15 The Kinetic Theory Of Gases

  • October 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View 15 The Kinetic Theory Of Gases as PDF for free.

More details

  • Words: 472
  • Pages: 11
บทที่ 15 คุณสมบัติเชิงโมเลกุลของสสาร

คุณสมบัติเชิงโมเลกุลของสสาร  

ปริมาณของสาร 1 โมล คือ จำานวนอะตอมของ C12 มวล 12 กรัม ซึ่งเท่ากับเลขอาโวกาโดร (Avogadro’s Number) N A  6.02 1023

mol-1

N n NA



จำานวนโมล



เมื่อ N คือจำานวนโมเลกุล มวลโมลาร์ (Molar mass: M) คือมวลของสาร 1 โมล ซึ่งมวลโมลาร์ของ 1 โมลมาจากมวล m ของโมเลกุลจำานวน NA



M  mN A 2

แบบจำาลองโมเลกุลจลน์ของก๊าซในอุดมคติ  

 

3

ภาชนะปริมาตร V บรรจุโมเลกุลเหมือนกันจำานวนมาก N โมเลกุล แต่ละโมเลกุลมีมวล m โมเลกุลทำาตัวเป็นอนุภาคจุด ขนาดโลเลกุลเล็กมากเมื่อเทียบกับระยะเฉลี่ยระหว่างอนุภาค และเมื่อเทียบกับขนาดของภาชนะ โมเลกุลเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา การเคลื่อนที่เป็นไปตามกฎของนิวตัน การชนระหว่างโมเลกุล และโมเลกุลกับผนังเป็นแบบยืดหยุ่น ผนังภาชนะเป็นวัตถุแข็งเกร็งและไม่เคลื่อนที่

ทฤษฎีจลน์ของก๊าซในอุดมคติ 

พิจารณาการเคลื่อนที่ของโมเลกุล 1 ตัวที่มีมวล m ชนกับผนังกล่อง px  mvx   mvx   2mvx



แรงที่ผนังกล่องกระทำาต่อโมเลกุล px 2mvx F1   t t



โมเลกุลเดียวกันนีช้ นผนังอีกด้านหนึ่ง ดังนั้นระยะที่เคลื่อนที่ได้ 2d 2mvx 2mvx mvx2 F1    t 2d / vx d

4

ทฤษฎีจลน์ของก๊าซในอุดมคติ 

แรงสุทธิที่เกิดจากโมเลกุลชนผนังคือผลรวมของโมเลกุลทุกตัวที่บรรจุอยู่ m 2 m N 2 2 2 F   v1x  v2 x  v3 x  K    vix d d i 1



ถ้ามีจำานวนโมเลกุลทั้งหมด N ตัวความเร็วกำาลังสองเฉลี่ย v  v  v K  v v  N 2 x



5

ดังนั้น

2 1x

2 2x

2 3x

2 Nx

m F  N vx2 d

N

vx2 

v i 1

N

2 ix

ทฤษฎีจลน์ของก๊าซอุดมคติ 

พิจารณาความเร็วโมเลกุลในทุกองค์ประกอบของโมเลกุลแต่ละตัวของก๊าซอุดมคติ

vi2  vix2  viy2  viz2 

ความเร็วกำาลังสองเฉลี่ยของก๊าซอุดมคติ v 2  vx2  v y2  vz2



จากสมมุตฐิ านที่ให้การเคลื่อนที่ของโมเลกุลเป็นแบบสุ่มดังนั้นความเร็วเฉลี่ยในแต่ละอ งค์ประกอบเท่ากันจะได้ v 2  3vx2

6

ทฤษฎีจลน์ของก๊าซอุดมคติ 

ดังนั้นแรงที่เกิดจากการชนของโมเลกุลของก๊าซ m v 2 N  mv 2  F N    d 3 3  d  



ความดันของก๊าซที่กระทำาต่อผนังภาชนะ P

F F 1 N  1 N  2  2   3 mv 2    mv  A d 3 d 3 V   



หรือ



ซึ่งจะได้ว่าความดันของก๊าซแปรผันโดยตรงกับจำานวนโมเลกุลต่อหนึ่งหน่วยปริมาตรแ ละพลังงานจลน์โดยเฉลี่ยของโมเลกุล

7

2 N   1 2 P   mv  3 V   2 

พลังงานภายในก๊าซอุดมคติ 

ปริมาตรและความดันในภาชนะปิดที่

2  1 2 PV  N  mv  3  2 

  

นำามาเทียบกับสมการสภาวะสำาหรับก๊าซอุดมคติ PV  nRT อุณหภูมิ T  PV  N A PV  2 N A  1 mv 2   2  1 mv 2      nR NR 3 R  2 3 k 2   B 



เมื่อ kB ค่าคงที่ของ Boltzmann ซึ่ง มีค่าเท่ากับ 1.38 x 10-23 J/K



ซึ่งจะได้ว่าค่าพลังงานจลน์เฉลี่ยต่อหนึ่งโมเลกุลของก๊าซอุดมคติมีค่าเป็น 1 2 3 K  mv  k BT 2 2

8

พลังงานภายในก๊าซอุดมคติ 

ซึ่งค่าของพลังงานภายในก๊าซในอุดมคติได้จากพลังงานจลน์ของก๊าซ ดังนั้นถ้าบรรจุก๊าซจำานวน N โมเลกุลจะมีพลังงานภายใน 3  1 2 3 U  K  N  mv   Nk BT  nRT 2  2  2

 

สมการนีแ้ สดงให้เห็นว่าพลังงานภายในของก๊าซอุดมคติขึ้นกับอุณหภูมิเพียงอย่างเดียว รากที่สองของความเร็วกำาลังสองเฉลี่ย(root-mean-square : vrms) คือ vrms  v  2

9

3k BT 2U 3RT   Nm m M

1. ที่ 200 K ก๊าซจำานวน 12.04 × 1023 โมเลกุล ในกระบอกสูบมีอยู่ทั้งหมดกี่โมล 2. ที่ 300 K พลังงานจลน์เฉลีย่ ของก๊าซ 1 โมเลกุลมีค่าเท่ากับเท่าใด 3. โมเลกุลของก๊าซ 3 ตัว แต่ละตัวมีอัตราเร็ว 500, 600 และ 800 m/s ความเร็วของรากที่สองของกำาลังสองเฉลีย่ มีค่าเท่ากับเท่าใด

10

11

Related Documents

Kinetic Theroy Of Gases
December 2019 24
Kinetic Theory
June 2020 14
Kinetic Theory Of Gas
May 2020 15
Kinetic Theory
June 2020 12