Asymmetric Information_in Thai

  • June 2020
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Asymmetric Information_in Thai as PDF for free.

More details

  • Words: 1,247
  • Pages: 7
Lecture Note 11 ความไมสมมาตรของขอมูล (Asymmetric Information) อ.ดร.กรกรัณย ชีวะตระกุลพงษ

ในบทนี้ เราจะมาพิจารณาสาเหตุของความลมเหลวของตลาดในกรณีนี้สุดทาย คือกรณี ที่มีความไมสมบูรณของขอมูล กลาวคือ ขอมูลที่ผูมีสวนไดสวนเสียในตลาดแตละฝายมีนั้นไม เทากัน เชน ผูขายอาจจะมีขอมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑมากกวาผูซื้อ จึงทําใหเกิดความลมเหลว ของตลาด กลาวคือ ดุลยภาพที่ไดจากตลาดนั้น จะไมเปนจุดที่มีประสิทธิภาพของสังคม (social optimal) โดยในที่นี้ เราจะพิจารณาความไมสมมาตรของขอมูล แบงเปน 2 ประเภทดวยกัน กลาวคือ 1. Adverse selection 2. Moral Hazard Adverse selection เปนลักษณะของความไมสมมาตรของขอมูลในรูปแบบที่คูสัญญาฝายหนึ่ง มีขอมูลนอย กวาอีกฝายหนึ่ง หรือกลาวโดยทั่วไปคือ เปนลักษณะที่ ธรรมชาติจะเลือกลักษณะของคูสญ ั ญา ฝายหนึ่งให โดยที่มีเพียงตัวเขาเทานั้นที่รูลักษณะของตน (เชนคุณภาพสูง หรือคุณภาพต่ํา) ในขณะที่คสู ญ ั ญาอีกฝายจะไมมีโอกาสรูถึงลักษณะของคูสัญญาของตนจนกวาการทําสัญญาจะ สิ้นสุดแลว แตลักษณะดังกลาว กลับมีผลตอผลตอบแทนของเขา ดังนั้น บางครั้งเราจะเรียก ปญหานี้วา “การมีขอมูลแอบแฝง (Hidden Information)” ตัวอยางที่ 1: Lemon Market ตัวอยางคลาสสิคอันหนึ่งของปญหา adverse selection คือ lemon market หรือตลาด รถยนตมือสองนั่นเอง เวลาที่เราไปซื้อรถยนตมือสองในตลาด สวนมาก เราจะไมทราบถึง คุณภาพของรถยนตที่แทจริง จนกวาจะไดซื้อมาใชแลว ในขณะที่ผูขายสามารถทราบถึง คุณภาพของรถยนตของตนเองกอนจะขายได สมมติให สําหรับผูบริโภคแลว มูลคารถยนตคุณภาพดีเทากับ 2400 บาท สวนมูลคา รถยนตคุณภาพต่ําเทากับ 1200 บาท โดยรถยนตมีโอกาสเปนรถคุณภาพดีและคุณภาพต่ําเทา ๆ กัน เทากับ 0.5 สําหรับผูขายนั้น รถยนตที่มีดี มีมูลคาตอเขาเทากับ 2000 บาท และรถยนต ที่มีคุณภาพต่าํ มีคุณภาพตอเขา 1000 บาท กรณีที่ 1: กรณีผลลัพธที่มีประสิทธิภาพของสังคม (Social Efficient Outcome) พิจารณาการหาผลลัพธที่มีประสิทธิภาพที่สุดของสังคมไดจากการหาปริมาณสินคาที่ทํา ใหสวนเกินรวม (total surplus) ในสังคมสูงที่สุด โดยในที่นี้ Consumer surplus = value of buyers - price Producer surplus = price – seller’s reservation price (willingness to sell) Total surplus = value - seller’s reservation price (willingness to sell)

ดังนั้น ในที่นี้ การทําใหสวนเกินรวมสูงที่สุด กคือการขายรถยนตทั้งที่มีคุณภาพสูงและ ต่ํา เนื่องจากรถยนตทั้ง 2 ชนิดนั้น ผูซื้อใหมูลคาที่สูงกวาผูขาย โดยตั้งราคาระหวางมูลคาที่ผูซอื้ ตีคา กับมูลคาที่ผูขายเต็มใจจะขาย กรณีนี้จะไดรับผลลัพธออกมาเปนจุดที่มีประสิทธิภาพของ สังคม กรณีที่ 2: กรณีที่มีความไมสมมาตรของขอมูล ในกรณีที่เกิดความไมสมมาตรของขอมูลขึ้น เราจะพบวามีดุลยภาพที่เปนไปไดใน 3 ลักษณะดวยกัน ซึ่งเราจะพิจารณาดุลยภาพแตละแบบวาเปนไปไดหรือไม 1. Pooling equilibrium ดุลยภาพแบบ pooling เปนดุลยภาพแบบที่รถยนตทั้ง 2 คุณภาพสามารถขายได ในราคา เดียวกัน กลาวคือ ณ เวลาที่ผูซื้อเห็นราคาและจายซื้อสินคา ผูซื้อไมสามารถบอกไดวา รถยนต ที่ตนเองกําลังซื้ออยูนั้น เปนรถที่มีคุณภาพต่ําหรือสูง ุ ภาพดีไดขาย 2. Separating equilibrium ที่มีแตรถยนตคณ เวลาที่เราพูดถึงดุลยภาพแบบ separating เราจะหมายถึง กรณีที่ผูซื้อสามารถทราบถึง คุณภาพของรถยนตไดในเวลาที่ซื้อ เนื่องจากการตั้งราคาที่ไมเทากัน ระหวางรถยนตคุณภาพดี และไมดี โดย separating equilibrium แบบหนึ่งก็คือ กรณีที่มีแตรถยนตคุณภาพดีเทานั้นที่ขาย ออกไปได และผูซื้อรูไดวา รถยนตทตี่ นเองกําลังซื้ออยูนั้นเปนรถคุณภาพดี 3. Separating equilibrium ที่มีแตรถยนตคณ ุ ภาพต่ําไดขาย กรณีนี้จะเปนกรณีตรงขามกับขอ 2 กลาวคือ ผูซื้อสามารถแยกแยะคุณภาพของรถได แตมี เพียงรถยนตคุณภาพต่ําเทานั้นที่ขายได ลองมาพิจารณาจากตัวอยางของเราวา ดุลยภาพที่เกิดขึ้น จะเปนดุลยภาพแบบไหน หมายเหตุ: ดุลยภาพที่เกิดขึ้น สามารถเกิดขึ้นมากกวา 1 ลักษณะได เราจะเริ่มพิจารณาจากดุลยภาพแบบแรก คือ pooling equilibrium หากเปนดุลยภาพ แบบนี้ มูลคาที่ผูซื้อจะใหกับรถยนตแตละคันจะเทากับ expected value ซึ่งก็คือ E(V) = ½ (2400) + ½ (1200) = 1800

นั่นคือ ผูซื้อจะไมยอมจายเงินมากกวา 1800 บาท ในการซื้อรถยนตแตละคัน อยางไรก็ ตาม เราจะเห็นไดวา สําหรับผูขายแลว เขาตองการขายรถยนตคุณภาพดีในราคาไมนอยกวา 2000 บาท ดังนั้น จึงเหลือแตรถยนตคณ ุ ภาพไมดีเทานั้น ที่เขาจะเต็มใจขายในราคา 1800 บาท เมื่อนําเหตุผลนี้มาพิจารณาประกอบแลว จะพบวาเปนไปไมไดทจี่ ะมีดุลยภาพแบบ pooling equilibrium เนื่องจากที่ราคาที่ผูซื้อเต็มใจจะซื้อใน pooling equilibrium มีเพียงรถยนตคุณภาพ ต่ําเทานั้นที่จะถูกขาย และเมื่อผูซื้อรูเชนนี้แลว เขาจะตีคารถต่ําลงไปเปน 1200 บาทนั่นเอง ดังนั้น ตัวอยางนี้จึงไมมี pooling equilibrium ตอมา พิจารณาในกรณีที่ 2 คือ separating equilibrium ที่มีแตรถยนตคุณภาพสูง เทานั้นถูกขาย ในกรณีนี้ ผูซื้อจะใหมูลคารถยนตเทากับ 2400 บาท นั่นคือ ผูขายไมสามารถตั้ง ราคาขายเกินกวานี้ได แตการตั้งราคาเทานี้ ผูขายรถยนตคุณภาพต่ําก็เต็มใจจะขายรถเชนกัน

(เนื่องจากเคาตองการราคาไมต่ํากวา 1000 บาท) ดังนั้น ผูขายรถยนตทั้ง 2 ประเภทจะนํา รถยนตมาขาย จึงไมสามารถเกิด separating equilibrium แบบที่มแี ตรถยนตคณ ุ ภาพดีขายได กรณีสุดทายคือ separating equilibrium ที่มีเพียงรถยนตคุณภาพต่ําเทานั้นทีถ่ ูกขาย กรณีนี้ ผูซื้อจะยอมซื้อในราคาไมเกินกวา 1200 บาท และผูขายตองการราคาที่ไมต่ํากวา 1000 บาท ดังนั้น ผูขายจะตั้งราคา 1000 ≤ p ≤ 1200 และผูซื้อจะซื้อแตรถยนตคุณภาพต่าํ และนี่คือ ดุลยภาพที่เกิดขึ้นในตลาด ซึ่งจะเห็นไดวาตางจากจุดที่มีประสิทธิภาพ กลาวคือ รถยนตทั้ง 2 แบบควรจะถูกขาย ปญหาในตัวอยางนี้ คือสิ่งที่เราเรียกวา “lemon market problem” กลาวคือ ความไม สมมาตรของขอมูล กอใหเกิดดุลยภาพที่มีเพียงรถยนตคุณภาพต่าํ เทานั้น ขายในตลาดรถยนต มือสอง ตัวอยางที่ 2: Quality Choice พิจารณาตลาดขายรม โดยที่ผูซื้อไมสามารถทราบถึงคุณภาพของรม ณ เวลาที่อยูใน รานได จะตองไดใชรมเปนที่เรียบรอยแลว จึงจะทราบไดวารมทีซ่ ื้อมานั้นมีคุณภาพต่ําหรือสูง กอนที่จะเขาสูต ลาด ผูขายสามารถเลือกไดวาจะผลิตรมคุณภาพต่ําหรือสูง โดยรมทั้ง 2 คุณภาพ จะถูกผลิตดวยตนทุนหนวยสุดทายเทากับ $11.50 และไมมีตนทุนคงที่ นอกจากนี้ ยังสมมติให ตลาดขายรมเปนตลาดแขงขันสมบูรณ กลาวคือราคาขายจะเทากับตนทุนหนวยสุดทาย สมมติ ใหผูบริโภคตีมูลคารมคุณภาพสูงเทากับ $14 และรมคุณภาพเทากับ $8 กรณีที่ 1: Social Efficient Outcome เนื่องจากมีเพียงรมคุณภาพสูงเทานั้นมีผูบริโภคตีคาสูงกวาตนทุนหนวยสุดทาย ดังนั้น ผลลัพธที่มีประสิทธิภาพคือผูผลิตทุกคนผลิตรมคุณภาพสูงออกขาย กรณีที่ 2: Asymmetric Information สมมติใหมีเพียงผูผลิตเทานั้น จะทราบถึงคุณภาพรมที่ตนเองผลิต กรณีนี้ ดุลยภาพของ ตลาดจะออกมาเปนอยางไร? เรายังอาศัยการวิเคราะหดุลยภาพ 3 แบบที่เคยไดแสดงใน ตัวอยางที่แลวมาใช 1. Separating equilibrium ที่มีเพียงรมดีเทานั้นที่ถูกผลิต ในกรณีนี้ หากผูผลิตทุกคนเลือกผลิตรมที่มีคุณภาพดี ผูผลิตจะขายรมในราคา $11.50 ซึ่งต่ํากวามูลคาที่ผูบริโภคตีใหกับรมคุณภาพสูง ดังนั้นจึงสามารถเกิดดุลยภาพแบบนี้ได 2. Separating equilibrium ที่มีเพียงรมคุณภาพต่ําเทานัน้ ที่ถูกผลิต ในกรณีที่ผูผลิตทุกคนเลือกผลิตรมที่มีคณ ุ ภาพต่ํา ผูซื้อจะตีมูลคารมในตลาดเทากับ $8 ซึ่งต่ํากวาราคารมที่ผูผลิตจะขายในตลาด ดังนั้นจึงไมเกิดดุลยภาพในกรณีนี้ขึ้น 3. Pooling equilibrium กรณีที่ผูผลิตบางคนเลือกผลิตรมคุณภาพต่ํา ขณะที่ผูผลิตบางคนเลือกผลิตรมที่ คุณภาพสูง โดยใหสัดสวนของผูผลิตเลือกผลิตรมคุณภาพสูงจะเทากับ q กรณีนี้จะเปนดุลย

ภาพไดก็ตอเมื่อ expected value ของรมที่มีอยูในตลาดมีคาไมต่ํากวาราคาขายรมของผูผลิต กลาวคือ 14q + 8(1 − q) ≥ 11.5 q ≥ 7 / 12

ดังนั้น ดุลยภาพแบบนี้จะเกิดขึ้นไดตอเมื่อมีสัดสวนของผูผลิตที่เลือกผลิตรมคุณภาพสูง มากกวา 7/12 หรือ q ∈ [7 / 12,1] และจะทําการขายรมที่ราคา $11.50 ตัวอยางที่ 3: Quality Choice with different marginal cost จากตัวอยางที่ 2 สมมติใหตน ทุนหนวยสุดทายในการผลิตรมคุณภาพต่ําเทากับ $11 เรา สามารถหาดุลยภาพของตลาด โดยพิจารณาดุลยภาพที่เปนไปไดทงั้ 3 กรณีดังที่ได 1. Separating equilibrium ที่มีแตรมดีเทานั้นที่ถูกผลิต ในกรณีนี้ รมดีจะถูกขายทีร่ าคา $11.50 อยางไรก็ตาม เนื่องจากผูผลิตรมคุณภาพต่ํา สามารถผลิตรมที่ตนทุน $11 เทานั้น ดังนั้น เคาจึงสามารถแกลงเปนผูผลิตรมดีและขายที่ราคา $11.50 ไดเชนกัน เพื่อใหไดกําไร $0.50 บาทตอคัน ดังนั้นจึงไมเกิดดุลยภาพแบบนี้ 2. Separating equilibrium ที่มีแตรมคุณภาพต่ําเทานั้นทีถ่ ูกผลิต ในกรณีนี้ รมจะถูกขายทีร่ าคา $11 แตผูซื้อมีความพอใจตอรมคุณภาพต่ําเพียง $8 เทานั้น จึงเลือกที่จะไมซื้อหากมีการผลิตรมคุณภาพต่ําขึ้นมาจริง ดังนั้นจึงไมเกิดดุลยภาพนี้ขึ้น 3. Pooling equilibrium ในกรณีที่มีผูผลิตบางสวนเลือกที่จะผลิตรมคุณภาพดี ในขณะทีบ่ างสวนเลือกผลิตรม คุณภาพต่ํา และขายที่ราคาเดียวกัน สมมติใหขายที่ราคา $11.50 ผูผลิตที่เลือกผลิตรมคุณภาพ ดีจะมีแรงจูงใจเปลี่ยนมาผลิตรมที่มีคุณภาพต่ําเพื่อเอากําไรจากสวนตาง และหากขายที่ราคาต่ํา กวา $11.50 ผูผลิตจะเลือกไมผลิตรมคุณภาพดีเชนกันเนื่องจากจะประสบกับภาวะขาดทุน ดังนั้นจึงไมมีดุลยภาพแบบ Pooling equilibrium เชนกัน จากตัวอยางนีเ้ ราจะเห็นถึงปญหาของ Adverse selection กลาวคือ จากความไม สมมาตรของขอมูล ทําใหไมมีตลาดรมเกิดขึ้นเลยในดุลยภาพ ถึงแมวาผลลัพธที่เหมาะสมทีส่ ุด ของสังคมคือการที่มีรมคุณภาพดีขายในตลาดก็ตาม การสงสัญญาณ (Signaling) ในสวนนี้เราจะมาพิจารณาถึงวิธีการแกไขปญหาที่เกิดจาก Adverse selection ที่เรา เรียกวาการสงสัญญาณ ตัวอยางเชน ในกรณีของตลาดรถยนตมือ 2 ผูขายรถคุณภาพสูงก็อาจที่ จะขายรถของตนเชนกัน ดังนั้น เขาจึงสามารถสงสัญญาณใหผูซื้อทราบวารถของตนนั้นเปนรถที่ มีคุณภาพดี โดยวิธีการทีท่ ําไดอยางเชน การรับประกัน (warranty) นั่นคือ มีการตกลงจะรับ ซอมในกรณีที่รถเกิดมีปญหาขึ้นมา ซึ่งจะตองเปนการรับประกันในลักษณะที่มีเพียงผูขายรถ คุณภาพสูงเทานั้นที่จะทําได สําหรับผูขายรถคุณภาพต่ําแลว ตนทุนในการรรับประกันสูงเกินไป จึงทําใหการรับประกันสามารถสงสัญญาณใหกับผูซื้อเพื่อใหทราบถึงคุณภาพของรถได

ตัวอยางเชน การรับประกันในลักษณะของการคืนเงินใหกับผูซื้อกรณีที่รถนั้นมีคณ ุ ภาพต่ํา โดย คืนเงินเปนจํานวน 1500 บาท เปนตน ตัวอยางที่ 4: สมมติวามีแรงงานอยู 2 ประเภท ไดแก แรงงานที่มีคุณภาพสูง (high productivity type) และแรงงานที่มีคุณภาพต่ํา (low productivity type) โดยที่แรงงานคุณภาพสูงมี MPL เทากับ a 2 และแรงงานคุณภาพต่ํามี MPL เทากับ a1 โดยที่ a 2 > a1 นอกจากนี้โอกาสที่ แรงงานจะเปนแรงงานคุณภาพสูงมีคาเทากับ b สมมติเพิ่มเติมใหฟงกชั่นการผลิตของบริษทั นี้ แทนดวย Yi = ai Li เมื่อ i คือประเภทของแรงงาน แรงงานทุกคนมี reservation wage เทากับ 0 (กลาวอีกนัยหนึ่งคือ แรงงานจะตัดสินใจ ทํางานหากไดรับคาจางมากกวา 0 บาท) กําหนดใหทั้งตลาดแรงงานและตลาดสินคาเปนตลาด แขงขันสมบูรณ โดยราคาสินคาตอหนวยเทากับ $1 กรณีที่ 1: กรณีที่ขอมูลสมบูรณ ในกรณีนี้ แรงงานจะไดรับคาจางเทากับ MPL x P = a1 ถาเปนแรงงานคุณภาพต่ําและ a 2 ถาเปนแรงงานคุณภาพสูง กรณีที่ 2: กรณีที่มีความไมสมมาตรของขอมูล และไมมีการสงสัญญาณ (no signaling) ในกรณีนี้ บริษัทจะจายคาแรงใหกับทุก ๆ คนเทา ๆ กัน โดยเทากับ expected productivity นั่นคือ w = (1 − b)a1 + ba 2 กรณีที่ 3: มีการสงสัญญาณ สมมติใหแรงงานแตละคนสามารถเขารับการศึกษาได โดยระดับการศึกษาจะไมมีผลตอ ประสิทธิภาพในการทํางาน สมมติใหตนทุนในการเขารับการศึกษาของแรงงานคุณภาพต่ํา เทากับ c1 และของแรงงานคุณภาพสูงเทากับ c 2 ตอการศึกษา 1 ระดับ โดยที่ c1 > c 2 แรงงานระดับสูงจะมีแรงจูงใจที่จะทําการศึกษาในระดับที่ทําใหนายจางสามารถแยก ตนเองออกจากแรงงานที่มีคุณภาพต่ําได เพื่อใหไดคาจางที่สูงขึ้น ซึ่งการจะเกิด separating equilibrium แบบนี้ไดนั้น จะตองมีการศึกษาในระดับ e* ซึ่งมีลักษณะที่แรงงานระดับต่ําจะไม ทําการศึกษาในระดับนี้ ในขณะแรงงานระดับสูง จะไดประโยชนในการศึกษาในระดับนี้ เพื่อให ไดรับคาแรงทีส่ ูงขึ้น ซึ่งเงื่อนไขของการศึกษาในระดับ e* ไดแก a 2 − a1 < c1e * (1) แรงงานระดับต่ําจะไมสามารถรับการศึกษาระดับนี้ เพือ่ ปลอมตัวเปนแรงงานระดับสูงได และ a 2 − a1 > c 2 e * (2) แรงงานระดับสูง จะไดรับผลตอบแทนที่สูงขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับตนทุนทีเ่ ขาตองจาย เพื่อใหไดรับการศึกษา เมื่อรวมเงื่อนไขที่ (1) และ (2) เขาดวยกัน จะไดวา ระดับการศึกษาที่เหมาะสมเพื่อสง สัญญาณใหทราบถึงการเปนแรงงานคุณภาพสูงจะมีเงื่อนไขดังนี้

a − a1 a 2 − a1 < e* < 2 c2 c1

(3)

และจะเกิด separating equilibrium ที่นายจางสามารถแยกแรงงานจากระดับการศึกษา ได ก็ตอเมื่อ (3) เปนจริงเทานั้น ตอมา พิจารณาถึงระดับการศึกษาทีแ่ รงงานแตละประเภทจะเลือกในดุลยภาพ ให กลับมาพิจารณาวาระดับการศึกษานั้นไมไดมีผลกระทบตอ productivity ดังนั้นยอมไมมี ผลกระทบตอคาจางที่จะไดรับเชนกัน จึงกลาวไดวา แรงงานทุกประเภทจะพยายามเลือกระดับ การศึกษาทีต่ า่ํ ที่สุดเทาที่เปนไปได เนื่องจากการศึกษากอใหเกิดตนทุนเพียงอยางเดียว ในกรณี ตัวอยางนี้ ในกรณีของแรงงานคุณภาพต่ําแลว เคาจะเลือกที่จะไมมีการศึกษา หรือ e=0 ในสวน กรณีของแรงงานคุณภาพสูง เขาจะเลือกระดับการศึกษาที่ต่ําที่สุด เทาที่ทําใหนายจางแยกเขา ออกจากแรงงานคุณภาพต่ําได กลาวคือ

eH =

a 2 − a1 a − a1 +ε ≈ 2 c1 c1

ดังนั้นดุลยภาพในที่นี้จะเปน separating equilibrium ในลักษณะที่แรงงานคุณภาพสูง จะเลือกการศึกษาที่ระดับ

eH =

a 2 − a1 a − a1 +ε ≈ 2 c1 c1

และไดคาจางเทากับ

wH = a 2 สวน

แรงงานคุณภาพต่ําจะเลือกการศึกษาที่ระดับ e L = 0 และไดรบั คาจางเทากับ wL = a1 แตหากเงื่อนไข (3) ไมเปนจริงแลว ดุลยภาพแบบเดียวที่เกิดขึ้นไดคือ pooling equilibrium ที่ไดกลาวไปแลวในกรณีที่ 2 Moral Hazard ที่ผานมา เราศึกษาถึงกรณีที่ฝายหนึ่งฝายใด มีขอ มูลที่อีกฝายไมรับรู แตบางกรณี ปญหาอาจจะเกิดขึ้นทั้งที่ทั้ง 2 ฝายมีขอมูลครบถวน แตผลลัพธหรือผลตอบแทนขึ้นอยูกับการ กระทําของคูสญ ั ญาฝายหนึง่ ที่อีกฝายไมสามารถตรวจสอบได บางครั้งเราจึงเรียกปญหา Moral hazard วา “การมีการกระทําแอบแฝง (Hidden Action)” ตัวอยางของปญหา moral hazard เชน กรณีของการประกันสุขภาพ กอนทําการ ประกันสุขภาพ บริษัทประกันจะทําการตรวจสุขภาพของผูเอาประกัน ทําใหมีขอมูลสมบูรณ เกี่ยวกับสุขภาพของบุคคลนั้น อยางไรก็ตาม บริษทั ประกันไมสามารถตรวจสอบขอมูลความ ประพฤติของผูเอาประกันในชวงที่ถือประกันได เชน ผูเอาประกันอาจจะมีพฤติกรรมที่มีความ เสียงสูง อยางการดื่มเหลาหนัก สูบบุหรี่ เที่ยวกลางคืน เปนตน เปนผลทําใหบริษัทประกันตอง จายคาชดใชมากกวาที่ควรจะเปนในขณะทําสัญญา เชนเดียวกับกรณีของการประกันรถยนต เมื่อผูทําประกันไดประกันรถยนตเรียบรอย อาจทําใหความประมาทในการขับขี่เพิม่ ขึ้น อีกตัวอยางหนึ่งของปญหา moral hazard คือการที่เจาของกิจการทําการจางผูจัดการ มาบริหารบริษัทแทนตัวเอง เจาของกิจการจะไมสามารถทราบไดวา ผูจัดการไดใชความพยายาม แคไหนในการทํางาน สิ่งที่เจาของกิจการสามารถตรวจสอบไดคือ พิจารณาวาผูจัดการ ดําเนินงานแลวไดกําไรเทาไหร ซึ่งกําไรนั้นแมวา จะขึ้นอยูกับความพยายามของผูจัดการสวน

หนึ่ง แตก็ยังขึ้นอยูกับปจจัยอื่น ๆ ดวย เชน สภาพเศรษฐกิจในขณะนั้น แตการจายคาตอบแทน ใหกับผูจัดการ ไมสามารถจายใหตามความพยายามของผูจัดการ ซึ่งไมสามารถตรวจสอบได ทางเจาของกิจการจึงตองจายคาตอบแทนตามกําไรแทน ซึ่งกอใหเกิดปญหา moral hazard เชนเดียวกัน โดยบางครั้งเราจะเรียกปญหา moral hazard วา “principal-agent problem” ซึ่งมาจาก ตัวอยางนี้ กลาวคือ ความขัดแยงกันระหวางเปาหมายของ principal ที่ตองการผลตอบแทน สูงสุดผานความพยายามของ agent ที่มากที่สุด และ agent ที่ตอ งการเงินเดือนสูงสุด โดยใช ความพยายามนอยที่สุดเทาที่จะเปนไปได โดยเราสามารถเขียนปญหาของ principal-agent ได ดังนี้ 1. Principal ทําการออกแบบสัญญาถึงผลตอบแทนที่ agent จะไดรับในสถานการณ (outcome) ที่ออกมาตาง ๆ 2. Agent ตัดสินใจวาจะตอบรับสัญญาดังกลาวหรือไม 3. Agent เลือกระดับความพยายามที่จะใสเขาไปในงาน 4. ธรรมชาติเลือก state ที่จะเกิดขึ้น (เชนเศรษฐกิจดี vs เศรษฐกิจไมดี) 5. ผลลัพธ (outcome) ออกมา และ Principal จายคาตอบแทนใหกับ agent ซึ่งกรณีนี้ ผลลัพธที่จะออกมา เชนกําไร จะขึ้นอยูกับทั้ง state และความพยายามของ agent แตเนื่องจากความพยายามของ agent เปนสิ่งที่ principal ไมสามารถตรวจสอบได ดังนั้น principal จึงจายคาตอบแทน/คาจางใหกับ agent ตามผลลัพธทเี่ กิดขึ้น ซึ่งทําให agent มี แรงจูงใจที่จะโกงโดยการอูงาน หากคิดวาโอกาสที่เศรษฐกิจจะดีนั้นสูง ตัวอยางที่ 5: (แบบฝกหัดทําในชั้นเรียน) Suppose that there are two types of firm: 1 (bad) or 2 (good). The firm can be either good or bad with equal probability of 0.5. Each firm has 2 alternatives: i) Continue the current production and get the profit of $500 if firm is good and $150 if firm is bad. ii) Invest in the new project with the cost of $1000. If the project succeeds, any type of firm will get $2,000. Otherwise, it will get zero. If firm is of type 1, the probability of success is 3/5. If firm is of type 2, the probability of success is 4/5. Both types have a cashflow of $200. Therefore, if it decides to invest, it has to borrow the rest of funding from the financial market. Suppose that the financial market is perfectly competitive so that each lender seeks for zero profit. i)

ii)

Find the equilibrium of this market. Will it be separating or pooling equilibrium? What is the interest rate in the equilibrium? Which type will decide to invest? Suppose that the firm can put collateral to indicate its type, find the equilibrium value of collateral, c*, that leads to the separating equilibrium in which lenders can distinguish between good and bad firms. What will be the level of collateral that each type should? What will be the interest rate that lenders will charge from each type?

Related Documents

Asymmetric Promotion
June 2020 7
Thai
December 2019 47
Thai
December 2019 45
Thai
December 2019 40
Thai
December 2019 39