03 Two Dimension Of Motion

  • October 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View 03 Two Dimension Of Motion as PDF for free.

More details

  • Words: 1,364
  • Pages: 32
[ บทที่ 3 การเคลือ่ นที่ในระนาบ ]

ในการอธิบายการเคลื่อนที่ในวิถีโค้ง เช่น การโคจรของดาวเทียม

การเคลื่อนที่เป็นเส้นโค้งของลูกบอล เราต้องบรรยายการเคลื่อนที่ในสองหรือสามมิติ โดยใช้เวกเตอร์การกระจัด ความเร็ว และความเร่ง แต่ปริมาณเหล่านี้มีองค์ประกอบสองหรือสามองค์ประกอบ และไม่ได้มีทิศอยู่ในแนวเส้นตรงเดียว

2

ใช้เวกเตอร์ในการบอกตำาแหน่งของอนุภาค การเขียนเวกเตอร์บอกตำาแหน่ง

ต้องเขียนบอกองค์ประกอบของเวกเตอร์ในแต่ละแกน

v ˆ ˆ ˆ r  xi  yj  zk



z

r

y x

θ

ˆj



3

y

จากนิยามความเร็วเฉลีย่

“อัตราส่วนระหว่างการกระจัดที่เปลีย่ นไ ปกับช่วงเวลาการเปลี่ยนการกระจัด” จากรูปเส้นทางการเคลื่อนทีข่ องอนุภาค ในระนาบ xy เมื่อเวลา t1 อนุภาคอยู่ที่ตำาแหน่ง P1 ซึ่งมีการกระจัดเป็น r 1 และเมื่อเวลา t2 อนุภาคนี้อยู่ทตี่ ำาแหน่ง

P2 ซึ่งมีการกระจัดเป็น r 2 ความเร็วเฉลี่ยของอนุภาคในช่วงเวลา

t1 และ t2

P1

∆r

P2

r1 r2

เส้นทางการเคลื่อนที่

x

O ∆r r2 − r1 v av = = ∆t t 2 − t1

4

ถ้าให้เวกเตอร์ทั้งสองมีองค์ประกอบเวกเตอร์ดังต่อไปนี้

r1 = x1iˆ + y1 ˆj r2 = x2iˆ + y2 ˆj จะได้ความเร็วเฉลี่ย

∆r ( x2 − x1 ) iˆ + ( y2 − y1 ) ˆj vav = = ∆t t 2 − t1

5

จากนิยามความเร็วขณะหนึ่ง คือ “ความเร็วของวัตถุขณะเวลาใดๆ

ซึ่งหาได้จากการเปลี่ยนตำาแหน่งของวัตถุในช่วงเวลาที่สั้นมากๆ จนเข้าสู่ศูนย์” ความเร็วขณะหนึ่งคือ ∆r dr  dx  ˆ  dy  ˆ  dz  ˆ v = lim = =  i +   j +  k ∆t → 0 ∆t dt  dt   dt   dt  เขียนเป็นเวกเตอร์ความเร็วได้ดังนี้

v = vxiˆ + v y ˆj + vz kˆ 6

องค์ประกอบของเวกเตอร์ความเร็วหาได้จาก

dx vx = dt

dy vy = dt

dz vz = dt

ขนาดของเวกเตอร์ความเร็ว หรืออัตราเร็วหาได้จาก 2

2

v = vx + v y + vz

2

7

จากนิยามความเร่งเฉลี่ย คือ

y

v1

“อัตราส่วนระหว่างการเปลีย่ นแปลงควา P1 v1 ∆v v มเร็ว 2 P2 กับช่วงเวลาที่ใช้ในการเปลีย่ นความเร็ว” v2 r1 จากรูปแสดงเส้นทางการเคลือ่ นที่ในระ r2 นาบ xy ของอนุภาคหนึ่ง ซึ่งเมื่อเวลา t1 เส้นทางการเคลื่อนที่ อนุภาคอยู่ที่ตำาแหน่ง P1 และมีความเร็วเป็น v 1 x และเมื่อเวลา t2 อนุภาคอยู่ที่ตำาแหน่ง O P2 และมีความเร็วเป็น v 2 ∆v v2 − v1 ความเร่งเฉลี่ยของอนุภาคในช่วงเวลา aav = = ∆t t 2 − t1 t1 และ t2 คือ 8

จากนิยามความเร่งขณะหนึ่ง คือ “การเปลี่ยนแปลงความเร็วทีข่ ณะเวลาใด ๆ

หรือในช่วงเวลาสั้นๆ จนเข้าสู่ศูนย์”

∆v dv a = lim = ∆t →0 ∆t dt จากเวกเตอร์ความเร็วจะได้ความเร่งขณะหนึ่งคือ

dv dvx ˆ dv y ˆ dvz ˆ a= = i+ j+ k dt dt dt dt 9

เวกเตอร์ความเร่ง

a = a x iˆ + a y ˆj + a z kˆ องค์ประกอบของเวกเตอร์ความเร่ง

dv x d 2 x ax = = 2 dt dt

dv y

d2y , ay = = 2 dt dt

dv z d 2 z , az = = 2 dt dt

ขนาดของเวกเตอร์ความเร่ง

a = a +a +a 2 x

2 y

2 z

10

ตัวอ ย่ าง ที่ 3- 1 วัตถุเคลื่อนที่ตามเส้นทางโดยมีค่าตามแนวแกนทั้ง สองคือ x = 5t2 และ y = 2 sin 2t เมื่อ t แทนเวลา ณ ขณะใด ๆ จากโจทย์ ให้องค์ประกอบเวกเตอร์บว อกตำาแหน่งของวัตถุที่เวลา t ใดๆ จงคำานวณหาความเร็ ดังนั้นองค์ประกอบเวกเตอร์ขณะหนึง่ หาได้โดย และความเร่งชั่วขณะของอนุภาค vx =

และ

vy =

( )

dx d = 5t 2 = 10t dt dt

dy d = ( 2 sin 2t ) = 4 cos 2t dt dt

เขียนเป็นเวกเตอร์ความเร็วได้ดังนี้

v = 10t iˆ + 4 cos 2t ˆj 11

จากองค์ประกอบเวกเตอร์ความเร็ว นำามาหาองค์ประกอบเวกเตอร์ขณะหนึ่งได้โดย dv x d ax = = (10t ) = 10 dt dt

และ

dv y

d ay = = ( 4 cos 2t ) = −8 sin 2t dt dt

เขียนเป็นเวกเตอร์ความเร่งได้ดงั นี้ a = 10 iˆ − 8 sin 2t ˆj

12

โปรเจกไตล์ (Projectile Motion)

เป็นการเคลื่อนที่ในสองมิติ ภายใต้ความเร่งโน้มถ่วง (Gravitational Force) ของโลก โดยมีเงื่อนไข คือ ความเร็วในแนวระดับมีค่าคงที่ หรือความเร่งในแนวระดับมีค่าเป็นศูนย์ ไม่คำานึงถึงแรงเสียดทาน ความโค้ง และการหมุนของโลก ดังนั้นจึงเหลือแค่ความเร่งในแนวดิ่งซึ่ง ก็คือค่า g ซึ่งเป็นแบบจำาลองโปรเจกไตล์ในอุดมค 13 ติ

14

y v = vx = u x

vy v θ

uy

v = u vx = u x

vy

vx = u x v vx = u x

θ0

ux

จากรูปแสดงการเคลือ่ นทีข่ องอนุภาคห นึ่งในระนาบ xy โดยให้อนุภาคนี้มีความเร็วต้นเท่ากับ u มีทิศทำามุม 0 กับแนวระดับ เขียนองค์ประกอบความเร็วต้นได้เป็น u x = u cos θ 0

v y = −u y

θ = −θ 0

x

u y = u sin θ 0

v

15

y vy v θ

uy

v = u vx = u x θ0

ux

จากเงือ่ นไขการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล์จะได้ว่ า ax = 0 และ ay = -g vx = u x v หาตำาแหน่งและความเร็วที่เวลาใดๆ ของอนุภาคได้จากสมการการเคลือ่ นทีด่ ้วย v x = u x ความเร่งคงที่ x โดยสามารถแยกคิดในแต่ละองค์ประกอบ

v = vx = u x vy

v y = −u y

θ = −θ 0

v

พิจารณาความเร็วและตำาแหน่งในแนวระดับ (แกน x) เนื่องจากความเร่งมีค่าเป็นศูนย์ดังนั้นความเร็วของวัตถุในแนวนี้ไม่เปลีย่ นแปลง

v x = u x = u cos θ 0 และ

x = v x t = ( u cos θ 0 ) t 16

พิจารณาความเร็วและตำาแหน่งในแนวดิง่ เนื่องจากความเร่งในแนวนี้มีขนาดเท่ากับความเร่งโน้มถ่วง แต่มีเครื่องหมายเป็vนลบ= จะได้ u − gt = u sin θ − gt y

y

0

ตำาแหน่งในแนวดิง่ ที่เวลา t ใดๆ 1 2 1 2 y = u y t − gt = ( u sin θ 0 ) t − gt 2 2 สมการแสดงเส้นทางการเคลือ่ นทีข่ องโพรเจกไทล์ ได้จากการแทนค่า t ซึ่ง x t= u cos θ 0

x 1  x   y = ( u sin θ 0 ) − g  u cos θ 0 2  u cos θ 0 

2

17

จะได้

g 2 y = ( tan θ 0 ) x − 2 x 2 2u cos θ 0

เทียบกับสมการทัว่ ไปของเส้นโค้งพาราโบลาร์

y = bx − cx 2 เมื่อ b และ c เป็นค่าคงที่ ดังนั้นเส้นทางการเคลือ่ นที่ของโปรเจกไตล์เป็นโค้งแบบพาราโบลาร์

18

ความสูงทีส่ ุดที่วัตถุสามารถเคลือ่ นทีไ่ ด้หาได้จากสมการ

v y = u sin θ 0 − gt เมื่อวัตถุเคลือ่ นที่ไปถึงจุดสูงสุดจะหยุดนิ่งขณะหนึ่งก่อนจะเคลือ่ นที่กลับลงมา ดังนั้นความเร็วในแนวดิ่ง ณ ตำาแหน่งนี้จะมีค่าเป็นศูนย์

u sin θ 0 = gt แต่ จะได้

x t= u cos θ 0

u 2 sin θ 0 cos θ 0 u 2 sin 2θ 0 x= = g 2g 19

g 2 y = ( tan θ 0 ) x − 2 x 2u cos 2 θ 0

จากสมการ

เมื่อแทนด้วยค่า x จะได้

ymax

u 2 sin 2 θ 0 = 2g

ระยะทางทีไ่ กลที่สุดที่วัตถุสามารถเคลือ่ นทีไ่ ด้คือ

u 2 sin 2θ 0 R= g 20

ตัวอ ย่ าง ที่ 3- 2 นักกรีฑาขว้างค้อนมีความสามารถเหวี่ยงค้อนได้ใน อัตราเร็วสูงสุด 5 เมตร / วินาที เขาจะสามารถขว้างค้อนไปได้ไกลที่สุดห่างจากจุดที่ เขายืนอยูก ่ ี่เมตร u 2 sin 2θ 0 R= จากสมการ g ถ้าไม่คิดแรงเสียดทานอากาศและความสู งของนักก รีฑาจะได้ระยะไกลที่สุดเมื่อขว้างทำามุม 45๐ กับแนวระดับซึง่ จะได้

จากโจทย์ u = 5 เมตร/วินาที

u2 R= g 2 ( 5) R= = 2.5 9.8

เมตร 21

ตั วอ ย่า งที่ 3-3 ชายคนหนึง่ ขว้างก้อนหินออกไปจาก ดาดฟ้าตึกสูง ก้อนหินพุง่ ออกจากมือด้วยทิศทำามุม 20๐ กับแนวระดับ และมีอตั ราเร็วเริ่มต้น 20 m/s ดังแสดงในรูป ถ้าตึกนี้สูง 45 m จงหา 1) ต้องใช้เวลานานเท่าใดหลังจากที่ขว้าง ออกไป ที่ก้อนหินนี้จะตกถึงพืน้ ดิน 2) อัตราเร็วสุดท้ายของก้อนหินทีก่ ระทบ 22 พืน้

1) พิจารณาการเคลือ่ นที่ในแนวระดับ x และ แนวดิ่ง y

( ) = ( 20.0 ) ( sin 30.0 ) = 10.0

u x = u cos θ 0 = ( 20.0 ) cos 30.0 = 17.3 m/s u y = u sin θ 0



m/s

หาค่า t ได้จากสมการ

1 2 y = y0 + u y t − gt 2

เมื่อ y = -45 m

1 − 45 = 0 + (10.0 ) t − ( 9.8) t 2 2

t = 4.22

วินาที 23

2) จากสมการ

v y = u y − gt

แทนค่า t จากข้อ 1) จะได้ v y = (10.0 ) − ( 9.8)( 4.22 ) = −31.4

เมตร/วินาที

แต่ความเร็วในแนวระดับ (ตามแกน x) มีค่าคงทีห่ รือ v x = u x = 17.3

เมตร/วินาที

อัตราเร็วของก้อนหินคือขนาดของเวกเตอร์ความเร็วหาได้จาก v = v x2 + v y2 = 17.32 + ( − 31.4 ) = 35.9 2

เมตร/วินาที 24

25

v v

s  v1 R

v v1 or v  s R

ดังนั้นขนาดความเร่งเฉลีย่ ในช่วงเวลาใดๆ มีค่า

v v

v1 s aav   t R t

26

ขนาดความเร่ง a ทีจ่ ุด P ใดๆ จะได้

v1 s v1 s a  lim  lim t 0 R t R t 0 t และจาก

s v  lim t 0 t

แต่จาก v1 คืออัตราเร็วที่ P1 ซึ่งเป็นจุดใดๆ ก็ได้เพราะอัตราเร็วมีค่าเท่ากัน จึงได้ และความเร่งทีไ่ ด้นี้มีทิศเข้าสู่ศูนย์กลาง 2

v a  R

27

ในเวลา T วัตถุเคลือ่ นที่ได้ระยะทางเท่ากับเส้นรอบวงของวงกลม

2 R v T

ดังนั้นเราสามารถหาความเร่งได้อีกรูปแบบหนึ่งคือ

4 R a  2 T 2

28

ตัวอ ย่ าง ที่ 3- 4 ดวงจันทร์หมุนรอบโลกครบรอบใช้เวลา 27.3 วัน สมมุติให้วงโคจรเป็นวงกลมมีรัศมีความโค้ง 3.82 x 108 เมตร จงคำานวณหาขนาดของความเร่งของดวงจันทร์เข้าสู่โลก คาบการโคจรของดวงจันทร์รอบโลก T = 27.3 วัน เปลี่ยนให้เป็นหน่วยวินาทีได้เป็น  hour   min   s  T   27.3 day   24 60 60    day hour min        2.36  106

วินาที

ความเร่งเข้าสู่ศูนย์กลาง a 

4 R  T2 2

4 2  3.82 108 m 

 2.36 10 s  6

2

 2.71 103

m/s 2 29

จากนิยามของความเร็วสัมพัทธ์ของการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง เราหาความเร็วสัมพัทธ์ของการเคลื่อนที่ในระนาบได้จากนิยามเดียวกัน

ด้วยการบวกเวกเตอร์

ความเร็วเรือสัมพัท ธ์กับพื้น v

ความเร็วกระแสนำ้าสัม พัทธ์กับพื้น V

ความเร็วเรือสัมพัทธ์ กับกระแสนำ้า v’

v v v v  v  V 30

ตัวอ ย่ าง ที่ 3- 5 เครื่องบินลำาหนึ่งบินไปทางทิศเหนือ เข็มชี้ความเร็วอยู่ที่ 240 km/hr ลมพัดด้วยความเร็ว 100 km/hr ไปทางทิศตะวันออก ความเร็วของเครื งบินสัมพัทธ์กับโลกจะมีค่าเป็นเท่าไร V = 100 ่อkm/hr v จาก v =?

v’ = 240 km/hr

ซึ่งจากรูป

v v v  v  V

v 2 2  v  v V

 240  100  260 km/hr 2

θ

โดยมีทิศทำามุม

กับทิศเหนือ หาค่ามุม

100   tan  22.6 240

2

1

31

32

Related Documents

Dimension
April 2020 31