edge ไมเทากับ Extend) Undo]:

Select object to extend or shift-select to trim or [Fence/Crossing/Project/Edge/ Undo]:

chap-04.PMD

110

{คลิกขวา หรือ Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 4.24 (กลาง)}

13/10/2549, 1:26

กลุ มคําสั่งสําหรับการแกไขปรับแตงวัตถุ

111

Note

การเปลี่ยนโหมด Edge ในคําสั่ง TRIM จะมีผลการเปลี่ยนแปลงโหมด Edge ในคําสั่ง EXTEND ดวย ในทํานองเดียวกัน การเปลี่ยนโหมด Edge ในคําสั่ง EXTEND จะมีผลการเปลี่ยนแปลงโหมด Edge ในคําสั่ง TRIM ดวย อนึ่ง ในแบบฝกหัดของคําสั่ง TRIM ที่ผานมา เราไดปรับ Edge จาก No Extend เปน Extend มากอนแลว ถาเรามิไดเปนโหมด Edge ในคําสัง่ TRIM กลับเปน No Extend เราจะสามารถ ตอเสนที่ 2 และ 6 ไดทนั ที แตถา มีการเปลีย่ นโหมด Edge ในคําสัง่ TRIM กลับไปเปน Extend เราก็จะไม สามารถตอเสนที่ไมไดตอ กันจริงได

Note

โดยปกติ การตอเสนจะทําไดกต็ อ เมื่อเสนทีต่ อ งการตอจะตองวิ่งไปชนกับเสนขอบเขตจริงๆ เพราะวา โดยที่โปรแกรมกําหนดให โหมด Edge = No Extend อยางไรก็ตาม เราสามารถตอเสนพุงไปยังเสนที่ ไมไดชนกันจริง โดยปรับโหมด Edge ใหเปน Extend

Note

ในระหวางที่กําลังอยูในคําสั่ง EXTEND และปรากฏขอความ Select object to extend or shift-select to trim or [Fence/Crossing/Project/Edge/Undo]: เราสามารถเปลี่ยนจากคําสั่ง EXTEND (ตอเสน) ไปเปนคําสั่ง TRIM (ตัดเสน) โดยเพียงกดปุม S บนคียบอรดคางไว แลวคลิกบนเสนที่ตองการ ตัดทีพ่ าดผานเสนขอบเขตไดทันที หากปลอยปุม S จะกลับสูค ําสัง่ และทําคําสัง่ EXTEND ตอไป

4.12.1 การใชคาํ สัง่ EXTEND ในกรณีเสนไมสมั ผัสกันจริง โดยปกติ โปรแกรมจะกําหนดให Edge อยูใ นสถานะ No extend ซึง่ ในโหมดนี้ เราจะไมสามารถตอเสนทีไ่ มสมั ผัสกัน จริงได แตถา เราเปลีย่ น Edgeใหอยูใ นสถานะ Extend เราจะสามารถตอเสนทีม่ ไิ ดสมั ผัสกันจริงได โดยมีขนั้ ตอนเหมือน กับการเปลีย่ นโหมด Edge ของคําสัง่ TRIM ดังนี้ Command: _extend

{จากรูปที่ 4.24 (กลาง)}

Current settings: Projection=UCS Edge=None

{โปรแกรมรายงานโหมด Edge}

Select boundary edges ... Select objects or <select all>:

{คลิกขวาหรือ Q}

Select object to extend or shift-select to trim or [Fence/Crossing/Project/Edge/ Undo]: E {พิมพ E เพือ ่ เลือกตัวเลือก Edge} Enter an implied edge extension mode [Extend/No extend] :

เพือ่ เลือกตัวเลือก Extend เพือ่ ตอเสนทีไ่ มไดสมั ผัสกันจริง}

E {พิมพ E

Select object to extend or shift-select to trim or [Fence/Crossing/Project/Edge/ Undo]: {คลิกขวาหรือ Q เพือ ่ ออกจากคําสัง่ } Command:

{คลิกขวาหรือ Q เพือ่ เรียกคําสัง่ EXTEND ออกมาใชงานอีกครัง้ } {โปรแกรมรายงานโหมด Edge}

EXTEND Current settings: Projection=UCS Edge=Extend Select boundary edges ...

{คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1 เพือ่ เลือกเสนขอบเขต} {คลิกขวาหรือ Q เพือ่ ออกจากการเลือกเสนขอบเขต}

Select objects or <select all>: Select objects:

Select object to extend or shift-select to trim or [Fence/Crossing/Project/Edge/ Undo]:{คลิกบนเสนทีต ่ อ งการตอตรงจุดที่ 2 และจุดที่ 6} Select object to extend or shift-select to trim or [Fence/Crossing/Project/Edge/ Undo]:

chap-04.PMD

111

{คลิกขวาหรือ Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 4.24 (ขวา)}

13/10/2549, 1:26

112

Modify4Break | BREAK | BR |

2D Drafting

ใชสาํ หรับตัดเสนโดยไมตอ งมีเสนขอบเขตในการตัด เรานิยมใชคาํ สัง่ นีใ้ นการตัดเสนสวนเกินแบบคราวๆ โดยไมตอ งการ ความละเอียดและความแมนยํา อาทิ เชน เสนประเซ็นเตอร(Center)ทีย่ น่ื ออกไปนอกชิน้ งานมากเกินไปอาจจะดูแลวไม สวยงาม เราเพียงตองการตัดเสนใหสนั้ ลงเทานัน้ โดยไมสนใจเรือ่ งขนาดและความแมนยํา เปนตน คําสัง่ นีจ้ ะทํางาน ไดดใี นการตัดเสนโดยใชสายตากะระยะในการตัดแบบคราวๆ อยางไรก็ตาม คําสัง่ นีส้ ามารถตัดตามระยะทีก่ าํ หนด อยางแมนยําไดเชนเดียวกัน จากรูป 4.25 (ซาย) เราจะลองตัดเสนแบบคราวๆ โดยใชสายตากะขนาด โดยมีขนั้ ตอน ดังตอไปนี้

กอ นใชคําสั่ง

Command: _break Select object:

รูปที่ 4.25

หลังใชคําสั่ง

{ปด OSNAP # แลวคลิกบนเสนจุดที่ 1} {คลิกนอกปลายเสนตรงจุดที่ 2 ปลายเสน

Specify second break point or [First point]:

จะถูกตัดทิง้ } {คลิกขวาหรือ Q เพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ BREAK} BREAK Select object: {คลิกบนเสนจุดที่ 3} Specify second break point or [First point]: {คลิกนอกปลายเสนจุดที่ 4 ปลายเสนจะถูกตัดทิง้ ทําซ้าํ คําสัง่ BREAK แลวคลิกตอไปตรงจุดที่ 5-6 จะปรากฏดังรูปที่ 4.25 (กลาง)} Command:

Note

วัตถุที่สามารถใชกับคําสั่งนี้ไดคือ LINE, PLINE, SPLINE, ARC, CIRCLE, DONUT, ELLIPSE, RECTANG, POLYGON สวนวัตถุที่ไมสามารถใชกับคําสั่งนี้ไดคือ MLINE, 2D SOLID, REGION

Note

ในการใชคําสัง่ BREAK โดยการใชเมาสคลิกเพือ่ กําหนดตําแหนงลงบนเสนโดยตรง เราควรปดโหมด ออฟเจกทสแนป(OSNAP)ไวชวั่ คราวกอน โดยกดปุมฟงชั่นคีย # เพือ่ ปองกันมิใหกําหนดตําแหนง ผิดพลาด

จากรูป 4.25 (ซาย) หากตองการตัดเสน โดยการปอนคาระยะหาง เพือ่ ตัดปลายเสนทุกเสนใหมคี วามยาวยืน่ ออกจาก วงกลมดานละ 15 หนวย เราสามารถทําตามขัน้ ตอนดังตอไปนี้ {เปด OSNAP # คลิกบนเสนทีต่ อ งการตัดตรงจุดใดๆ บนเสน} Specify second break point or [First point]: F {พิมพ F เพือ ่ กําหนดจุดเริม่ ตนตัดเสนใหม} Command: _break Select object:

chap-04.PMD

112

13/10/2549, 1:26

กลุ มคําสั่งสําหรับการแกไขปรับแตงวัตถุ

113

{คลิกบนปุม หรือกดปุม S คางไวแลวคลิกขวา เลือกออฟเจกท สแนป From} _from Base point: {เลือ่ นเคอรเซอรไปบนจุดที่ 7 แลวคลิกซาย เมือ่ ปรากฏ มารคเกอร } : @15<180 {พิมพพก ิ ดั รีเลทีฟคอรออรดเิ นท @15<180 เพือ่ กําหนดระยะหางของจุดเริม่ ตัด} Specify second break point: {คลิกตรงจุดที่ 2 เสนตรงจะถูกตัดเหลือเพียงสวนทีย ่ นื่ ออกไปจาก วงกลมโดยมีระยะเทากับ 15 หนวย แลวใชวธิ เี ดียวกัน กับเสนทีเ่ หลืออยูท งั้ หมด จะปรากฏดังรูปที่ 4.25 (ขวา) สังเกตุวา ปลายเสนทีย่ นื่ ออกจากวงกลมทุกเสนจะมีความยาว 15 หนวยเทากันทุกเสน} Specify first break point:

จากรูป 4.26 (ซาย) หากตองการตัดเสนตรงกลางดานลางของชิน้ งานทิง้ ไป โดยกําหนดใหเหลือเสนดานขางยาวดานละ 50 หนวยเทาๆ กันทัง้ สองดาน เราสามารถทําตามขัน้ ตอนดังนี้

กอ นใชคําสั่ง

รูปที่ 4.26

หลังใชคําสั่ง

{เปด OSNAP # แลวคลิกบนเสนตรงจุดที่ 1} Specify second break point or [First point]: F {พิมพ F เพือ ่ กําหนดจุดเริม่ ตนตัดใหม} Specify first break point: {คลิกบนปุม  หรือกดปุม S คางไวแลวคลิกขวา เลือกออฟเจกท สแนป From} _from Base point: {เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 2 คลิกซาย เมือ่ ปรากฏ มารคเกอร ตรงจุดที่ 2 } : @50<0 {พิมพระยะออฟเซทรีเลทีฟคอรออรดเิ นท @50<0 เพือ่ กําหนดระยะหางของจุดเริม่ ตัด} Specify second break point: {คลิกบนปุม  หรือกดปุม S คางไวแลวคลิกขวา เลือก ออฟเจกทสแนป From} Base point: {เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 3 คลิกซาย เมือ่ ปรากฏ มารคเกอร ตรงจุดที่ 3 } : @50<180 {พิมพระยะออฟเซทรีเลทีฟคอรออรดเิ นท @50<180 เพือ่ กําหนดระยะหางของจุดสิน้ สุดการตัด จะปรากฏดังรูปที่ 4.26 (ขวา)} Command: _break Select object:

Note

อันที่จริง เราไมตองเสียเวลาพิมพรีเลทีฟโพลารคอรออรดิเนท @50<0 หรือ @50<180 เมื่อบรรทัด ขอความปรากฏ ของจุดเริ่มตัด เราสามารถเลื่อนเคอรเซอรยอนกลับไปยังจุดที่ 2 แลวเลื่อน เคอรเซอรออกไปตามทิศทางของจุดที่ 3 (สังเกตุวา จะตองปรากฏเครือ่ งหมาย + สีแดงคางไวตรงจุดที่ 2 ) เมือ่ ปรากฏ ใหปอ นคา 50 แลวกดปุม Q เมือ่ บรรทัดขอความปรากฏ ของจุดสิ้นสุดการตัด เราสามารถเลื่อนเคอรเซอรยอ นกลับไปยังจุดที่ 3 แลวเลือ่ นเคอรเซอร ออกไปตามทิศทางของจุดที่ 2 (สังเกตุวาจะตองปรากฏเครื่องหมาย + สีแดงคางไวตรงจุดที่ 3 ) เมื่อ ปรากฏ ใหปอนคา 50 แลวกดปุม Q

Modify4Join | JOIN | J | คําสัง่ นีส้ ามารถรวมเสนตรง LINE เขากับเสนตรง LINE หรือรวมเสน PLINE เขากับ PLINE , LINE และ ARC หรือรวมเสน โคง ARC เขากับเสนโคง ARC หรือรวมเสนโคง SPLINE เขากับเสนโคง SPLINE หรือรวมวงรีแบบเปด Elliptical Arc เขากับวงรีแบบเปด Elliptical Arc ดังรูปที่ 4.27

chap-04.PMD

113

13/10/2549, 1:26

114

2D Drafting

กอ นใชคําสั่ง

รูปที่ 4.27

หลังใชคําสั่ง

{คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1 } Select lines to join to source: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 2, 3, 4 } Select lines to join to source: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 4.27 (ขวา)} Command: _join Select source object:

Note

คําสั่งนี้ใชในกรณีที่มีการใชคําสั่ง Break at Point ตัดวัตถุเพื่อทําใหเกิดวัตถุชิ้นใหมหลายๆ ชิ้น แตวตั ถุชนิ้ ใหมหลายชิน้ เหลานัน้ ยังคงอยูใ นตําแหนงทีต่ ดิ กับวัตถุเดิม แตถา ตองการวมวัตถุเหลานัน้ กลับ เปนชิ้นเดียวเชนเดิม เราสามารถใชคําสั่งนี้เพื่อลดจํานวนวัตถุที่ไมจําเปน

Note

หากรวมเสนตรง LINE เขากับเสนตรง LINE ปลายเสนไมตอ งเชือ่ มตอกัน แตจะตองอยูใ นแนวเดียวกัน (Collinear) หากรวมเสนตรง PLINE เขากับ LINE และ ARC ปลายเสนจะตองเชือ่ มตอกัน และเซกเมนต ทีเ่ ชือ่ มตอจะตองอยูใ นแนวเดียวกัน(Collinear) หากรวมเสนโคง ARC เขากับ ARC ปลายเสนไมจําเปน จะตองเชือ่ มตอกัน แตสว นโคงจะตองอยูบ นวงกลมจินตนาการ(Imaginary circle)เดียวกัน ถาคลิกทวน เข็มนาฬิกาจะสวนโคงจะเชื่อมตอกัน ถาคลิกตามเข็มนาฬิกาสวนโคงจะเชื่อมตอกันเปนวงกลม หาก รวมเสนโคง SPLINE เขากับ SPLINE ปลายเสนจะตองเชื่อมตอกัน แตไมจําเปนตองสัมผัส(Tangent) ซึง่ กันและกัน หากรวมวงรีแบบเปด Elliptical Arc เขากับวงรีแบบเปด Elliptical Arc ปลายสวนโคงไม จําเปนตองเชื่อมตอกัน แตจะตองอยูบนวงรีจินตนาการ(Imaginary ellipse)เดียวกัน

Modify4Chamfer | CHAMFER | CHA | ใชสําหรับลบมุมตัดระหวางเสนตรงสองเสน โดยเราสามารถกําหนดระยะทางของมุมตัดที่ 1 (Distance 1)และ ระยะทางของมุมตัดที่ 2 (Distance 2) หรือกําหนดมุมไดตามตองการดังรูปที่ 4.28 นอกจากนี้ คําสัง่ นีย้ งั สามารถใชแทน คําสัง่ TRIM และ EXTEND เพือ่ ตัดหรือตอเสนใหบรรจบกันไดอกี ดวย

chap-04.PMD

114

13/10/2549, 1:26

กลุ มคําสั่งสําหรับการแกไขปรับแตงวัตถุ

กอ นใชคําสั่ง Command: _chamfer

115

รูปที่ 4.28

หลังใชคําสั่ง

{จากรูปที่ 4.28 (ซาย) }

{โปรแกรมรายงานโหมดการ ตัดเสนสวนเกิน(Trim mode)และระยะทางมุมตัดที่ 1 (Dist1) และระยะทางมุมตัดที่ 2 (Dist2)} Select first line or [Undo/Polyline/Distance/Angle/Trim/mEthod/Multiple]: {พิมพ ตัวเลือก D เพือ่ กําหนดระยะทางหรือพิมพตวั เลือก A เพือ่ กําหนดมุมหรือพิมพตวั เลือก T เพือ่ เปลีย่ น โหมดการตัดเสนหรือคลิกบนเสนที่ 1 หรือเลือกตัวเลือกอืน่ ๆ ในทีน่ ใี้ หพมิ พตวั เลือก D} Specify first chamfer distance <0.0000>: 50 {กําหนดระยะหางที่ 1 เทากับ 50 หนวย Specify second chamfer distance <50.0000>: {คลิกขวาหรือ Q เพือ ่ ยอมรับคา 50 หนวยสําหรับระยะหางที่ 2} Select first line or [Undo/Polyline/Distance/Angle/Trim/mEthod/Multiple]: {คลิกบน เสนที่ 1 ทีต่ อ งการใชระยะทีก่ าํ หนดในบรรทัด first chamfer distance} Select second line or shift-select to apply corner: {คลิกบนเสนที่ 2 ทีต ่ อ งการใชระยะที่ กําหนดในบรรทัด second chamfer distance จะปรากฏมุมตัดดังรูปที่ 4.28 (ขวา) ตามระยะทาง ทีก่ าํ หนดบน Dist1 และ Dist2 หากตองการตัดหรือตอเสนใหบรรจบกัน โดยใชคา Dist1 และ Dist2 เทากับ 0 (ศูนย) ใหกดปุม S คางไวแลว คลิกบนเสนที่ 2} Command: _chamfer {คลิกขวาหรือ Q เพือ ่ ทําซ้าํ คําสัง่ CHAMFER} (TRIM mode) Current chamfer Dist1 = 0.0000, Dist2 = 0.0000

(TRIM mode) Current chamfer Dist1 = 50.0000, Dist2 = 50.0000 Select first line or [Undo/Polyline/Distance/Angle/Trim/mEthod/Multiple]:

เพือ่ กําหนดระยะทางและมุม}

A {พิมพ A

30 {กําหนดคาความยาวของเสนแรก} 60 {กําหนดกําหนดคามุมทีก่ ระทํากับเสนแรก} first line or [Undo/Polyline/Distance/Angle/Trim/mEthod/Multiple]: {พิมพ ตัวเลือก M เพือ่ เลือกโหมดการสรางมุมตัดอยางตอเนือ่ ง โดยไมตอ งออกจากคําสัง่ }

Specify chamfer length on the first line <0.0000>: Specify chamfer angle from the first line <0>: Select

Select first line or [Undo/Polyline/Distance/Angle/Trim/mEthod/Multiple]:

{คลิกบนเสนที่ 3 เพือ่ ใชคา ความยาว 30 หนวย} Select second line or shift-select to apply corner:

{คลิกเสนที่ 4 ทีต่ อ งการใหมมี มุ 60 องศา}

Select first line or [Undo/Polyline/Distance/Angle/Trim/mEthod/Multiple]:

{ตอไปตัดเสนใหบรรจบกัน โดยคลิกบนเสนที่ 5 } Select second line or shift-select to apply corner:

{กดปุม S คางไวแลวคลิกบนเสนที่ 6}

Select first line or [Undo/Polyline/Distance/Angle/Trim/mEthod/Multiple]:

{ตอไปตอเสนใหบรรจบกัน คลิกบนเสนที่ 7 } Select second line or shift-select to apply corner:

{กดปุม S คางไวแลวคลิกบนเสนที่ 8}

Select first line or [Undo/Polyline/Distance/Angle/Trim/mEthod/Multiple]:

{คลิกขวาหรือกดปุม Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 4.28 (ขวา)}

chap-04.PMD

115

13/10/2549, 1:26

116

Note

ในการกําหนดวาเสนใดจะใชระยะทาง Dist1 และเสนใดจะใชระยะทาง Dist2 นั้น เราพิจารณาดังนี้ ถาเราคลิกเสนใดกอน เสนนั้นจะใชระยะทาง Dist1 สวนเสนที่เราคลิกตอไปจะเปนระยะทาง Dist2

2D Drafting

Undo ใชตวั เลือกนีใ้ นกรณีทมี่ ีการเลือก Multiple เพื่อสรางมุมตัดอยางตอเนือ่ ง อาจเกิดการผิดพลาดในระหวางอยู ในคําสัง่ เราสามารถใชตวั เลือกนี้ เพื่อยอนกลับไปยังจุดที่ผดิ พลาด โดยที่ไมตองออกจากคําสัง่ Polyline เมือ่ เลือก

ตัวเลือกนี้ โปรแกรมจะบอกใหเราเลือกเสนโพลีไลน 2 มิติ (Select 2D polyline) ซึง่ จะทําใหเสน โพลีไลนที่ถกู เลือก เกิดมุมตัดขึน้ ทุกๆ มุมโดยอัตโนมัติ อาทิ เชน สีเ่ หลีย่ มผืนผาทีส่ รางจากคําสัง่ RECTANG หากใชตวั เลือกนี้ จะปรากฏ มุมตัดขึ้นพรอมๆ กันทั้ง 4 มุมโดยอัตโนมัติ Distance ใชตวั เลือกนี้ในการกําหนดระยะทางของมุมตัดที่ 1 (first chamfer distance) และระยะทางมุมตัดที่ 2 (second chamfer distance) Angle ใชตวั เลือกนีเ้ มือ่ ตองการระบุระยะทาง บนเสนแรกที่ถกู เลือก(chamfer length on the first line)และมุมที่วัดจากเสนแรกทีถ่ กู เลือก (chamfer angle from the first line) Trim ใชตวั เลือกนีใ้ นการกําหนดโหมดการตัดเสน(Trim) โดยทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาให Trim mode เปน ตัวเลือกใชงาน โปรแกรมจะทําการตัดปลายเสนทีย่ ื่นออกจากมุมทิง้ ไปดังรูปที่ 4.29 (กลาง) หากเราตองการใชเสนใน การ Chamfer ครัง้ ตอไป โดยไมตอ งการใหมกี ารตัดเสน เราสามารถเปลีย่ นโหมดใหเปน Notrim ซึง่ โปรแกรมจะไมตดั ปลายเสนที่ถูกเลือก โดยจะปรากฏดังรูปที่ 4.29 (ขวา) เราสามารถทีจ่ ะใชคําสัง่ Modify4Trim ตัดเสนสวนเกิน ดวยตนเอง Method ใชตัวเลือกนี้ สําหรับเปลี่ยนโหมดจากการใชระยะทาง(Distance)ไปเปนโหมดมุม(Angle)หรือ เปลีย่ นจากมุมเปนระยะทาง Multiple ใชสําหรับกําหนดโหมดการทําซ้ําคําสัง่ Chamfer อยางตอเนือ่ งจนกวาจะมีการ คลิกขวาหรือ Q เพือ่ ออกจากคําสั่ง

รูปที่ 4.29

Modify4Fillet | FILLET | F | ใชสาํ หรับลบมุมโคงระหวางเสนตรง เสนโคง วงกลมหรือวงรี โดยเราสามารถกําหนดรัศมี(Radius)ของสวนโคงระหวาง เสนทีถ่ กู เลือก ไดตามตองการดังรูปที่ 4.30 นอกจากนี้ คําสัง่ นีย้ งั สามารถใชแทนคําสัง่ TRIM และ EXTEND เพือ่ ตัดหรือ ตอเสนใหบรรจบกันไดอกี ดวย

กอ นใชคําสั่ง

รูปที่ 4.30

หลังใชคําสั่ง

Command: _fillet Current settings: Mode = TRIM, Radius = 0.0000

mode) และรายงานรัศมีสว นโคงใชงาน}

chap-04.PMD

116

{โปรแกรมรายงานโหมดในการตัดเสน(Trim

13/10/2549, 1:26

กลุ มคําสั่งสําหรับการแกไขปรับแตงวัตถุ

117

Select first object or [Undo/Polyline/Radius/Trim/Multiple]:

รัศมีของสวนโคงใชงาน}

R {พิมพตวั เลือก R เพือ่ กําหนด

30 {กําหนดคารัศมีสว นโคงใชงานใหมเทากับ 30 หนวย} M {พิมพตวั เลือก M เพือ่ เลือก โหมดการสรางสวนโคง Fillet อยางตอเนือ่ ง โดยไมตอ งออกจากคําสัง่ } Select first object or [Undo/Polyline/Radius/Trim/Multiple]: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1 } Select second object or shift-select to apply corner: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 2 } Select first object or [Undo/Polyline/Radius/Trim/Multiple]: R {พิมพตวั เลือก R เพือ ่ กําหนด รัศมีของสวนโคงใหม} Specify fillet radius <30.0000>: 50 {กําหนดคารัศมีสว นโคงใชงานใหมเทากับ 50 หนวย} Select first object or [Undo/Polyline/Radius/Trim/Multiple]: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 3 } Select second object or shift-select to apply corner: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 4 } Select first object or [Undo/Polyline/Radius/Trim/Multiple]: R {พิมพตวั เลือก R เพือ ่ กําหนด รัศมีของสวนโคงใหม} Specify fillet radius <50.0000>: 60 {กําหนดคารัศมีสว นโคงใชงานใหมเทากับ 60 หนวย} Select first object or [Undo/Polyline/Radius/Trim/Multiple]: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 5 } Select second object or shift-select to apply corner: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 6 } Select first object or [Undo/Polyline/Radius/Trim/Multiple]: {ตอไปตัดเสนใหบรรจบกัน โดยคลิกบนเสนที่ 7 } Select second object or shift-select to apply corner: {กดปุม  S คางไวแลวคลิกบน เสนที่ 8} Select first object or [Undo/Polyline/Radius/Trim/Multiple]: {ตอไปตอเสนใหบรรจบกัน โดยคลิกบนเสนที่ 9 } Select second object or shift-select to apply corner: {กดปุม  S คางไวแลวคลิกบน เสนที่ 10} Select first object or [Undo/Polyline/Radius/Trim/Multiple]: {คลิกขวาหรือกดปุม Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 4.30 (ขวา)} Specify fillet radius <0.0000>:

Select first object or [Undo/Polyline/Radius/Trim/Multiple]:

Undo ใชตัวเลือกนี้ในกรณีที่มกี ารเลือก Multiple เพือ่ สรางสวนโคง Fillet อยางตอเนื่อง แลวอาจเกิดการผิดพลาดใน ระหวางอยูใ นคําสั่ง เราสามารถใชตัวเลือกนี้ เพือ่ ยอนกลับไปยังจุดที่ผิดพลาด โดยทีไ่ มตองออกจากคําสัง่ Polyline

ในกรณีทเี่ รามีวตั ถุทสี่ รางจากเสนโพลีไลนแบบตอเนือ่ ง หากใชตวั เลือกนี้ แลวคลิกลงบนเสนโพลีไลน จะเกิดการลบ มุมโคงขึ้นบนมุมทุกมุมของวัตถุโดยอัตโนมัติดวยการคลิกเพียงครั้งเดียว Radius ใชตวั เลือกนี้เมื่อตองการกําหนด รัศมีสว นโคง(Fillet radius)ใหม Trim ใช ตัวเลือกนีใ้ นการกําหนดโหมดการตัดเสน (Trim) โดยที่โปรแกรมกําหนด มาให Trim mode เปนตัวเลือกใชงาน โปรแกรมจะทําการตัดปลายเสนที่ยื่นออกจากสวนโคง Fillet ทิ้งไปดังรูปที่ 4.31 (กลาง) หากเราตองการใชเสนในการ Fillet ครัง้ ตอไป โดยไมตอ งการใหมกี ารตัดเสน เราสามารถเปลี่ยนโหมด ใหเปน Notrim ซึ่งโปรแกรมจะไมตดั ปลายเสนที่ถกู เลือก โดยจะปรากฏดังรูปที่ 4.31 (ขวา) เราสามารถที่จะใชคําสั่ง Modify4Trim ตัดเสนสวนเกินดวยตนเอง Multiple ใชสาํ หรับกําหนดโหมดการทําซ้าํ คําสัง่ Fillet อยางตอเนือ่ ง จนกวาจะมีการคลิกขวาหรือ Q เพือ่ ออกจากคําสั่ง

รูปที่ 4.31

chap-04.PMD

117

13/10/2549, 1:26

118

Modify43D Operation4Align | ALIGN | AL

2D Drafting

ใชสําหรับเคลือ่ นยายวัตถุ(Objects)ไปยังตําแหนงใหมพรอมทัง้ หมุนวัตถุนนั้ ใหทํามุมเอียงตามตองการดังรูปที่ 4.32 ถึงแมวา คําสัง่ นีจ้ ะอยูใ นหัวขอเมนูทเี่ กีย่ วของกับ 3 มิติ แตเราสามารถนํามาใชกบั วัตถุ 2 มิตแิ ทนการใชคําสัง่ MOVE และ ROTATE คําสัง่ นีจ้ ะชวยใหเราเคลือ่ นยายและหมุนวัตถุไดอยางรวดเร็ว ซึง่ จะชวยลดขัน้ ตอนในการทํางาน

กอ นใชคําสั่ง

รูปที่ 4.32

หลังใชคําสั่ง

{จากรูปที่ 4.32 (ซาย)} Select objects: 1 found {คลิกบนวัตถุทต ี่ อ งการเคลือ่ นยายและหมุนตรงจุดที่ 1} Select objects: {คลิกขวาหรือ Q เพือ ่ ออกจากโหมดการเลือก} Specify first source point: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปบนจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร ใหคลิกซาย เพือ่ กําหนดจุดตนทางที่ 1} Specify first destination point: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปบนจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏ ใหคลิกซาย เพือ่ กําหนด จุดปลายทางที่ 1} Specify second source point: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปบนจุดที่ 3 เมือ่ ปรากฏ ใหคลิกซาย เพือ่ กําหนดจุดตนทางที่ 2} Specify second destination point: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปบนจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏ ใหคลิกซาย เพือ่ กําหนดจุดปลายทางที่ 2} Specify third source point or : {เลือ ่ นเคอรเซอรไปบนจุดที่ 5 เมือ่ ปรากฏ ใหคลิกซาย เพือ่ กําหนดจุดตนทางที่ 3} Specify third destination point: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปบนจุดที่ 6 เมือ่ ปรากฏ ใหคลิกซาย เพือ่ กําหนดจุดปลายทางที่ 3 วัตถุจะเคลือ่ นยายและหมุนไปอยูใ นตําแหนงและทิศทางทีถ่ กู ตองดังรูปที่ 4.32 (ขวา)} Command: _align

chap-04.PMD

Note

ถาตองการเคลือ่ นยายและหมุนฐาน โดยใหสกรูอยูก บั ที่ เมือ่ โปรแกรมบอกใหเรา Select objects: เราจะ ตองเลือกฐาน แลวสลับจุด ที่ 1 กับจุดที่ 2 จุดที่ 3 กับจุดที่ 4 และจุดที่ 5 กับจุดที่ 6

Note

อันที่จริงเราสามารถใชจุดในการอางอิงตําแหนงเพียง 2 คูก็เพียงพอที่จะเคลื่อนยายและหมุนวัตถุให อยูในตําแหนงที่ตองการได โดยกดปุม Q ในบรรทัด Specify third source point or : และกดปุม Q ในบรรทัด Scale objects based on alignment points? [Yes/No] : โปรแกรม จะจัดการเคลื่อนยายและหมุนโดยใชจุดอางอิง 2 คูที่กําหนด เหตุผลที่เราเลือกใชจุดอางอิง 3 คู เพื่อให แนใจวาวัตถุจะอยูใ นตําแหนงและทิศทางทีถ่ ูกตอง

118

13/10/2549, 1:26

กลุ มคําสั่งสําหรับการแกไขปรับแตงวัตถุ

119

Note

สังเกตุวา จุดอางอิงตนทาง(Source point)และจุดปลายทาง(Destination point)แตละคู หลังจากทีเ่ คลือ่ น ยายวัตถุเขาไปยังตําแหนงทีต่ อ งการแลว จุดอางอิงตนทางและจุดปลายทางจะตองอยูใ นตําแหนงทีต่ รง กันหรือทับกันพอดี ดังนัน้ กอนกําหนดจุดตนทางและจุดปลายทาง เราจะตองเปรียบเทียบกอนวาจุดใด บนวัตถุทตี่ อ งการเคลือ่ นยายจะไปทับกับจุดใดของวัตถุทอี่ ยูก บั ที่

Note

ในบรรทัดขอความ Scale objects based on alignment points? [Yes/No] : หากเราตอบ Yes โปรแกรมจะทําการเปลีย่ นสเกลของวัตถุทถี่ กู เลือก ใหพอดีจดุ อางอิงโดยอัตโนมัติ หากมีจดุ อางอิงตนทาง (Source)และจุดอางอิงปลายทาง(Destination)มีตําแหนงไมตรงกัน

Modify4Solid Editing4Union | UNION | UNI | ใชคําสัง่ นีส้ ําหรับสรางรีเจีย้ น(Region)รูปทรงใหม โดยการนํารีเจีย้ นทีถ่ กู สรางดวยคําสัง่ Draw4Region 2 ชิน้ ขึน้ ไปมารวม(Union)ใหกลายเปนรีเจีย้ นชิน้ เดียวกันดังรูปที่ 4.33

กอ นใชคําสั่ง

รูปที่ 4.33

ตัง้ แต

หลังใชคําสั่ง

{จากรูปที่ 4.33 (ซาย)} Select objects: {คลิกลงบน Region ทัง้ หมดทีต ่ อ งการรวมกันเปนชิน้ เดียว} Select objects: {คลิกขวาหรือ Q เพือ ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 4.33 (ขวา)} Command: _union

Note

ในการใชคําสั่ง UNION เราจะเลือก Region รูปใดกอนก็ได แตจะตองเลือก Regions ตัง้ แต 2 ชิน้ ขึน้ ไป ถารวม Regions มากกวา 2 ชิน้ โดยใชคําสั่ง UNION เพียงครัง้ เดียว ถึงแมวา บางชิน้ จะไมมีสวนทับกัน หรือเกยกันกับ Region ชิ้นอืน่ หลังจากใชคําสั่งนี้แลว Regions ทั้งหมดจะกลายเปนวัตถุชนิ้ เดียว

Note

หากตองการแปลง Region กลับเปนเสนตรงและเสนโคงธรรมดา ใหใชคําสัง่ Modify4Explode

Modify4Solid Editing4Subtract | SUBTRACT | SU | ใชสําหรับสราง Region รูปทรงใหม โดยการนํา Region ตั้งแตสองชิ้นขึ้นไปมาหักลบออกจากกัน รีเจี้ยน ตางๆ ที่ นํามาเปนตัวลบจะตองวางอยูใ นตําแหนงทีม่ พี น้ื ทีซ่ อ นทับกับพืน้ ทีข่ องรีเจีย้ นทีใ่ ชเปนตัวตัง้ ดังรูปที่ 4.34

chap-04.PMD

119

13/10/2549, 1:26

120

2D Drafting

กอ นใชคําสั่ง

รูปที่ 4.34

หลังใชคําสั่ง

Command: _subtract Select solids and regions to subtract from ..

{คลิกบน Region หมายเลข 1 เพือ่ ใชเปนตัวตัง้ } Select objects: {คลิกขวาหรือ Q} Select objects:

Select solids and regions to subtract...

{คลิกบน Region หมายเลข 2, 3 , 4, 5 และ 6 ทีใ่ ชเปนตัวลบ} Select objects: {คลิกขวาหรือ Q เพือ ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 4.34 (กลาง) ตอไปลอง UNDO แลวทําซ้าํ คําสัง่ นี้ แลวลองสลับตัวตัง้ กับตัวลบ จะปรากฏดังรูปที่ 4.34 (ขวา)} Select objects: 1 found

Note

ในการใชคําสั่ง SUBTRACT เพื่อหักลบรีเจี้ยน รีเจี้ยนที่ใชเปนตัวตั้งหรือตัวลบอาจจะเลือกครั้งเดียว มากกวา 1 ชิน้ ก็ได เพียงแตจะตองเลือกกลุมตัวตั้งกอนเลือกกลุมตัวลบเสมอ

Note

กอนทีจ่ ะใชคําสัง่ นีไ้ ดจะตองแปลงวัตถุแบบปดใหเปนรีเจีย้ นดวยคําสัง่ Draw4Region

เสียกอน

Modify4Solid Editing4Intersect | INTERSECT | IN | ใชสําหรับสรางรูปทรง Region ใหม โดยจะไดรเี จีย้ นเฉพาะสวนทีท่ บั กันหรือเกยกันเทานัน้

กอ นใชคําสั่ง

รูปที่ 4.35

หลังใชคําสั่ง

{จากรูปที่ 4.35 (ซาย)} Select objects: {คลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือ ่ เลือกรีเจีย้ นทีต่ อ งการนํามาหาพืน้ ทีท่ ตี่ ดั กันแบบ Intersect} Select objects: {คลิกขวาหรือ Q เพือ ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏรีเจีย้ นดังรูปที่ 4.35 (ขวา)} Command: _intersect

Note

chap-04.PMD

Regions เปนรูปทรง 2 มิตทิ ที่ บึ ตัน เราไมสามารถแกไขปรับแตง Regions นอกจากจะใชคําสัง่ UNION, SUBTRUCT หรือ INTERSECT แตถา คําสัง่ ทัง้ 3 ไมสามารถปรับแตง Regions ใหเปนรูปทรงทีต่ อ งการ เราสามารถใชคําสั่ง Modify4Explode เพื่อระเบิด Regions ใหเปนเสนตรง LINE หรือเสนโคง ARC หรืออาจใชคําสั่ง BOUNDARY สรางเสน POLYLINE แลวจึงทําการปรับแตงไดเชนเดียวกัน

120

13/10/2549, 1:26

กลุ มคําสั่งสําหรับการแกไขปรับแตงวัตถุ

121

Modify4Explode | EXPLODE | X | ใชสําหรับระเบิดวัตถุตางๆ อาทิ เชน บล็อค(Block) เสนโพลีไลน(Pline) เสนคูข นาน(Mline) ลวดลายแฮทช(Hatch) รีเจีย้ น(Region) เสนบอกขนาด(Dimensions) ไวบเอาท(Wipeout)ใหกลายเปนเสนตรง เสนโคงธรรมดา ตัวอยาง เชน ถาใชคําสัง่ นีร้ ะเบิดบล็อค จะ ทําใหเสนตรงและเสนโคงทีป่ ระกอบขึน้ เปนบล็อคกลายเปนเสนตรงหรือเสนโคงธรรมดา ถาใชกับโพลีไลน โพลีไลนจะกลายเปนเสนตรง LINE ถาใชกับรีเจี้ยน (Regions) รีเจี้ยนจะกลายเปนเสนตรง หรือเสนโคงที่ ประกอบกันเปนรี เจี้ ยน ถาใช กับแฮทช ลวดลาย แฮทชจะกลายเป นเสนตรงยอยๆ หลายๆ เสน ถาใชกับเสนคูข นาน MLINE เสนคูข นาน MLINE จะกลายเปนเสนตรง LINE ซึง่ สามารถที่จะตัด(Break)หรือทริม (Trim)ได ถาใชคําสัง่ นีก้ บั เสนบอกขนาด(Dimension line) เสนบอกขนาดจะกลายเปนเสนตรงและตัวเลขบอกขนาด จะกลายเปนตัวอักษรธรรมดา ถาใชคําสัง่ นีก้ บั Table จะได Line, Mtext, 2D Solid ถาใชคําสัง่ นีก้ บั Field จะได Text ถาใชคําสั่งนีก้ ับ Raster Image กรอบรูปจะกลายเปน Line ถาใชคําสั่งนี้กบั Mtext ตัวอักษร Mtext จะกลายเปน Text เปนตน กอ นใชคําสั่ง

หลังใชคําสั่ง

{จากรูปที่ 4.36 (บน)} Select objects: {คลิกบนบล็อคหรือโพลีไลนหรือรีเจีย ้ นหรือแฮทชทตี่ อ งการระเบิดหรือเลือกวัตถุทงั้ หมด หลายๆ ประเภทพรอมกัน} Select objects: {คลิกขวาหรือ Q บล็อคหรือโพลีไลนหรือรีเจีย ้ นหรือแฮทชจะกลายเปนเสนตรง เสนโคงธรรมดา} Command: _explode

chap-04.PMD

Note

จะเห็นไดวา หลังจากการระเบิดวัตถุทั้งหมดไปแลว เราจะไมเห็นความแตกตางใดๆ เกิดขึ้นบนวัตถุ ตางๆ หลังจากที่เราไดระเบิดวัตถุออกเปนเสนตรงเสนโคงธรรมดา เราจะตองตรวจสอบเสียกอนวา วัตถุนนั้ ถูกระเบิดกลายเปนชิ้นเล็กชิ้นนอยแลวหรือไม เราสามารถตรวจสอบไดโดยในขณะทีบ่ รรทัด Command: ไมปรากฏคําสั่งใดๆ ใหคลิกลงบนวัตถุที่เราไดระเบิดไปแลว หากปรากฏจุดกริ๊ปสและ เสนประเฉพาะเสนตรงหรือเสนโคงทีถ่ กู เลือก แสดงวาวัตถุนนั้ ไดถกู ระเบิดออกจากกันแลว หากปรากฏ จุดกริป๊ สและเสนประขึน้ บนวัตถุทงั้ ชิน้ แสดงวาวัตถุดังกลาวยังไมถกู ระเบิดออกจากกัน

Note

ในบางกรณี หากเราใชคําสั่ง EXPLODE ระเบิดวัตถุเพียงครั้งเดียว อาจจะไมเพียงพอที่จะระเบิดวัตถุ บางชิ้นใหแตกออกเปนเสนตรงและเสนโคงชิ้นเล็กทีส่ ดุ ตัวอยาง เชน บล็อคที่บรรจุเสนโพลีไลน เมือ่ ใชคําสั่ง EXPLODE กับบล็อคดังกลาว บล็อคจะถูกระเบิดออกเปนวัตถุยอยชิ้นเล็ก แตเสนโพลีไลน ทีม่ หี ลายเซกเมนตยงั คงเสนโพลีไลนอยูเ ชนเดิม หากเราตองการใหเสนโพลีไลนทงั้ หมดทีถ่ กู ระเบิดเปน เสนตรงธรรมดา เราจะตองใชคําสั่ง EXPLODE กับเสนโพลีไลนเหลานั้นซ้ําอีกครั้ง

Note

เราไมสามารถ EXPLODE เอกซเรฟ(Xref)ได ตองใชคาํ สัง่ Insert4Xref Manager และเราจะไมสามารถ EXPLODE ตัวอักษร Text และ Shape ไดเชนเดียวกัน

121

13/10/2549, 1:26

เลือก Bind แทน

122

Modify4Object4Hatch | HATCHEDIT | HE |

2D Drafting

ใชคําสัง่ นี้สําหรับแกไขลวดลายแฮทชทสี่ รางจากคําสั่ง Draw4Hatch และแกไขสีไลระดับที่สรางจากคําสั่ง Draw4Gradient เราสามารถเปลีย่ นลวดลายหรือเปลีย่ นสี แกไขรูปแบบในการระบายสี แกไขสเกลหรือปรับแตง มุมเอียงของแฮทชและสีไลระดับใหม

กอ นใชคําสั่ง

รูปที่ 4.37

หลังใชคําสั่ง

Command: _hatchedit

{คลิกบนลวดลายแฮทชหรือสีไลระดับทีต่ อ งการปรับแตงแกไข ซึง่ จะปรากฏไดอะล็อค Hatch Edit ขึน้ มาบนจอภาพ ใหปรับแตงคาตางๆ ของแฮทชไดตาม ตองการ เมือ่ เสร็จเรียบรอยแลว คลิกบนปุม OK ดูรายละเอียดในคําสัง่ HATCH ในบทที่ 3}

Select associative hatch object:

Note

หากตองการเปลีย่ นจากลวดลายแฮชทเปนสีไลระดับหรือจากสีไลระดับเปนลวดลายแฮทช เมือ่ เขาไปยัง ไดอะล็อค Hatch Edit ใหคลิกบนแถบคําสั่ง Hatch หรือ Gradient แลวปรับคาตางๆ ไดตามตองการ

Note

หากไมตองการเสียเวลาเรียกคําสั่งนี้จากเมนูบ ารหรือจากปุมไอคอนบนทูลบาร ใหดับเบิ้ลคลิกบน ลวดลายแฮทชที่ตองการแกไข จะปรากฏไดอะล็อค Hatch Edit ใหเราไดแกไขลวดลายแฮทชเชน เดียวกัน

Modify4Object4Polyline | PEDIT | PE | ใชสําหรับแกไขปรับแตงคุณสมบัตติ างๆ ของเสนโพลีไลน(Polyline)หรือใชสาํ หรับแปลงเสนตรงและเสนโคงใหเปน เสนโพลีไลน

กอ นใชคําสั่ง

รูปที่ 4.38

หลังใชคําสั่ง

{คลิกบนเสนตรงเสนโคงหรือคลิกบน เสนโพลีไลน หรือพิมพตวั เลือก M เพือ่ เลือกเสนโพลีไลนหลายๆ เสนพรอมๆ กันในครัง้ เดียว}

Command: _pedit Select polyline or [Multiple]:

chap-04.PMD

122

13/10/2549, 1:26

กลุ มคําสั่งสําหรับการแกไขปรับแตงวัตถุ

123

{โปรแกรมรายงานวาวัตถุทถี่ กู เลือกไมใชเสนโพลีไลน} {ถาวัตถุทเี่ ลือกไมใชโพลีไลนอาจเปนเสนตรงหรือ เสนโคง โปรแกรมจะถามวา เราตองการจะแปลงเสนดังกลาวใหเปนเสนโพลีไลนหรือไม}

Object selected is not a polyline

Do you want to turn it into one?

Enter an option [Close/Join/Width/Edit vertex/Fit/Spline/Decurve/Ltype gen/Undo]:

{เลือกตัวเลือก Join เพือ่ เชือ่ มตอเสนโพลีไลนหลายเสนเขาดวยกันหรือเลือกใชตวั เลือกอืน่ ๆ ในการ ปรับแตงเสนโพลีไลนทตี่ อ งการ}

Note

สวนมากแลวในการเขียนแบบ 2 มิติ เราจะใชคําสั่ง PEDIT เพื่อแปลงเสนตรงและเสนโคงใหเปนเสน โพลีไลน เชื่อมตอ(Jion)เสนโพลีไลน เปลีย่ นความหนา(Width)ของเสนโพลีไลน ปรับเสนโพลีไลน เสนตรงใหเปนเสนโคงสไปลน(Spline)เทานั้น

Multiple ใชในกรณีที่ตองการเลือกเสนหลายๆ เสนพรอมๆ กันในครั้งเดียว เสนที่ถูกเลือกอาจจะมีทั้งเสนตางๆ ทีม่ ปี ลายเสนเชือ่ มตอกันและไมไดเชือ่ มตอกันจริงและอาจจะเปนเสนตรงและเสนโคงธรรมดาทีย่ งั ไมไดแปลงใหเปน เสนโพลีไลนหรืออาจจะเปนเสนโพลีไลนก็ได Close ใชสําหรับลากเสนเชื่อมตอหัวทาย เพือ่ สรางโพลีไลนแบบปด Join เชื่อมตอเสนโพลีไลนตั้งแต 2 เสนขึน้ ไปใหกลายเปนโพลีไลนเสนเดียว เมื่อใชตัวเลือกนี้จะปรากฏขอความ รูปที่ 4.39

Select objects: ใหเลือกเสนทีต่ องการเชื่อมตอเสนเดียวหรือหลายเสน เสนทีน่ ํามาเชือ่ มตอกันใหเปนเสนเดียวกันจะ ต องมีจุ ดปลายเส นเชื่ อมต ออยู ในตําแหน งพิ กัดคอร ออรดิ เนทเดียวกั นพอดี แต ถ ามีการใช ตั วเลื อก Multiple ปลายเสนไมจําเปนตองเชือ่ มตอกันจริง เนือ่ งจากเมือ่ ใชตัวเลือก Multiple จะปรากฏขอความ Enter fuzz distance or [Jointype] <0.0000>: เราสามารถระบุระยะทีน่ อ ยทีส่ ดุ ทีจ่ ะยอมใหปลายเสนเชือ่ มตอกันโดยอัตโนมัติ ถึงแมวา ปลาย เสนจะไมไดเชือ่ มตอกันจริง หากมีระยะนอยกวาทีก่ ําหนดใน Fuzz distance โปรแกรมจะเขียนเสนเชือ่ มตอใหโดย อัตโนมัตดิ ังรูปที่ 4.29 โดยทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาให การเชือ่ มตอ(Jointype)เปนแบบ Extend โปรแกรมจะทําการตัด หรือตอปลายเสนที่ไมไดตอ กันจริงใหโดยอัตโนมัติดังรูปที่ 4.40 (ซาย) หากเลือก Jointype เปน Add โปรแกรม จะเขียนเซกเมนตเสนตรงเชือ่ มตอจุดปลายเสนใหโดยอัตโนมัติดังรูปที่ 4.40 (กลาง) หากเลือก Jointype เปน Both โปรแกรมจะทําการตัดหรือตอปลายเสนตามทีโ่ ปรแกรมเห็นวาเหมาะสม หรือจะเขียนเซกเมตเสนตรงเชือ่ มตอปลาย เสนตามที่โปรแกรมเห็นวาเหมาะสมดังรูปที่ 4.40 (ขวา) Width ใชตวั เลือกนีเ้ ปลี่ยนความหนาของเสน ซึ่งจะมีผล กอ นใชคําสั่ง

รูปที่ 4.40 หลังใชคําสั่ง

ความหนาเทาๆ กันในทุกๆ เซกเมนตของเสน Edit vertex ใชสําหรับเคลือ่ นยาย ลบ สอดแทรก แยกและปรับมุม สัมผัส(Tangent direction)ของจุดเวอรเทกซบนเสนโพลีไลน เมื่อเลือกตัวเลือกนี้ โปรแกรมจะแสดงเครื่องหมาย กากบาท X ไวที่ ปลายดานจุดเวอรเทกซจุดแรกของเสนโพลีไลน ถามีการกําหนดทิศทางของมุมสัมผัสไวกอน

chap-04.PMD

123

13/10/2549, 1:26

124

จะปรากฏหัวลูกศรชีไ้ ปในทิศทางของมุมสัมผัสทีจ่ ดุ เวอรเทกซน้ี Fit แปลงโพลีไลนทมี่ เี ซกเมนตเปนเสนตรงใหเปน เสนโคง โดยเชื่อมตอจุดเวอรเทกซตางๆ ดวยสวนโคงซึง่ ลากผานจุดเวอรเทกซทกุ จุดทิศทางสวนโคงจะขึ้นอยูกับ

2D Drafting

รูปที่ 4.41

กอนใชตัวเลือก

หลังใชตัวเลือก Fit

หลังใชตัวเลือก Spline

หลังใชตัวเลือก Decurve

มุมสัมผัสทีร่ ะบุในตัวเลือก Tangent ของ Edit vertex Spline แปลงโพลีไลนทมี่ เี ซกเมนตเปนเสนตรงใหเปนเสนโคง โดยใชจดุ เวอรเทกซตางๆ บนโพลีไลนเปนจุดควบคุมความโคงของเสน Decurve แปลงโพลีไลนทเี่ ปนเสนโคง Fit หรือ Spline ใหกลับเปนโพลีไลนทมี่ ีเซกเมนตเปนเสนตรง Ltype gen ใชตวั เลือกนี้กบั เสนประ เมื่ออยูในสถานะ Off โปรแกรมจะกําหนดแพทเทิรนของเสนโดยเริม่ จากจุด เวอรเทกซแรกไปยังจุดเวอรเทกซสดุ ทาย เมือ่ อยูใ นสถานะ On โปรแกรมจะกําหนดแพทเทิ รนของเส น โดยใช จุ ด เวอรเทกซ ทุ กจุ ด Undo ยกเลิ กสิ่ งที่ ได แก ไขปรั บแต ง Ltype gen = Off รูปที่ 4.42 Ltype gen = On ครัง้ ลาสุด เราสามารถยอนกลับไปยังจุดแรกที่เริม่ เขามาใน คําสัง่ นี้ โดยใช Undo ตอไปจนถึงจุดเริม่ ตน เมือ่ เลือกตัวเลือก Edit vertex จะปรากฏตัวเลือกยอยสําหรับปรับแตงจุดเวอรเทกซแตละจุดดังนี้ [Next/Previous/Break/Insert/Move/Regen/Straighten/Tangent/Width/eXit] :

Next ใชสําหรับเคลือ่ นยายเครื่องหมายกากบาท X ไปยังจุดเวอรเทกซตอ ไป Previous ใชสําหรับเคลื่อนยายเครือ่ ง หมายกากบาท X ไปยังจุดเวอรเทกซกอน Break ใชสําหรับแบงแยกเสนโพลีไลนออกจากกัน โดยใชเครื่องหมาย

X ในตําแหนงกอนเขาไปในตัวเลือก Break เปนจุดเริม่ ตนและใชเครือ่ งหมาย X ในตําแหนงทีเ่ ขามาในตัวเลือก Break แลว เปนจุดสิน้ สุดของการแบงเสน เมื่อเขามาในตัวเลือก Break จะปรากฏขอความ [Next/Previous/Go/eXit] : เราสามารถใชตัวเลือก Next หรือ Previous ในการเคลื่อนยายเครื่องหมาย X และใชตัวเลือก Go เพื่อแบงเสน โพลีไลนออกเปน 2 สวน Insert เพิม่ จุดเวอรเทกซบนเสนโพลีไลนถัดจากจุดเวอรเทกซที่มีเครื่องหมาย X Move ใชสําหรับเคลือ่ นยายจุดเวอรเทกซบนเสนโพลีไลนไปยังตําแหนงใหม Regen ใชสําหรับคํานวณเสนโพลีไลนใหม ที่มกี ารปรับแตงไปแลวใหม Straighten ใชแปลงเสนโพลีไลนทเี่ ปนเสนโคง Fit หรือ Spline ระหวางจุดเวอรเทกซ ที่ กําหนดใหเปนเสนตรง โดยใชเครื่ องหมาย X ในตําแหนงกอนเขาตัวเลือก Straighten เปนจุดเริ่ มตนและใช เครือ่ งหมาย X ในตําแหนงทีเ่ ขามาในตัวเลือก Straighten แลวเปนจุดสิ้นสุดของการ กําหนดเสนตรง เมื่อเขามาใน ตัวเลือก Straighten จะปรากฏขอความ [Next/Previous/Go/eXit] : เราสามารถใชตัวเลือก Next หรือ Previous ในการเคลื่อนยายเครื่องหมาย X และใชตัวเลือก Go เพื่อแปลงเสนโคงใหเปนเสนตรง Tangent ใชสําหรับกําหนด มุมสัมผัสของสวนโคง เมือ่ ใชตัวเลือกนี้กบั จุดเวอรเทกซใดๆ จะปรากฏขอความ Specify direction of vertex tangent: พรอมทั้งจะปรากฏเสนตรงชั่วคราวลากจากเครื่องหมาย X ไปยังตําแหนงของเคอรเซอรซึ่งแสดงทิศทางของมุม สัมผัสของสวนโคง เราสามารถคลิกในทิศทางที่ตองการใหเกิดมุมสัมผัส จะปรากฏหัวลูกศรแสดงทิศทางของมุม สัมผัสขึน้ มา เพื่อที่จะมีผลเมื่อมีการเรียกใชตัวเลือกที่สรางสวนโคงดวยตัวเลือก Fit ในครัง้ ตอไป Width เปลี่ยน ความหนาเสนของเซกเมนตซึ่งอยูถัดจากจุดเวอรเทกซที่มีเครื่องหมาย X กอนใชตัวเลือกนี้และความหนาใหมที่ กําหนดจะเปลี่ยนไปก็ตอเมื่อออกจากตัวเลือก Edit vertex แลว eXit พิมพ X แลวกดปุม Q เพื่อออกจาก ตัวเลือก Edit vertex

Modify4Object4Spline | SPLINEDIT | SPE | ใชสําหรับแกไขปรับแตงเสนโคงทีส่ รางจากคําสัง่ SPLINE และเสนโคง SPLINE ทีส่ รางจากคําสัง่ POLYLINE

chap-04.PMD

124

13/10/2549, 1:26

กลุ มคําสั่งสําหรับการแกไขปรับแตงวัตถุ

125

รูปที่ 4.43 Command: _splinedit Select spline:

{คลิกบนเสนโคง SPLINE ทีต่ อ งการแกไขปรับแตง}

Enter an option [Fit data/Close/Move vertex/Refine/rEverse/Undo]:

Fit Data ใชสําหรับเพิม่ ลบ เคลือ่ นยาย ปรับมุมสัมผัสของจุดเวอรเทกซ Close ลากเสนโคงเชือ่ มตอหัวทายของเสน สไปลน Move Vertex ใชสําหรับเคลื่อนยายจุดเวอรเทกซไปยังตําแหนงใหม Refine เพิ่มจุดควบคุมสวนโคง ปรับแตงน้ําหนักจุดควบคุมสวนโคง SPLINE rEverse กลับทิศทางของสไปลน Undo ยกเลิกสิง่ ทีไ่ ดแกไขปรับแตง ครั้งลาสุด

เมือ่ เลือกตัวเลือก Fit Data จะปรากฏตัวเลือกยอยสําหรับปรับแตงจุดเวอรเทกซแตละจุดดังนี้ [Add/Close/Delete/Move/Purge/Tangents/toLerance/eXit] <eXit>:

Add ใชเพิม่ เติมจุดเวอรเทกซ(Fit point)เขาไปยังเสนโคงสไปลน Close ลากเสนโคงเชือ่ มตอหัวทายของเสนสไปลน Open ใชสําหรับเปดเสนโคงสไปลนแบบปด โดยลบเซกเมนตของเสนโคงสไปลนเชือ่ มตอจุดเริม่ ตนไปยังจุดสุดทาย ของสไปลน Delete ใชสําหรับลบจุดเวอรเทกซ Fit points Move ใชสําหรับเคลือ่ นยายจุดเวอรเทกซ Fit point ไปยัง ตําแหนงใหม Purge ใชสําหรับลบจุดเวอรเทกซ Fit point ทั้งหมด เมื่อใชตัวเลือกนี้แลว ตัวเลือก Fit Data จะหายไป Tangents ใชสําหรับปรับแตงมุมสัมผัส(Tangent)เริ่มตนและสิ้นสุดของเสนโคงสไปลน เมื่อเลือกตัวเลือกนี้ จะ

ปรากฏ Specify start tangent or [System default]: ใหเลื่ อนเมาสเพื่ อปรับมุมสั มผัสของจุดเวอรเทกซเริ่ มตน คลิกเมื่อไดตําแหนงที่ตองการและจะปรากฏ Specify end tangent or [System default]: ใหเลื่อนเมาสเพื่อปรับ มุมสัมผัสของจุดเวอรเทกซเริ่มตน คลิกเมือ่ ไดตาํ แหนงที่ตองการ toLerance พิมพ L เพื่อกําหนดคาพิกัดความเผื่อ ของเสนโคงสไปลนที่ยอมได eXit พิมพ X แลวกดปุม Q เพือ่ ออกจากตัวเลือก Fit Data

Modify4Object4Multiline | MLEDIT ใชคําสัง่ นีส้ ําหรับแกไขปรับแตงจุดเชือ่ มตอของเสนคูข นานมัลติไลน ทีต่ ดั กันดังรูปที่ 4.44 เมือ่ ใชคําสัง่ นีจ้ ะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 4.44 (ขวา) ซึง่ เราสามารถกําหนดรูปแบบในการเชือ่ มตอเสนมัลติไลนได ดังนี้

รูปที่ 4.44

chap-04.PMD

125

13/10/2549, 1:26

126

เมือ่ ตัดเสนโดยเลือกโหมดการตัดจากไดอะล็อค Multiline Edit Tools แล ว เส นมั ลติไลน ต างๆ จะปรากฏดั งรู ปที่ 4.45 หลังจากที่เราคลิกบนรูปไอคอนรูปใดรูปหนึ่งที่เกี่ยวของกับ รูปแบบที่เราสามารถทําการตัดเสนมัลติไลนที่ตองการ โดย ไอคอนแตละรูปมีความหมายและการใชงานดังนี้

2D Drafting

รูปที่ 4.45

Closed Cross เมื่ อเลือก Closed Cross โปรแกรมจะบอกใหเราเลือกเสนคูขนานเสนแรก Select first mline:

ใหคลิกบนเสนคูขนานที่จะถูกตัดผาน เมื่อปรากฏ Select second mline: ใหคลิกบนเสนที่จะตัดทับเสนคูขนาน เสนแรก เมือ่ เสร็จสิน้ การใชตัวเลือกนี้ เสนทุกๆ เสนของเสนคูข นานเสนทีส่ องจะตัดทับเสนทุกๆ เสนของเสนคูข นาน เสนแรกที่ถกู เลือก Open Cross เมื่อเลือก Open Cross โปรแกรมจะบอกใหเราเลือกเสนคูขนานเสนแรก Select first mline: ใหคลิกบนเสนที่จะถูกเสนอยูภายในของเสนที่สองตัดผาน เมื่อปรากฏ Select second mline: ใหคลิก บนเสนที่จะตัดทับเสนที่อยูภายในของเสนคูขนานเสนแรก เมื่อเสร็จสิ้นการใชตัวเลือกนี้ เสนที่อยูภายในของเสน คูข นานทีส่ องจะตัดทับเสนทีอ่ ยูภ ายในของเสนคูข นานเสนแรกทีถ่ กู เลือก สวนเสนนอกสุดของเสนคูข นานทัง้ สองของ สวนทีต่ ัดกันจะถูกลบทิง้ Merged Cross เมือ่ เลือก Merged Cross โปรแกรมจะบอกใหเราเลือกเสนคูข นานเสนแรก Select first mline: ใหคลิกบนเสนคูข นานเสนแรก เมือ่ ปรากฏ Select second mline: ใหคลิกบนเสนคูข นานเสนทีส่ อง เมือ่ เสร็จสิน้ การใชตัวเลือกนี้ เสนทุกๆ เสนทีอ่ ยูภ ายในของเสนคูข นานทัง้ สองจะตอชนกัน สวนเสนนอกสุดของเสน คูขนานทั้งสองของสวนที่ตัดกันจะถูกลบทิง้ Closed Tee เมื่อเลือก Closed Tee โปรแกรมจะบอกใหเราเลือกเสน คูข นานเสนแรก Select first mline: ใหคลิกบนเสนทีจ่ ะถูกตัดตรงสวนฐานของตัว T เมือ่ ปรากฏ Select second mline: ใหคลิกบนเสนทีจ่ ะเปนสวนหัวของตัว T เมือ่ เสร็จสิน้ การใชตวั เลือกนี้ เสนทุกๆ เสนของเสนคูข นานในสวนหัวของตัว T จะตัดทับทุกๆ เสนคูข นานเสนฐานของตัว T Open Tee เมื่อเลือก Open Tee โปรแกรมจะบอกใหเราเลือกเสน คูขนานเสนแรก Select first mline: ใหคลิกบนเสนทีจ่ ะถูกตัดตรงสวนฐานของตัว T เมื่อปรากฏ Select second mline: ใหคลิกบนเสนที่จะเปนสวนหัวของตัว T เมื่ อเสร็จสิ้นการใชตัวเลือกนี้ เสนที่อยู ภายในของเสนคูขนาน ในสวนหัวของตัว T จะตัดทับเสนทีอ่ ยูภายในของเสนคูข นานเสนฐานของตัว T Merged Tee เมือ่ เลือก Merged Tee โปรแกรมจะบอกใหเราเลือกเสนคูข นานเสนแรก Select first mline: ใหคลิกบนเสนทีจ่ ะถูกตัดตรงสวนฐานของตัว T เมือ่ ปรากฏ Select second mline: ใหคลิกบนเสนที่จะเปนสวนหัวของตัว T เมือ่ เสร็จสิน้ การใชตัวเลือกนี้ เสนทุกๆ เสนทีอ่ ยูภ ายในของเสนคูข นานในสวนหัวและในสวนฐานของตัว T จะตอชนกัน Corner Joint ใชสําหรับตัดหรือ ตอเสนคูขนานสองเสนใหทํามุมชนกัน ใหคลิกที่ปลายเสนคูขนานเสนที่ หนึ่งและปลายเสนคูขนานอีกเสนหนึ่ง โปรแกรมจะสรางมุมชนกันระหวางเสนคูข นานทัง้ สองเสน Add Vertex ใชสําหรับเพิม่ เติมจุดเวอรเทกซใหกบั เสน คูข นานในตําแหนงทีถ่ กู เลือก เมือ่ ปรากฏ Select mline: ใหคลิกบนเสนคูข นาน ณ ตําแหนงทีต่ อ งการเพิม่ จุดเวอรเทกซ เมือ่ เพิม่ จุดเวอรเทกซแลว เราอาจจะยังไมเห็นความเปลีย่ นแปลงใดๆ จนกวาจะมีการใชคําสัง่ STRETCH เคลือ่ นยายจุด เวอรเทกซนั้นไปยังตําแหนงใหม Delete Vertex ใชสําหรับลบจุดเวอรเทกซออกจากเสนคูขนานทีม่ ีจุดเวอรเทกซ ตัง้ แตสองจุดขึน้ ไป เมือ่ ปรากฏ Select mline: ใหคลิกบนจุดเวอรเทกซของเสนคูข นานทีต่ อ งการ Cut Single ใชสาํ หรับ ตัดเสนคูข นานเสนใดเสนหนึ่งที่ตองการ โดยใหคลิกบนเสนใดเสนหนึง่ ของเสนคูขนานตรงจุดจะเริม่ ตัดซึ่งบรรทัด แสดงขอความจะปรากฏ Select mline: ตอไปโปรแกรมจะบอกใหเราเลือกจุดที่สอง(บนเสนคูขนานเสนเดิม) Select second point: ใหคลิกบนจุดทีส่ อง Cut All ใชสําหรับตัดเสนทุกๆ เสนของเสนคูขนาน โดยใหคลิกบนเสนคูข นาน ตรงจุดจะเริม่ ตัด ซึง่ บรรทัดแสดงขอความจะปรากฏ Select mline: เมือ่ ปรากฏ Select second point: ใหคลิกบนจุดทีส่ อง เสนทุกๆ เสนของเสนคูขนานจะถูกตัดออก Weld All ใชสําหรับเชื่อมตอเสนคูข นานที่ถกู ตัดออกจากตัวเลือก Cut Single และ Cut All ซึง่ จะกลายเปนเสนคูข นานเสนเดิม

chap-04.PMD

126

13/10/2549, 1:26

กลุ มคําสั่งสําหรับการแกไขปรับแตงวัตถุ

127

Note

คําสั่งอื่นๆ ที่อยูในกลุมของคําสั่งในการแกไขวัตถุ ที่ยังไมไดอธิบายไวในบทนี้ไดถูกแยกออกไป ไวในบทตางๆ เนือ่ งจากบางคําสัง่ มีเนือ้ หามากและบางคําสัง่ ยังไมจําเปนตองทราบในขณะนี้ อาทิ เชน คําสั่ง Modify4Properties ถูกนําไปอธิบายไวในบทที่ 11 เนื่องจากมีรายละเอียดมากและยังไม จําเปนตองใชงานในขณะนี้ สวนคําสั่ง Tools4Xref and Block In-place Editing4Edit Reference In-Place ก็ไดถูกนําไปอธิบ ายไวในบทที่ 9 เนื่องจากเปนคําสั่งที่เกี่ยวของกับการแกไขบล็อคและ ก็ถูกนําไปอธิบ ายไวในกลุมคําสั่งสารพัด เอกซเรฟ สวนคําสั่ง Modify4Match Properties ประโยชนตางๆ ในบทที่ 12 เปนตน คําสั่งในการแกไขวัตถุที่เหลือสวนใหญจะอยูในบทที่ 12 กลุม คําสัง่ สารพัดประโยชน

Note

เพื่อตัดเสนหรือคําสั่ง Modify4 โดยปกติ เสนมัลติไลนจะไมสามารถใชคําสั่ง Modify4Trim Extend เพื่อตอเสนหรือคําสั่ง Modify4Break เพื่อตัดเสนได หากตองการใชคําสั่งดังกลาว กับเสนมัลติไลน เราจะตองใชคําสั่ง Modify4Explode เพื่อระเบิดเสนมัลติไลนใหเปนเสนตรง ธรรมดาเสียกอน แลวจึงใชคําสัง่ ดังทีก่ ลาวมาขางตนได อยางไรก็ตาม หากเสนมัลติไลนถกู ระเบิดกลาย เปนเสนตรงธรรมดาไปแลว เราก็จะไมสามารถใชคําสั่ง Modify4Object4Multiline เพื่อแกไขเสน เหลานัน้ ตอไปได

เปนอันวาเราไดศกึ ษาคําสัง่ พืน้ ฐานในการแกไขปรับแตงวัตถุมาพอสมควรแลว ยังมีคาํ สัง่ สําหรับแกไขปรับแตงวัตถุทยี่ งั ไมไดกลาวถึงอยูอ ีกจํานวนหนึง่ ซึ่งผูเขียนจะอธิบายการใชคําสัง่ เหลานั้นอยางละเอียดในบทตอๆ ไป ในเบือ้ งตนนี้ ขอใหผูอา นฝกฝนการใชคําสัง่ ตางๆ ในบทนี้เพื่อใหเกิดทักษะและความคลองตัวในการใชงานเสียกอน เมือ่ ผูอา น สามารถควบคุมการใชคําสัง่ เบือ้ งตนในการแกไขปรับแตงวัตถุไดเปนอยางดีแลว เราก็สามารถทีจ่ ะเริม่ ใช AutoCAD ไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึน้ ในบทตอไปเราจะเริม่ ศึกษาคําสัง่ ทีเ่ กีย่ วของกับการควบคุมคุณสมบัตขิ องวัตถุ

*********************************

chap-04.PMD

127

13/10/2549, 1:26

128

2D Drafting

chap-04.PMD

128

13/10/2549, 1:26

Related Documents

Autocad 2d
June 2020 26
Autocad 2d
August 2019 28
Autocad 2006 2d Chap-14
November 2019 2
Autocad 2006 2d Chap-12
November 2019 4
Autocad 2006 2d Chap-04
November 2019 4
Autocad 2006 2d Chap-18
November 2019 4