25/06/51
[บทที่ 5 การเคลื่อ นที่แบบวงกลมกับ กฎของนิ ว ตั น ]
y เมื่อวัตถุเคลือ่ นที่เป็ นวงกลมในระนาบแนวกับ
พื ้นโดยมีอตั ราเร็ว v คงที่ จะทําให้ เกิดการ เคลือ่ นทีแ่ บบวงกลมสมํ่าเสมอ y ความเร่งที่เกิดขึ ้นจากการเปลีย่ นทิศของ ความเร็็ว มีีทศิ เข้้ าสูศ่ นู ย์์กลาง และมีคี า่ คงตัวั a⊥ =
v2 R
y จากกฎของนิวตันแรงที่กระทําต่อวัตถุที่
เคลือ่ นที่เป็ นวงกลม
∑ F = ma
⊥
=m
v2 R
y แรงมีทิศเข้ าสูศ่ นู ย์กลางเพื่อดึงให้
เคลือ่ นที่เป็ นวงกลมรอบจุดศูนย์กลาง y แต่ถ้าเชือกขาดแรงดึงไม่มี วัตถุจะ
หลุดออกไปในแนวเส้ นตรงที่สมั ผัสกับ วงกลม
K
∑F =0
K v
K a=0
1
25/06/51
ตัวอย่ างที่ 5-1 กล่องวัตถุขนาดเล็กมวล 0.300 kg หมุนเป็ นวงกลมอย่างสมํ่าเสมอบน พื ้นผิวระดับลืน่ กล่องผูกติดกับเชือกยาว 0.140 m ซึง่ ปลายอีกข้ างหนึ่งยึดไว้ กบั เข็มซึง่ ปั กไว้ ที่ผิว ถ้ ากล่องหมุนครบสองรอบต่อวินาที จงหาแรงที่เชือกกระทําต่อกล่อง แรงทีเ่ ชือกกระทําต่อกล่องคือแรงที่มที ิศเข้ าสูศ่ นู ย์กลางซึง่
F = ma⊥
4π R T2 จากโจทย์กล่องหมุนสองรอบใช้ เวลา 1 วินาที คาบในการหมุน T = ½ = 0.50 วินาที 2
หาขนาดความเร่งเข้ าส่ศนนย์ หาขนาดความเรงเขาสู ู ยกลางไดจาก กลางได้ จาก a⊥ =
a⊥ =
4π 2 ( 0.140 )
( 0.50 )
2
= 22.1
m/s2
แรงทีเ่ ชือกกระทําต่อกล่อง F = ( 0.300 )( 22.1) = 6.63 นิวตัน
ตัวอย่ างที่ 5-2 วัตถุขนาดเล็กมวล m ผูกติดด้ วยเชือกยาว L ถ้ าวัตถุนี ้เคลือ่ นที่เป็ น วงกลมด้ วยอัตราเร็วคงที่ v ในแนวระดับ รัศมีของวงกลม r ดังแสดงในรูปจงหาอัตราเร็ว v ของวัตถุ เขียนแผนภาพโดยแยกองค์ประกอบของแรงตามแกน x และ แกน y จากกฎของนิวตันระบบ ไ ม่ ีความเร่่งในแนวดิ ไม่ ใ ง่ิ ดังนัน้ ∑ Fy = 0
K v
T cos θ − mg = 0
แรงในแนวระดับมีทิศเข้ าหาจุดศูนย์กลางของวงกลม
∑F
x
= ma⊥
คือ
∑F
x
= T sin θ = m
v2 r
นําสมการที่ได้ จากองค์ประกอบ y หารด้ วยสมการที่ได้ จากองค์ประกอบ x tan θ =
v2 rg
ดังนันอั ้ ตราเร็ว v จะมีคา่ เท่ากับ v = rg tan θ แต่จากรูปรัศมี r = L sin θ v = Lg L sin i θ tan t θ
2
25/06/51
ตัวอย่ างที่ 5-3 จากรูป ลูกบอลมวล 0.30 kg แขวนด้ วยเชือกยาว 2.0 m จงหา อัตราเร็วที่จะทําให้ ลกู บอลเคลือ่ นที่เป็ นวงกลมโดยที่เชือกทํามุม 40๐ กับแกน T cos θ
อัตราเร็วของลูกบอลคือ
40๐
v = Lg sin θ tan θ
T v=
T sin θ
( 2.0 )( 9.8) sin ( 40D ) tan ( 40D ) m/s
= 3.25
mg
ตัวอย่ างที่ 5-4 รถยนต์ BMW กําลังเลี ้ยวโค้ งบนถนนราบที่ไม่ได้ ยกเอียงโดยที่รัศมี ความโค้ ง 230 m ถ้ าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างล้ อและถนนมีคา่ μs = 0.87 อัตราเร็วสูงสุดที่คนขับเลี ้ยวรถได้ โดยที่รถไม่ไถลมีคา่ เท่าใด จากกฎของนิวตัน ความเร่งที่เกิดขึ ้นในแนว ระดับคือความเร่งเข้ าสูศ่ นู ย์กลาง แรงที่กระทําคือแรงเสียดทานระหว่างล้ อรถกับ พื ้นถนน พนถนน ความเร่งในแนวดิ่งเป็ นศูนย์ v2 R
∑F
= fs = m
∑F
= N − mg = 0
x
y
N = mg
สมการแรกแสดงให้ เห็นว่าแรงเสียดทานที่จําเป็ นในการรักษาให้ รถแล่นเป็ นเส้ นทาง วงกลมมีขนาดเพิ่มตามอัตราเร็ว แต่แรงเสียดทานสถิตสูงสุดที่เป็ นไปได้ คือ
f s ,max = μ s N = μ s mg ดังนัน้
v2 R v = μs gR R
μ s mg = m
ค่า่ อัตั ราเร็็วสูงสุดคืือ
v=
( 0.87 )( 9.8)( 230 ) = 44
m/s
3
25/06/51
ตัวอย่ างที่ 5-5 ถ้ ายกพื ้นถนนเอียงทํามุม θ กับแนวระดับ โดยที่พื ้นถนนกับล้ อรถไม่มี แรงเสียดทานใดๆ ถ้ ารถวิ่งด้ วยอัตราเร็วคงที่ 25 เมตร/วินาที และรัศมีความโค้ งของ ถนนเป็ น 230 เมตร ต้ องใช้ มมุ θ เท่าใดจึงจะเลี ้ยวโค้ งได้ อย่างปลอดภัย เขียนแผนภาพแรงที่กระทํา บนรถได้ ดงั รูป ความเร่งในแนวแกน x คือ ความเร่งเข้ าส่ศนนย์ ความเรงเขาสู ู ยกลาง กลาง และความเร่งในแนวแกน y เป็ นศูนย์
∑F
x
∑F
y
tan θ =
หามุมเอียงของถนนได้ จาก
= N sin θ = m
v2 R
= N cos θ − mg = 0
v2 gR
( 25) = 0.277 ( 9.8)( 230 ) 2
tan θ =
θ = tan −1 0.277 = 15D
y ถ้ าเราผูกเชือกเส้ นติดกับวัตถุและเหวี่ยง
วัตถุเป็ นวงกลมในระนาบดิง่
y ความเร็วของวัตถุนี ้ไม่ คงตัว y ยกเว้ นทีจ่ ดุ สูงสุดและตํ่าสุด y แรงสุทธิไม่ ได้ ชี ้เข้ าหาศูนย์กลางของ
วงกลม
y ทั ้งแรงและความเร่งมีองค์ประกอบในทิศ
สัมผัสกับวงกลม
y กรณีเป็ นการเคลื่อนที่แบบวงกลมที่ไม่
สมํ่าเสมอ
y เราไม่สามารถใช้ สมการความเร่งคงตัว
เพื่อหาความสัมพันธ์ ระหว่างอัตราเร็วที่ ตําแหน่งต่างๆ กันได้ เพราะทั ้งขนาดและ ทิศทางของความเร่งมีคา่ ไม่คงตัว
4
25/06/51
y จากกฎของนิวตันจะได้ องค์ประกอบของ
แรงสุทธิในทิศตังฉากกั ้ บเส้ นสัมผัส ⊥ = T − mg cos θ = ma⊥ y และองค์ประกอบของแรงสุทธิในทิศ ขนานกับเส้ นสัมผัส ∑ F& = mg sin θ = ma& y แรงตึงเชือกที่จดุ สูงสุดคือเมื่อ θ = 180o และที่จดุ ตํ่าสุด θ = 0o
∑F
⎛ v2 ⎞ T = m⎜ − g ⎟ ⎝R ⎠
และ
⎛ v2 ⎞ T = m⎜ + g ⎟ ⎝R ⎠
ตัวอย่ างที่ 5-6 ผู้โดยสารคนหนึ่งมีมวล 60.0 kg นัง่ อยูบ่ นชิงช้ าสวรรค์ที่เคลือ่ นที่เป็ น วงกลมรัศมี 8.00 เมตร ในระนาบดิ่งด้ วยอัตราเร็วคงตัว และชิงช้ าหมุนครบรอบในเวลา 10.0 วินาที สมมุติเก้ าอี ้นัง่ ตังตรงอยู ้ ่ตลอดเวลา จงหาแรงที่เก้ าอี ้กระทําต่อผู้โดยสารที่ ตําแหน่งสูงสุดและตํ่าสุดของวงกลม อัตราเร็วของชิงช้ าหาได้ โดย N v 2π R 2π ( 8.00 ) v= = = 5.03 m/s T
10
จากกฎของนิ ฎ วตันที่จดุ สูงู สุดุ ของ ชิงช้ าสวรรค์
mg
∑F
⊥
= mg − N t = m
v2 R
แรงทีเ่ ก้ าอี ้กระทําต่อคนที่จดุ สูงสุด ⎛ v2 ⎞ Nt = m ⎜ g − ⎟ R⎠ ⎝
⎛ 5.032 ⎞ N t = ( 60.0 ) ⎜ 9.8 − ⎟ = 398 8.00 ⎠ ⎝
นิวตัน
แรงทีเ่ ก้ าอี ้กระทําต่อคนที่จดุ ตํ่าสุด
∑F
⊥
= N B − mg = m
v2 R
⎛ v2 ⎞ NB = m ⎜ + g ⎟ ⎝R ⎠ ⎛ 5.032 ⎞ N B = ( 60.0 ) ⎜ + 9.8 ⎟ = 778 ⎝ 8.00 ⎠
นิวตัน
5
25/06/51
y แรงโน้ มถ่วงเป็ นแรงสนามระหว่างวัตถุที่กระทําซึง่ กันและกัน เช่นแรงดึงดูดระหว่าง
โลกกับดวงจันทร์ แรงดึงดูดระหว่างโลกและดวงอาทิตย์ y กฎความโน้ มถ่วงของนิวตัน “ทุกอนุภาคสสารในเอกภพดึงดูดทุกอนุภาคอื่นด้ วย
แรงซึง่ แปรผันตรงกับผลคูณของมวลของอนุภาค และแปรผกผันกับกําลังสองของ ระยะห่า่ งระหว่า่ งอนุภาคทังั ้ สองนันั ้ ” Gm1m2 F= r2 y G คือค่าคงตัวสากล ปริ มาณนี ้มีคา่ เดียวไม่ว่าวัตถุจะอยู่ที่ใดก็ตาม y G = 6.67259 X 10-11 N.m2/kg2
ตัวอย่ างที่ 5-7 จงหามวลของโลกถ้ าให้ ระยะห่างระหว่างโลกกับดวงจันทร์ เป็ น 3.84 X 108 เมตร และวงโคจรของดวงจันทร์ รอบโลกเป็ นวงกลมสมบูรณ์ โดยให้ ดวงจันทร์ โคจรรอบโลก ใช้ เวลา 27.3 วัน แรงดึงดูดที่โลกกระทําต่อดวงจันทร์ จะเท่ากับ แรงเข้ าสูศ่ นู ย์กลางของการเคลือ่ นที่เป็ น วงกลมรอบโลกของดวงจันทร์ ให้ m คือมวลของดวงจันทร์ และ M คือมวลของโลก F⊥ = m
v 2 GmM G M = R R2 M=
คาบในการเคลือ่ นทีข่ องดวงจันทร์
Rv 2 G
⎛ hour ⎞ ⎛ min ⎞ ⎛ s ⎞ 6 T = ( 27.3 day ) ⎜ 24 ⎟ ⎜ 60 ⎟ ⎜ 60 ⎟ = 2.36 ×10 day ⎠ ⎝ hour ⎠ ⎝ min ⎠ ⎝
s
อัตราเร็วของดวงจันทร์ v=
8 2π R 2π ( 3.84 ×10 ) = = 1.02 × 103 6 T 2.36 × 10
มวลของโลก
M=
m/s
Rv 2 G
( 3.84 ×10 )(1.02 ×10 )
3 2
8
=
6.67 × 10 = 5.99 × 1024
−11
กิโลกรัม
6