Acls Pulseless Arrest Algorithm [thai Version]

  • November 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View Acls Pulseless Arrest Algorithm [thai Version] as PDF for free.

More details

  • Words: 349
  • Pages: 1
1

PULSELESS ARREST หลังจากผานขั้นตอนของ BLS แลว

3 4

2 VF/VT

ทําได

ตรวจคลื่นไฟฟาหัวใจวาตอง

ทําไมได

9

Asystole/PEA

ทํา defibrillation หรือไม

- ทํา defibrillation 1 ครั้ง

10

เครื่อง monophasic ใชพลังงาน 360 จูลส

- ใหทํา CPR ตอทันที 5 รอบ หรือ 2 นาทีในกรณีที่ใสทอชวยหายใจ - ใหยา epinephrine 1 มก. IV และซ้ําทุกๆ 3-5 นาที

เครื่อง biphasic ใหทําตามคําแนะนําของเครื่อง

- พิจารณาให atropine 1 มก. IV ในกรณีที่เปน asystole หรือ PEA ที่มีอัตรา การเตนที่ชา ทุกๆ 3-5 นาที แตไมเกิน 3 ครั้ง

ถาไมทราบใหใชพลังงาน 200 จูลส เครื่อง AED ใหทําตามคําแนะนําของเครื่อง

CPR ตออีก 5 รอบหรือ 2 นาทีถาใสทอชวยหายใจ

- CPR ตอทันที โดยไมตองดูวา defibrillation สําเร็จหรือไม

5

CPR ตออีก 5 รอบหรือ 2 นาทีถาใสทอชวยหายใจ

ตรวจเช็ควาหัวใจเตนผิดจังหวะเปน

11

ตรวจเช็ควาหัวใจเตนผิดจังหวะเปน

ทําไมได

ชนิดที่ตองทํา defibrillation หรือไม

6

ชนิดที่ตองทํา defibrillation หรือไม

ทําได

- ให CPR ตอขณะที่กําลังประจุไฟฟาในเครื่อง defibrillator - ทํา defibrillation 1 ครั้ง

12

- ถาเปน asystole ไป Box 10

เครื่อง monophasic ใชพลังงาน 360 จูลส

- ถามี electrical activity ใหตรวจ ชีพจร ถาไมมีไป Box 10

เครื่อง biphasic ใหทําตามคําแนะนําของเครื่อง ถาไมทราบใหใชพลังงาน 200 จูลส

ทําไมได

ทําได

13

ไป Box 4

- แตถามีชีพจรใหเริ่ม postresuscitation care

เครื่อง AED ใหทําตามคําแนะนําของเครื่อง - CPR ตอทันที โดยไมตองดูวา defibrillation สําเร็จหรือไม

14

- ใหยา epinephrine 1 มก. IV และซ้ําทุกๆ 3-5 นาที

7

ตรวจเช็ควาหัวใจเตนผิดจังหวะเปน

ทําไมได

ชนิดที่ตองทํา defibrillation หรือไม

8

ระหวาง CPR

CPR ตออีก 5 รอบหรือ 2 นาทีถาใสทอชวยหายใจ

ทําได

- ให CPR ตอขณะที่กําลังประจุไฟฟาในเครื่อง defibrillator - ทํา defibrillation 1 ครั้ง เครื่อง monophasic ใชพลังงาน 360 จูลส เครื่อง biphasic ใหทําตามคําแนะนําของเครื่อง ถาไมทราบใหใชพลังงาน 200 จูลส เครื่อง AED ใหทําตามคําแนะนําของเครื่อง - CPR ตอทันที โดยไมตองดูวา defibrillation สําเร็จหรือไม - พิจารณาใหยา antiarrhythmia - Amiodarone 300 มก. IV สามารถใหซ้ําไดอีก 150 มก. - Lidocaine 1-1.5 มก./กก. และสามารถใหซ้ําไดในขนาด 0.5-0.75 มก./กก. โดยใหไดรวม 3 ครั้ง แตไมเกิน 3 มก./กก. - พิจารณาให magnesium 1-2 กรัม IV ในกรณีคลื่นไฟฟา หัวใจ มีลักษณะแบบ torsades de pointes - CPR ตออีก 5 รอบ หรือ 2 นาทีถาใสทอชวยหายใจ

1.กดหนาอกอยางเต็มที่ในอัตรา 100 ครั้ง/นาที 2.ตองมั่นใจวามีภาวะ full chest recoil กอนกดหนาอกครั้งตอไป 3.พยายามไมใหมีอะไรไปขัดขวางการกดหนาอกโดยไมจําเปน 4.หนึ่งรอบของ CPR คือ กดหนาอก 30 ครั้ง ชวยหายใจ 2 ครั้ง ดังนั้น 5 รอบจะ เทากับ 2 นาที 5.หลีกเลี่ยงภาวะ hyperventilation โดยไมจําเปน 6.ในกรณีผูปวยใสทอชวยหายใจ ตองมั่นใจวาทอชวยหายใจอยูในตําแหนงที่ เหมาะสม และยึดติดทอชวยหายใจใหแนนเหนียว * การทํา CPR ในผูปวยที่ใสทอชวยหายใจใหกดหนาอกตลอด โดยไมตอง หยุดใหชวยหายใจ โดยใหชวยหายใจในอัตรา 8-10 ครั้ง/นาที ตรวจเช็คจังหวะ การเตนของหัวใจทุกๆ 2 นาที 7.เปลี่ยนผูกดหนาอกทุกๆ 2 นาที พรอมๆกับการตรวจเช็คการเตนของหัวใจ 8.หาสาเหตุและรักษาไดแก (6H และ 5T) - Hypovolemia

- Hypoxia

- Hydrogen ion (acidosis)

- Hypoglycemia

- Hypothermia

- Hypo-/hyperkalemia

- Toxins

- Trauma

- Tension pneumothorax

- Thrombosis (coronary or pulmonary)

- Tamponade, cardiac

ดัดแปลงจาก ACLS Pulseless Arrest Algorithm [Circulation. 2005;112:IV-59]

Related Documents