นิทรรศการกาลิเลโอ คีนิกบั สีสันแห่งตะวันออก
(Galileo Chini and The Colors of Asia) 11 กันยายน - 11 พฤศจิกายน 2547
http://www.queengallery.org/th/index.php?Y=2004&m=10&d=19&cal_id=0&language=thai&gmt_ofs=0&view=d30
(ซ้ายสุด: เถกิง พัฒโนภาษ และ ศิลปินกลุ่มนวรงค์ Be Takerng Pattanopas and the Navarong artists, Cross Culture,
จานนวรงค์ลาย Handna จัดวางบนพื้นแดงชาดเป็นรูปกางเขน installation of polychrome platters, 3 x 5 m, mixed media) นิทรรศการครั้งนี้เป็นการแสดงผลงานของศิลปินร่วมสมัย ไทยและนานาชาติ ที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจากการสร้างสรรค์งานของจิตรกรชาวอิตาลี กาลิเลโอ คีนิ (Galileo Chini) ผู้ซึ่งเดินทางเข้ามาทำางานและพำานักอยู่ในประเทศไทย ช่วงปลายสมัยรัชกาลที่ ๕ และต้นรัชกาลที่ ๖ เพื่อสร้างสรรค์ผลงานชิ้นเอก คือ จิตรกรรมปูนเปียกประดับเพดานโดมพระที่นั่งอนันตสมาคม เมื่อครั้งเดินทางกลับอิตาลี ศิลปินยังคงมีความทรงจำาและความประทับใจในดินแดนแห่งตะวันออก
นิทรรศการกาลิเลโอ คีนิกับสีสันแห่งตะวันออก
เป็นพิมพ์เขียวต้นฉบับซึ่งนับเป็นของหายาก และมีค่าต่อประวัติศาสตร์ไทย มีอายุเกือบ ๑๐๐ ปี
11 กันยายน - 11 พฤศจิกายน 2547
• ภาพถ่ายของกาลิเลโอ คีนิ เพื่อการออกแบบจิตรกรรมตกแต่งเพดานโดมพระที่นั่งอนันตสมาคม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของภาพถ่ายทางประวัติศาสตร์ จำานวนกว่า ๓๐๐ ภาพ
นิทรรศการครั้งนี้เป็นการแสดงผลงานของศิลปินร่วมสมัย ไทยและนานาชาติ ที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจากการสร้างสรรค์งานของจิตรกรชาวอิตาลี กาลิเลโอ คีนิ (Galileo Chini) ผูซ้ ึ่งเดินทางเข้ามาทำางานและพำานักอยู่ในประเทศไทย ช่วงปลายสมัยรัชกาลที่ ๕ และต้นรัชกาลที่ ๖ เพื่อสร้างสรรค์ผลงานชิ้นเอก คือ จิตรกรรมปูนเปียกประดับเพดานโดมพระที่นั่งอนันตสมาคม เมื่อครั้งเดินทางกลับอิตาลี ศิลปินยังคงมีความทรงจำาและความประทับใจในดินแดนแห่งตะวันออก ผลงานศิลปะของเขาทั้งทีส่ ร้างสรรค์ที่เมืองไทยและเมื่อเดินทางกลับอิตาลีแล้ว ได้สะท้อนให้เห็นถึงพลังของแสง และสีสันแห่งตะวันออก สืบทอดต่อมาสู่ทายาทตระกูลคีนิ ซึ่งเป็นตระกูลที่มีชื่อเสียงในการสร้างสรรค์งานเซรามิคในยุโรป นับว่าเป็นการสานสัมพันธ์ที่ดีระหว่างประเทศไทยและอิตาลี งานแสดงครั้งนี้จึงได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากศิลปินทายาทตระกูลคีนิ และศิลปินรับเชิญทั้งชาวไทยและศิลปินนานาชาติกว่า ๖๐ คน นำาผลงานมาจัดแสดง อาทิเช่น
• ผลงานศิลปะเซรามิคของศิลปินรับเชิญ ซึ่งเป็นผลจากการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ (Workshop) อันเป็นการเชื่อมโยงศิลปะในอดีตข้ามกาลเวลามาสู่ศิลปะร่วมสมัยในปัจจุบัน เช่น ศิลปินตระกูลคีนิ ศิลปินอิตาลี ศิลปินเกาหลี ศิลปินจีน และศิลปินไทย อาทิเช่น เสริมศักดิ์ นาคบัว วิโชค มุกดามณี สุโรจนา เศรษฐบุตร วศินบุรี สุพานิชวรภาชน์ เถกิง พัฒโนภาษ ฯลฯ
Galileo Chini and The Colors of Asia
• พิมพ์เขียวต้นฉบับของพระที่นั่งอนันตสมาคม ซึ่งเปาลา โปลิโดริ คีนิ (Paola Polidori Chini) ทายาทของกาลิเลโอ คีนิ ได้มอบให้เป็นสมบัติของประเทศไทย
http://www.queengallery.org/th/event.php?Y=2004&m=10&d=19&do=sh ow_event&key=615c7e9fc00ebc08a056dc1fde67fbb3&cal_id=0&languag e=thai&gmt_ofs=0&evt_date=11+%A1%D1%B9%C2%D2%C2%B9+++11+%BE%C4%C8%A8%D4%A1%D2%C2%B9+2547&evt_title=Galileo+ Chini+and+The+Colors+of+Asia&id=27