02 One Dimension Of Motion

  • October 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View 02 One Dimension Of Motion as PDF for free.

More details

  • Words: 1,561
  • Pages: 6
03/06/51

y การศึกษาการเคลื่อนทีเ่ ราอธิบายการเคลือ่ นทีแ่ บบเชิงเส้นด้วยปริมาณดังต่อไปนี้ y การกระจัด (Displacement) เป็ นปริมาณเวกเตอร์ใช้บอกตําแหน่ งของวัตถุเทียบกับจุด กําเนิด y เวลา (Time) ปรมาณตางๆ ปริมาณต่างๆ มกขนกบเวลา มักขึน้ กับเวลา เมอเวลาเปลยนไป เมือ่ เวลาเปลีย่ นไป การเคลอนทกเปลยนไป การเคลือ่ นทีก่ เ็ ปลีย่ นไป

[ บทท บทที่ 2 การเคลอนทแบบหนงมต การเคลือ่ นทีแ่ บบหนึ่งมิติ ]

y ความเร็ว (Velocity) y ความเร่ง (Acceleration)

2

ตัวอย่างที่ 2-1 ถ้าอนุภาคเคลือ่ นทีโ่ ดยเขียนเป็ นเวกเตอร์การกระจัดของ การเคลือ่ นทีไ่ ด้ดงั นี้ y การกระจัดเป็ นปริมาณเวกเตอร์บอกตําแหน่ งเมื่อเทียบกับจุดอ้างอิง มีหน่ วยเป็ น เมตร

O x1

P1

x(t ) = t 3 + 2t + 1 จงหาการกระจัดของอนุุ ภาคนี้ทเ่ี วลา 1 วินาที และ 3 วินาที

P2 Δx = x2 − x1

x2

y เมือ่ เวลา t1 รถอยูท่ แ่ี หน่ ง P1 ซึง่ มีการกระจัดเป็ น x1 และเมื่อเวลาผ่านไปจนเท่ากับ t2 รถคันนี้อยูต่ าํ แหน่ ง P2 ซึง่ มีการกระจัดเท่ากับ P2 3

4

การกระจัดของอนุภาคขึน้ กับเวลาตามสมการ

x(t ) = t 3 + 2t + 1

y ความเร็วเฉลี่ย (Average Velocity) หมายถึง อัตราการเปลีย่ นตําแหน่ งหรือ การกระจัดทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปในช่วงเวลา หนึนง่ง

ดังนัน้ การกระจัดของอนุภาคทีเ่ วลา t = 1 วินาที x(t = 1) = (1) + 2(1) + 1 = 1+ 2 +1 เมตร =4 และการกระจัดของอนุภาคทีเ่ วลา t = 3 วินาที 3

v av =

x(t = 3) = (3) + 2(3) + 1 = 27 + 6 + 1 เมตร = 34 3

5

Δx x2 − x1 = Δt t 2 − t1

y ความเร็วขณะหนึ่ ง (instantaneous velocity) คือความเร็วของวัตถุขณะ เวลาใดๆ ซึง่ หาได้จากการเปลีย่ น ตําแแหน่นงงของวั งวตถุถในช่ ใน วงเวล วงเวลาทีสสนม ่ นั ้ มากๆๆ จนเข้าสู่ศนู ย์

v = lim

Δt → 0

Δx dx = Δt dt

6

1

03/06/51

x(m) P2

x2

อัตราเร็ว (speed)

ความเร็ว (velocity)

y อัตราเร็ว คือ อัตราส่วนระหว่างระยะทางทีว่ ตั ถุ

y ความเร็ว คือ อัตราส่วนระหว่างตําแหน่งที่

เคลื่อนทีไ่ ด้กบั ช่วงเวลาทีใ่ ช้ในการเคลื่อนที่ y อัตราเร็วเป็ นปริมาณสเกลาร์

เปลีย่ นแปลงไปกับเวลาทีใ่ ช้ในการเปลีย่ น ตําแหน่ง y ความเร็วเป็ นปริมาณเวกเตอร์

Δx = x2 − x1

x1

ปุจฉา อัตราเร็วเฉลีย่ และความเร็วเฉลีย่ จาก P1 ไป P5 เท่ากันหรือไม่ ?

P1 Δt = t 2 − t1

t1

t2

P1

t(s)

P2

P4

เฉลย

P3

P5 7

ตัวอย่างที่ 2-2 จากตัวอย่างที่ 2-1 จงหาความเร็วเฉลีย่ ของอนุภาค ระหว่างเวลา t = 1 และ t = 3 วินาที และความเร็วของอนุภาคทีเ่ วลา t = 1 วินาที จาก

v av =

ความเร็วทีเ่ วลา t = 1 s เป็ นความเร็วขณะเวลาหนึ่งจึงต้องหาจาก

v = lim

Δt → 0

Δx x2 − x1 = Δt t 2 − t1

Δx dx = Δt dt

x(t ) = t 3 + 2t + 1

จากสมการการกระจัดของอนุภาค

เมือ่ื x1 คือื การกระจัดั ของอนุภาคทีเ่ี วลา t = 1 s และ x2 คือื การกระจัดั ของ อนุภาคทีเ่ วลา t = 3 s (ซึง่ ได้จากตัวอย่างที่ 2-1) ดังนัน้

8

จะได้

Δx 34 − 4 30 = = vav = 3 −1 2 Δt = 15 เมตร/วินาที

v=

(

)

dx d 3 = t + 2t + 1 = 2t 2 + 2 dt dt

ดังนัน้ ความเร็วของอนุภาคทีเ่ วลา t = 1 s คือ

v(t = 1) = 2(1) + 2 = 4 2

9

y ความเร่งเฉลีย่ (average acceleration) คืออัตราการเปลีย่ นแปลงความเร็วใน ช่วงเวลาหนึ่ง

Δv v2 − v1 aav = = Δt t 2 − t1

a = lim

Δt → 0

10

v(m/s)

y ความเร่งขณะหนี ขณะหนี่ง (instantaneous acceleration) คือการเปลีย่ นแปลง ความเร็วทีข่ ณะเวลาใด ๆ หรือในช่วง เวลาสัสนๆ เวล น้ ๆ จนเข้ จนเ าสูส่ศนนย์ ู

เมตร/วินาที

P2

v2

Δv = v2 − v1

Δv dv d x = = Δt dt dt 2 2

v1

P1 Δt = t 2 − t1

t1

11

t2

t(s)

12

2

03/06/51

เครื่องหมายความเร็ว เครื่องหมายความเร่ ง

การเคลือ่ นที่

+

วัตถุกาํ ลังเคลื่อนที่ไปในทิศการกระจัดเป็ น + ด้วยความเร็วเป็ น + มากยิง่ ขึ้น

+

-

วตถุ วัตถกํกาลงเคลอนทไปในทศการกระจดทเปน าลังเคลื่อนที่ไปในทิศการกระจัดที่เป็ น + แต่ความเร็ วในทิศทางนั้นมีค่าลดลง

-

+

วัตถุกาํ ลังเคลื่อนที่ไปในทิศการกระจัดที่เป็ น แต่ความเร็ วของวัตถุเป็ นลบน้อยลง

-

-

วัตถุเคลื่อนที่ไปในทิศการกระจัดเป็ น - ด้วย ความเร็วที่เป็ นลบมากยิง่ ขึ้น

+

เครือ่ งหมายของความเร่ง วัตถุจะเคลือ่ นทีช่ า้ ลงเมื่อ ทิศทางของ ความเร่งตรงกันข้ามกับทิศของการ เคลือ่ื นที่ี

13

ตัวอย่างที่ 2-3 สมมติว่าความเร็วของรถยนต์ ทีเ่ วลา t ใดๆ มีค่าเป็ นไป ตามสมการ

14

(1) จากสมการ

v = 60 + 0.5t 2

aav =

Δv v2 − v1 = Δt t 2 − t1

เมือ่ v1 คือความเร็วรถยนต์ทเ่ี วลา t = 1.0 s และ v2 คือความเร็วของรถยนต์ท่ี เวลา t = 3.0 s v(t = 1.0 ) = 60 + 0.5(1.0 ) = 60.5

เมตร/วินาที

v(t = 3.0 ) = 60 + 0.5(3.0 ) = 64.5

เมตร/วินาที

2

จงหา (1) ความเร่งเฉลีย่ ของรถยนต์ในระหว่าง t1 = 1.0 s และ t2 = 3.0 s (2) ความเร่ง่ ที่ี t = 1.0 s และ t = 3.0 s

2

เฉลย

ดังนัน้

aav =

Δv 64.5 − 60.5 4.0 = = = 2.0 เมตร/วินาที2 Δt 3. 0 − 1. 0 2. 0

15

dv dt ดังนัน้ จากสมการความเร็วของรถยนต์ ความเร่งของรถยนต์ทเ่ี วลาใดๆ หาได้จาก

(2) จากนิยามความเร่งขณะหนึ่ง

16

a=

(

y การเคลือ่ นทีอ่ ย่างง่ายทีส่ ดุ คือ การเคลือ่ นทีใ่ นแนวเส้นตรงด้วยความเร่งคงตัว ในกรณี นี้ความเร็วเปลีย่ นด้วยอัตราเดียวตลอด

)

dv d a= = 60 + 0.5t 2 = 1.0t dt dt

y เราสามารถหาสมการการเคลื่อนทีส่ าํ หรับตําแหน่ ง x และความเร็ว v เมือ่ วัตถุเคลือ่ นที่ ดวยความเรงคงตวไดจากสมการความเรงเฉลย ด้วยความเร่งคงตัวได้จากสมการความเร่งเฉลีย่

ความเร่งทีเ่ วลา t = 1.0 s คือ

a (t = 1.0 ) = 1.0(1.0 ) = 1.0

v2 − v1 t 2 − t1 y ให้ t1 = 0 s และให้ t2 เป็ นเวลา t ใดๆ ให้ u เป็ นความเร็วเริม่ ต้นทีเ่ วลา t1 = 0 s และ v เป็ นเวลาขณะเวลา ใดๆ จะได้ aav =

เมตร/วินาที2

ความเร่งทีเ่ วลา t = 3.0 s คือ

a (t = 3.0 ) = 1.0(3.0 ) = 3.0

เมตร/วินาที2

a= 17

v−u t −0

v = u + at 18

3

03/06/51

y เราสามารถหาสมการสําหรับตําแหน่ ง x สําหรับวัตถุทเ่ี คลื่อนทีด่ ว้ ยความเร่งคงตัวโดย พิจารณาจากความเร็วเฉลีย่ x −x vav = 2 1 t 2 − t1

y แต่จาก

1 vav = u + at 2 y และจากนิยามของความเร็วเฉลีย่ vav = x − x0 t −0

y ให้เวลาเริม่ ต้น t = 0 วัตถุอยู่ทต่ี าํ แหน่ ง x0 จากนัน้ เมือ่ เวลาผ่านไปทีเ่ วลา t ใดๆ วัตถุ อยูท่ ต่ี าํ แหน่ ง x จะได้ x − x0 vav = t −0

y จะได้สมการ

y ความเร็วทีเ่ ปลีย่ นด้วยอัตราคงตัว ในกรณีน้ีความเร็วเฉลีย่ ในช่วงเวลาใดๆ มีคา่ เท่ากับ ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของความเร็วทีต่ อนต้นและตอนปลายของช่วงเวลานัน้ สําหรับกรณี ช่วงเวลาตัง้ แต่ t = 0 ถึงเวลา t ใดๆ

vav =

v = u + at เมือ่ แทนลงในสมการความเร็วเฉลีย่ จะได้

1 x = x0 + ut + at 2 2

y กรณีทพ่ี จิ ารณาปญั หาทีไ่ ม่มเี วลามาเกีย่ วข้อง เราจะใช้ความสัมพันธ์ระหว่าง ตําแหน่ ง ความเร็ว และความเร่ง จากสมการ t = v − u เมือ่ แทนค่าลงในสมการการกระจัด a ด้านบนจะได้

v+u 2

v 2 = u 2 + 2a( x − x0 )

19

20

ตัวอย่างที่ 2-4 จงหาเวลาทีใ่ ช้ของรถยนต์ในการเคลือ่ นทีใ่ ห้ได้ระยะทาง 30 เมตรจากหยุดนิ่งโดยทีร่ ถคันนี้มอี ตั ราเร่ง 2.0 m/s2 y การตกอย่างอิสระ เป็ นการเคลือ่ นทีใ่ นแนวดิง่ ด้วยความเร่งคงที่

สิง่ ทีเ่ ราได้จากโจทย์คอื ระยะทางเริม่ ต้น x0 = 0 รถเริม่ เคลือ่ นจากหยุดนิ่งดังนัน้ ความเร็วเริม่ ต้น u = 0 อัตราเร่งคงที่ a = 2.0 m/s2 ระยะทางทีเ่ คลือ่ นทีไ่ ด้ x = 30 m ต้องการหาเวลา t = ? ซึง่ แทนค่าลงในสมการการเคลือ่ นทีด่ ว้ ยความเร่งคงที่

y เมือ่ เราปล่อยวัตถุให้ตกจากทีส่ งู ความเร็วของวัตถุจะเปลีย่ นแปลงด้วยอัตราคงทีค่ อื ค่า ความเร่งโน้มถ่วงของโลก (g = 9.8 m/s2) y ซงสามารถใชสมการการเคลอนทดวยความเรงคงทอธบายได ซึง่ สามารถใช้สมการการเคลือ่ นทีด่ ว้ ยความเร่งคงทีอ่ ธิบายได้

1 x = x0 + ut + at 2 2 1 30 = 0 + 0 + (2.0 )t 2 2

ดังนัน้ จะได้

t = 30 = 5.5

ปุจฉา วัตถุทม่ี มี วลมากกับวัตถุทม่ี มี วลน้อย ถ้าปล่อย ให้ตกอย่างอิสระ แบบใดตกถึงพืน้ ก่อนกัน ? เฉลย วินาที 21

ตัวอย่างที่ 2-5 โยนลูกบอลขึน้ จากพืน้ ไปในแนวดิง่ ด้วยความเร็วต้น 25 m/s จงหา 1) ต้องใช้เวลานานเท่าใดลูกบอลจึงขึน้ ไปอยู่ ณ จุดสูงสุด 2) ความสูงทีต่ าํ แหน่งสูงทีส่ ดุ เป็ นเท่าไร 3) ความเร็วของลูกบอลเมือ่ กลับมาถึงพืน้ อีกครัง้ 4) เวลาทีใ่ี ช้ใ้ นการเคลือ่ื นทีท่ี งั ้ หมด

23

22

1) เมือ่ ลูกบอลเคลือ่ นทีข่ น้ึ ทิศของความเร็วในการเคลือ่ นทีส่ วนทางกับทิศของ ความเร่ง (a = -g) ทําให้ความเร็วลดลง เมือ่ ไปถึงจุดสูงสุด ความเร็วของลูก บอลจะมีคา่ เป็ นศูนย์ ดังนัน้ ทีจ่ ุดสูงสุด v = 0 จากสมการ

v = u + at

จะได้

v = u − gt u 25 t= = = 2.55 g 9.8

วินาที

24

4

03/06/51

2) ระยะทางจากพืน้ ไปถึงจุดสูงสุดหาได้จากสมการ

y = y0 + ut −

3) เมือ่ ลูกบอลกลับมาถึงพืน้ แสดงว่าตําแหน่งเริม่ ต้นกับตําแหน่งปลายเป็ น ตําแหน่งเดียวกันดังนัน้ Δy = y - y0 = 0

1 2 gt 2

จากสมการ

กําหนดให้ตาํ แหน่งเริม่ ต้น y0 = 0

y = 0 + (25)(2.55) −

1 (9.8)(2.55)2 2

= 31.9

จะได จะได้

v 2 = u 2 − 2 g ( y − y0 )

v2 = u 2 v = ±u = 25

เมตร

เมตร/วินาที

25

26

4) เวลาทัง้ หมดทีใ่ ช้ในการเคลือ่ นทีข่ องลูกบอล 1 y − y0 = ut − gt 2 2 1 0 = ut − gt 2 2 ⎛1 ⎞ t ⎜ gt − u ⎟ = 0 ⎠ ⎝2

y การบอกตําแหน่งและความเร็วเป็ นปริมาณ

y

y

จะได้วา่ การกระจัด y - y0 มีคา่ เป็ น 0 ทีเ่ วลา t = 0 ซึง่ เป็ นเวลาเริม่ ต้น และทีเ่ วลา ลูกบอลเคลือ่ นทีจ่ นกระทัง้ กลับมาทีพ่ น้ื อีกครัง้ หนึ่งคือ 2u 2(25) t= = = 5.1 g 9.8

y

วินาที

y 27

สัมพัทธ์ เนื่องจากปริมาณเหล่านี้เป็ น ปริมาณทีข่ น้ึ กับตําแหน่งอ้างอิง จากรูป ให้ผชู้ ายทีเ่ ดินบนพืน้ เลื่อนมี ความเร็วเป็ น v สัมพัทธ์กบั พืน้ นิ่ง (วัดได้ โดยผูห้ ญิงทีย่ นื อยู่บนพืน้ นิ่ง) และผูช้ ายมีความเร็วเป็ น v’ สัมพัทธ์กบั พืน้ เลื่อน (วัดได้โดยผูห้ ญิงทีย่ นื อยู่บนพืน้ เลื่อน และให้พน้ื เลื่อนมีความเร็วเป็ น V สัมพัทธ์ กับพืน้ นิ่ง ความเร็วทัง้ สามสัมพันธ์กนั ตามสมการ

v = v′ + V 28

ตัวอย่างที่ 2-6 นักซิง่ ผูห้ นึ่งขับรถด้วยความเร็ว 65 Km⋅hr-1 บนถนนทีจ่ าํ กัด ความเร็วไว้ท่ี 40 Km⋅hr-1 จราจรเรียกให้หยุด แต่นกั ซิง่ ไม่ยอมหยุด จราจร จึงขีม่ อเตอร์ไซด์ไล่ตามด้วยความเร็ว 80 Km⋅hr-1 นักซิง่ เห็นจราจรเคลือ่ นที่ ด้วยความเร็วเท่าไร จากโจทย์ ให้ความเร็วของกรอบอ้างอิงทีเ่ คลือ่ นที่ (ความเร็วของนักซิง่ ทีส่ มั พัทธ์กบั พืน้ นิ่ง) V = 65 Km/hr ความเร็วของวัตถุทส่ี งั เกตสัมพัทธ์กบั พืน้ นิ่ง (ความเร็วของจราจร) v = 80 Km/hr ต้องการหาความเร็วของจราจรสัมพัทธ์กบั นักซิง่ (v’ = ?)

v′ = v − V = 80 − 65 = 15

Km/hr

29

30

5

03/06/51

วิ สชั นา

วิ สชั นา

การตกเมื่อไม่คดิ แรงต้านอากาศ

ไม่เท่ากันเนื่องจากความเร็วเฉลีย่ คืออัตราการเปลีย่ นตําแหน่งในช่วงเวลาหนึ่ง ดังนัน้ จากรูป ตําแหน่ง P1 และ P5 คือตําแหน่งเดียวกันดังนัน้ ความเร็วเฉลีย่ จึงเท่ากับศูนย์

P1

P2

P4

P3

จากสมการ

y = y0 + ut +

P5 แต่อตั ราเร็วเฉลีย่ คืออัตราส่วนระหว่าง ระยะทางทีว่ ตั ถุเคลือ่ นทีไ่ ด้ตอ่ ช่วงเวลา ทีใ่ ช้ในการเคลือ่ นที่ ดังนัน้ การหาอัตราเร็วเฉลีย่ จากรูปต้องวัดระยะทางในการ เคลือ่ นทีจ่ าก ตําแหน่ง P1 จนกระทัง้ กลับมายัง P5 แล้วหารด้วยเวลาทีใ่ ช้ อัตราเร็วเฉลีย่ จึงไม่เท่ากับศูนย์

การตกเมื่อคิดแรง ต้านอากาศ

1 2 gt 2

2y

เมือ่ ปล่อยวัตถุจากทีส่ งู u = 0 เวลาในการเคลือ่ นทีจ่ ะหาได้จาก t = g ซึง่ ไม่มมี วลเข้ามาเกีย่ วข้องดังนัน้ วัตถุทงั ้ สองจะตกถึงพืน้ พร้อมกัน แต่สาเหตุทเ่ี มือ่ ขนาดของวัตถุตา่ งกันแล้วทําให้ตกถึงพืน้ ไม่พร้อมกันนัน้ เนื่องมาจากผลจากแรงต้านอากาศ 2

31

32

6

Related Documents