007-pat 1

  • Uploaded by: Nagaoga Gohey
  • 0
  • 0
  • August 2019
  • PDF

This document was uploaded by user and they confirmed that they have the permission to share it. If you are author or own the copyright of this book, please report to us by using this DMCA report form. Report DMCA


Overview

Download & View 007-pat 1 as PDF for free.

More details

  • Words: 7,057
  • Pages: 14
PAT 1 วัดศักยภาพทางคณิตศาสตร 6. กําหนดให U = {1, 2, 3, …, 100} และ X = {x∈U | หรม. (x, 100) = 1} ผลบวกของสมาชิกในเซต x เทากับขอใด 1. 1000 2. 2000 3. 3000 4. 5050 7. กําหนดให p, q และ r เปนประพจน ถาประพจน (p→q) → (p↔q) มีคาความจริงเปนเท็จ แลวประพจนใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนจริง 1. (p∧q) → r 2. q → (p∧r) 3. P∧~q 4. p∨~q 8. เอกภพสัมพัทธในขอใดทําให ∀x [ x 2 + 2 x − 3 < 0 ] มีคาความจริงเปนจริง 1. (–∞, 3) 2. (–2, –1) 3. (0, 10) 4. (1, ∞) 9. กําหนดให n เปนจํานวนเต็มที่มีคามากที่สุด ซึ่งมีสมบัติวา n หาร 551 และ 731 เหลือเศษ r เทากัน และ n หาร 1093

ตอนที่ 1 ขอสอบปรนัยแบบ 4 ตัวเลือก จํานวน 55 ขอ 1. พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. ถา ( p v q) r และ (q r) s ตางมีคาความจริง เปนเท็จ แลว ( p v q) (r v s) มีคาความจริงเปนจริง ข. การอางเหตุผลขางลางนี้สมเหตุสมผล เหตุ 1. ~ p ~ (q v r) 2. q ^ s 3. ~ r ผล s p ขอใดตอไปนี้ถกู 1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด 3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด 2. จงพิจารณาขอความตอไปนี้ ก. ใหเอกภพสัมพัทธคือเซตของจํานวนฉพาะบวกขอความ ∀x∃y[ x 2 + x + 1 = y ] มีคาความจริงเปนจริง ข. นิเสธของขอความ ∀x[ P( x) ⎯⎯ →[Q( x) ∨ R( x)]] คือ ∃x [ P( x)∧ ∼ Q( x)∧ ∼ R ( x)]] ขอใดตอไปนี้ถกู 1. ก. ถูกและ ข. ถูก 2. ก. ถูกและ ข. ผิด 3. ก. ผิดและ ข. ถูก 4. ก. ผิดและ ข. ผิด 3. กําหนดให A เปนเซตคําตอบของสมการ | x2 + x – 2 |≤ | x2 – 4x +3 | และ B = A – {1} ถา a เปนสมาชิกของ B ซึ่ง a – b ≥ 0 ทุก b ∈ B แลวพิจารณาขอความตอไปนี้ ก. 4 a เปนจํานวนคู 3

เหลือเศษ r + 2 แลว r − 1 มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ n

1.

1 17

2.

1 18

3.

1 19

4.

1 20

10. วงกลมวงหนึ่งมีจุดศูนยกลาง อยูที่จุดศูนยกลางของวงรีทมี่ ี สมการเปน 9x2 + 4y2 – 36x – 24y + 36 = 0 ถาวงกลมนี้สัมผัสกับเสนตรงที่ผานจุด (1, 3) และ (5, 0) แลว รัศมีของวงกลมวงนี้เทากับขอใดตอไปนี้ 2. 4 1. 3

ข. 5 เปนจํานวนคู a

5

ขอใดตอไปนี้ถกู 1. ก. ถูกและ ข. ถูก 2. ก. ถูกและ ข. ผิด 3. ก. ผิดและ ข. ถูก 4. ก. ผิดและ ข. ผิด 4. กําหนดให A, B, C เปนเซตใดๆ และ n[(A∩B′) ∩ (B′∪C′)] = 4, n(B) = 5, n(A∩B) = 2, n(C) = 7 จงหาวา n(P(A)) – n(P(B)) เทากับขอใดตอไปนี้ 1. 1 2. 4 3. 16 4. 32 2 5. ให p(x) = x + 7 x + 3 เมื่อหาร p(x) ดวย x – p หรือ x + q จะไดคําตอบเทากัน โดยที่ p ≠ – q แลว p – q เทากับขอใดตอไปนี้ 1. 1 2. –5 3. –7 4. –9

5

3. 7

4. 9

8

13

11. ถา k, l, m เปนจํานวนจริงที่ทําใหวงรี kx 2 + ly 2 − 72 x − 24 y + m = 0

มีจุดศูนยกลางอยูที่จุด (4,3) และสัมผัสแกน Y แลวขอใดตอไปนี้ผิด 1. ความยาว แกนเอกเทากับ 12 หนวย 2. ความยาวแกนโทเทากับ 8 หนวย 3. ระยะหางระหวางจุดโฟกัสทั้งสองเทากับ 4 4. จุด (2, 6) อยูบนวงรี

86

5

หนวย

12. กําหนดให

18. กําหนดให U = {f |f เปนฟงกชัน และ f ⊂ {1, 2, 3, 4} × {a, b}} A = {f |f เปนฟงกชัน ซึ่ง R f = {a, b} และมีจํานวน-

r = {( x, y ) ∈ R × R | x 2 + y 2 = 16}

r = {( x, y ) ∈ R × R | xy 2 + x + 3 y 2 + 2 = 0}

เซตในขอใดตอไปนี้เปนสับเซตของ Dr – Ds 1. [ -4, -1] 2. [-3, 0] 3. [-2, 1] 4. [-1, 2] 13. กําหนดให f และ g เปนฟงกชันซึ่งนิยามโดย f (x) = x2 + 1 และ g(x) = ax เมื่อ a ∈ ( 0,1) ถา k เปนจํานวนที่ทําให (fog)(k) = (gof) (k) และ

สมาชิกในโดเมน = 3} จํานวนสมาชิกของเซต A เทากับเทาใด 1. 12 2. 14 3. 16 4. 24 19. กําหนดฟงกชัน f และ q ดังนี้ f(2x – 1) = 4x – a , a > 0 และ g −1 ( x ) = x + 1

( fog ) ⎛⎜⎝ k1 ⎞⎟⎠ มีคาเทากับขอใด -1

2

ตอไปนี้ 1. 1 3. 3

2. 2 4. 4

ถา ( f g )(a) = a 2 + 20 แลว f(a) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 1. 6 2. 7 3. 10 4. 17 20. ให u = ai + b j + 2k และ v = 2ai − 3b j โดยที่ a, b เปนจํานวนเต็มบวกและ θ เปนมุมระหวาง u

x | x | +1 และ g ( x ) = จํานวนเต็มซึ่งนอยทีส่ ุดที่มากกวาหรือเทากับ x ( เชน g ( 1.01 ) = 2, g ( - 6 ) = - 6, g ( - 7.99 ) = - 7 เปนตน) ถา F(x) = (fog)(x) และ G(x) = (gof)(x) แลวขอใดตอไปนี้เปนเท็จ 1. D F = (−∞ , ∞) 2. R F = (0 , 1) 3. G(x) = 1 เมื่อ x > 0 4. G( x) = 0 เมื่อ x < 0 15. ผลบวกของรากทั้งหมดของสมการ ⎛ ⎞ เทากับขอใดตอไปนี้ 1 log 3 + 27 = log 4 + 1 + 14. ให f , g : R → R กําหนดโดย f ( x ) =

3

⎜ ⎝

1 x

⎟ ⎠

3

2.

3 4

16. กําหนดให

3

1 x ∈ ( ,3) 3

ขอใดตอไปนีถ้ ูก 1. ก. ถูกและ ข .ถูก 2. ก. ถูกและ ข .ผิด 3. ก. ผิดและ ข .ถูก 4. ก. ผิดและ ข .ผิด 22. sin( arctn2 + arctan3) เทากับขอใดตอนี้ 1 1 2. 1. 2 2 1 3. 1 4. 2 2 23. ให u = i + 3 j , v = 2 i + j ถา θ เปนมุมระหวาง (u + v) และ (u − v) แลว cos θ มีคาเทากับขอใดตอไปนี้

1 2

x y

และ 6log( x − 2 y = log x3 + log y3} ผลบวกของสมาชิกทั้งหมดในเซต A มีคาเทากับขอใด ตอไปนี้ 1. 3 2. 4 3. 5 4. 6 17. กําหนดให f(x) = x + 1 , g f ( x ) = x + 1 R g f − R f g คือ เซตในขอใดตอไปนี้ 1. [–1, 1] 3. [0, 1]

และ cosθ = 1 แลว u × v มีคาเทา

5

4. 1 A = {z ∈ R | z =

u =3

กับขอใดตอไปนี้ 1. 6i + 8 j − 10k 2. −6i − 8 j + 10k 3. 12i + 4 j − 10k 4. −12i + −4 j + 10k 21. พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. tan14๐ + tan 76๐ = 2cosec28๐ ข. ถา x > 0 และ sin(2arctan x) = 4 แลว

2x

1. 0 3.

และ v ถา

1. 1

5

2. [0, 1) 4. [–1, 1)

3.

87

1 5

2. 2

5

4. 2 5

24. กําหนดให | u − v | = 3 และ u ⋅ v = − 2 จงพิจารณาขอความตอไปนี้ ก. u + v เปนเวกเตอรหนึ่งหนวย

30. พิจารณาลําดับ an และ bn ซึ่ง ⎧ n2 ⎪ ⎪⎪ 2n + 1 an ⎨ ⎪ ⎪ ⎪⎩ 2

ข. | u | 2 + | v | 2 = 3 ขอใดตอไปนี้ถกู 1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด 3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด 25. ถา Z1 = cos 12 ° + i sin 12 ° และ Z 2 = − cos 16° − i sin 16° แลว

15

⎛ Z1 ⎞ ⎜⎜ ⎟⎟ ⎝ Z2 ⎠

3.

2.

1 + 3i 2

4.

− 3 −i 2

31. กําหนดให

⎢2 ⎣

3.

2 ⎥⎦

⎡ 2 1⎤ C=⎢ ⎥ ⎣ −1 4 ⎦

4.

x→0−

2

เมื่อ x < 0 เมื่อ 0 ≤ x < 1

เมื่อ x ≥ 1 f (1 − x ) เทากับขอใดตอไปนี้ ) + xlim →0 −

1. 0 3. 2

2. 1 4. 3 x2

32. ถา f ( x ) =

แลว

เมื่อ x > 1 x − 1 เมื่อ 0 < x ≤ 1 0 เมื่อ x ≤ 0

⎡ f ( x − 1) ⎤ เทากับขอใดตอไปนี้ lim f ( x 2 ) + lim ⎢ ⎥ x →1+ ⎣ x + 2 ⎦

x →0 −

1. − 4

2. - 1

3. 0

4. 1

3

0 ⎥⎦

โดยที่ x เปนจํานวนจริงถา det ( 2A = -76) แลวเมทริกซ C ในขอใดตอไปนี้ที่ทําใหคาของ det(BC) อยู ภายในชวง (-100, -50) 2. C = ⎡1 −1⎤ 1. C = ⎡1 −1⎤ ⎢1 ⎣

เมื่อ n > 100

⎧ x2 ⎪ ⎪⎪ f ( x ) = ⎨ 2 x −1 ⎪ ⎪ ⎪⎩ 3 x

lim f ( x

คาของ

1. เสนตรง 2. วงกลม 3. วงรี 4. ไฮเพอรโบลา 29. กําหนดเมทริกซ A และ B ดังนี้ ⎡ x 2 −2 2 ⎤ และ ⎡ −2 −4 X ⎤ B= A= ⎥ x ⎦⎥

เมื่อ n ≤ 100

ขอใดตอไปนี้ถกู 1. an และ bn เปนลําดับลูเขา 2. an และ bn เปนลําดับลูออก 3. an เปนลําดับลูเขา และ bn เปนลําดับลูออก 4. an เปนลําดับลูออก และ bn เปนลําดับลูเขา

26. กําหนดฟงกชั่นจุดประสงคและอสมการขอจํากัดเปนดังนี้ C = 40x + 32y 6x + 2y ≥ 12 2x +2y ≤ 8 4x + 12y ≥ 24 คาต่ําสุดของ C เทากับขอใดตอไปนี้ 1. 108 2. 112 3. 136 4. 152 27. จํานวนเซิงซอน α = 1 + i เปนคําตอบของสมการใน ขอใดตอไปนี้ 1. α 4 − 2α 2 + 4α = 0 2. α 4 − 2α 2 − 4α = 0 3. α 4 + 2α 2 − 4α = 0 4. α 4 + 2α 2 + 4α = 0 28. กราฟของจุด α ทั้งหมดในระนาบเซิงซอน ที่สอดคลอง สมการ (α + i ) (α − i ) = 1 เปนรูปใดตอไปนี้

⎢ ⎣⎢ 2 2

เมื่อ n > 100

⎧ 2 ⎪ ⎪⎪ และ bn = ⎨ ⎪ n2 ⎪ ⎪⎩ 2n +1

เทากับขอใดตอไปนี้

− 1 + 3i 2 − 3+i 2

1.

เมื่อ n ≤ 100

3

33. กําหนดให f เปนฟงกชันพหุนามกําลังสาม ซึ่งนิยามบน ชวง [-2, 2] โดยที่ f(0) = 1, f(1) = 0 และ f มีคาต่ําสุดที่ x = 1 มีคาสูงสุดที่ x = -1 พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. f ( −2 ) ≤ f ( x ) ทุก x∈[ −2 , 2]

⎢1 2 ⎥ ⎣ ⎦ ⎡2 1 ⎤ C=⎢ ⎥ ⎣ 3 −1⎦

ข. f ( 2 ) ≥ f ( x ) ทุก x∈[ −2 , 2 ]

88

39. กําหนดตารางแสดงเงินคาอาหารกลางวันที่นักเรียนหองหนึ่ง ไดรับจากผูปกครองดังนี้ คาอาหารกลางวัน (บาท) จํานวนนักเรียน (คน) 29 - 31 1 32 - 34 4 35 - 37 5 38 - 40 5 41 - 43 5 คาเฉลีย่ เลขคณิต, คามัธยฐาน และสวนเบี่ยงเบนควอรไทล ตามลําดับ มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 1. 37.35, 37.5 และ 3 2. 37.5, 37.5 และ 3 3. 37.35, 37.5 และ 3.5 4. 37.35, 37.0 และ 3 40. โรงงานแหงหนึ่งมีพนักงานจํานวน 40 คน และตารางแจกแจง ความถี่สะสมของอายุพนักงานเปนดังนี้

ขอใดตอไปนี้ถกู 1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด 3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด 34. กําหนดให z เปนจํานวนเชิงซอน พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. z + z 2 + z − z ข. z =

2

=2z

2

+2z

2

3 i 50 2 + 2 แลว z = 3 + i

ขอใดตอไปนี้ถกู 1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ผิด และ ข. ผิด 3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ถูก และ ข. ผิด 35. กําหนดให พจนที่ n ของลําดับสองลําดับดังนี้ 4 1 an = 3 3 n + 3 1 + 2 + 3 + ... + n 3

b n = 4 x 2 + 1 + x 2 + 3x + 1 − 3x

lim (a n + b n ) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้

n →∞

1. 2 3. 4.5 36. ให a เปนจํานวนจริง

2. 3.5 4. 5.5

⎧ 3x - 9 , x>3 ⎪ กําหนดให f(x) = ⎨ 3x - 3 ⎪ ax 2 - 6a , x ≤ 3 ⎩

38. กําหนดให f(x) = 3 x + 1 ถา g เปนฟงกชัน 2 ซึ่ง f g ( x ) = x + 1 ทุก x ∈ R แลว f′(1) + g′(1) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้

12 3. 33 4

ความถี่สะสม

11-20 21-30 31-40 41-50 51-60

6 14 26 36 40

ถาผูจัดการมีอายุ 48.5 ปแลว พนักงานที่มีอายุระหวาง คามัธยฐานของพนักงาน และอายุของผูจัดการมีจํานวน ประมาณเทากับขอใดตอไปนี้ 1. 31.5 % 2. 33.7% 3. 35.0% 4. 37.0% 41. จากตารางการแจกแจงความถี่ตอไปนี้

แลว f เปนฟงกชันตอเนื่องแลว f′(a) มีคาเทากับขอใด ตอไปนี้ 1. 2 2. 4 3. 8 4. 10 37. ถาจุด A บนเสนโคง y = 2x 3 − x 2 ทําใหเสนสัมผัส เสนโคงที่จุดนั้นตั้งฉากกับเสนตรง x + 4y = 10 แลว สมการเสนสัมผัสที่โคงนี้ ที่ผานจุด A ในควอดรันตที่ 1 มีระยะตัดแกน y ตรงกับ ขอใดตอไปนี้ 1. –2 2. –3 3. –4 4. 3

1. 41

อายุ (ป)

ชวงคะแนน

ความถี่

96 – 105 86 – 95 76 – 85 66 – 75 56 – 65 46 – 55

3 7 10 y x 4

ถาขอมูลชุดนี้มี Q1 = 65.5 และมีมัธยฐานเทากับ 75.5 แลว สวนเบี่ยงเบนควอไทลของขอมูลมีคาเทากับขอใด 1. 5 2. 10 3. 15 4. 20

2. 35

12 39 4. 4

89

42. นักเรียนหองหนึ่งเปนนักเรียนหญิง 20 คน นักเรียนชาย 30 คน มีคาเฉลีย่ ของน้ําหนักของนักเรียนหองนี้เทากับ 24.6 กิโลกรัม สมศรีเปนนักเรียนหญิงที่มีน้ําหนัก a กิโลกรัมคิดเปนคา มาตรฐานของน้ําหนักในกลุมนักเรียนหญิงเทากับ b สมชาย เปนนักเรียนชายทีม่ ีน้ําหนัก a กิโลกรัม คิดเปนคามาตรฐาน ของน้ําหนักในกลุมของนักเรียนชายเทากับ b ถา สัมประสิทธิ์ของการแปรผันเฉพาะกลุมนักเรียนหญิง เทากับ 0.125 สัมประสิทธิ์ของการแปรผันเฉพาะกลุมนักเรียนชาย เทากับ 0.16 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเฉพาะกลุมนักเรียนชายเทากับ 4 แลวขอใดตอไปนี้ถูก 1. a = 22, b = -1.1 2. a = 22, b = -1 3. a = 21, b = -1.1 4. a = 21, b = -1 43. จัดคน 8 คน ซึ่งมี สมชาย สมคิดและสมศรีรวมอยูดวยเขา นั่งเรียงกันเปนแถวตรงโดยที่สมศรีนั่งกลางติดกับสมชาย และสมคิดเสมอจํานวนวิธีการจัดที่นั่งดังกลางมีคาเทากับ ขอใดตอไปนี้ 1. 360 2. 720 3. 1080 4. 1440 44. กลองใบหนึ่งมีบัตร 10ใบ แตละใบมีเลข 0, 1, 2, ….,9 บัตร ละหนึ่งหมายเลข ถาหยิบบัตรจากกลองพรอมกัน 3 ใบความ นาจะเปนที่จะไดบตั รหมายเลขคูทุกใบ และมีแตมรวมกัน มากกวา 10 มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 1. 1 2. 1 1 20

20 โดยมีสมบัติดังนี้ ∑ ( x i − b) 2

4.

70 28 3. 70

20

∑| xi − a |

i =1

20

มีคานอยที่สุดเมื่อ a = 5 และ ∑ ( x i − b) 2 i =1

มีคานอยที่สุดเมื่อ b = 8 ขอใดตอไปนี้ถกู ตอง 1. ขอมูลชุดนีม้ ีคาเฉลีย่ เลขคณิตนอยกวาคามัธยฐาน 2. ผลรวมของขอมูลชุดนี้ทั้งหมดเทากับ 100 3. สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูลชุดนี้มีคาเทากับ 5 4. สัมประสิทธิ์ของการแปรผันของขอมูลชุดนี้มีคาเทากับ 50 % 49. ขอมูลชุดหนึ่งมีการแจกแจงแบบปกติ โดยที่ คาสูงสุดของ ขอมูลมีคาเทากับเปอรเซ็นไทลที่ 97.5คาต่ําสุดของขอมูล มี คาเทากับเปอรเซ็นไทลที่ 33 ถาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของขอมูลชุดนีเ้ ทากับ 10 แลว พิสัยของขอมูลชุดนี้เทา กับ ขอใด โดยกําหนดตารางแสดงพื้นที่ใตโคงดังนี้ Z 0.44 1.96 A 0.17 0.475 1. 25 2. 26 3. 27 4. 28 50. ราคาตอหนวยของคอรสเรียนในกรุงเทพในเวลาสามป ติดตอกันเปนดังนี้ ราคาคอรส(บาท) สถาบัน 2545 2546 2547 2000 a 2360 Genius 1500 1800 1875 NEO 1250 1250 1125 DAV’

1 30

45. มีเลข 8 จํานวนเปนเลขบวก 6 จํานวน ซึ่งเปนเลขคู 3 จํานวน จํานวนคี่ 3 จํานวน และมีจํานวนลบ 2 จํานวน ซึ่ง เปนจํานวน คู 1 จํานวนจํานวนคี่ 1 จํานวน ถาสุมตัวเลขดังกลาวมา 4 จํานวน แลว ความนาจะเปนที่ผลคูณของเลขทั้งสี่จะมีคานอยกวา 0 และเปนเลขคี่ มีคาเทากับขอใด 1. 14

= 500 ,

i =1

15

12

3.

3. 0.05 4. 0.75 47. คะแนนสอบของนักเรียนหองหนึ่งมีคาสัมประสิทธิ์สวนเบี่ยง เบนเฉลีย่ เทากับ 1.2 และสวนเบีย่ งเบนเฉลี่ยเทากับ 14.4 ถานักเรียนในหองนี้มี 10 คน และผลรวมกําลังสองของ คะแนนนักเรียนทั้งหองเทากับ 1530 คะแนนแลวสัมประสิทธิ์ การแปรผันของคะแนนสอบเทากับขอใดตอไปนี้ 1. 0.1 2. 0.25 3. 0.3 4. 3 48. ขอมูลชุดหนึ่งประกอบดวย X1 , X 2 , X 3 , ... , X 20

2. 10

70 4. 1 70

46. กําหนดใหความนาจะเปนที่หลอดไฟฟาในหองน้ําเสียเทากับ 0.2 ความนาจะเปนที่หลอดไฟฟาในครัวเสียเทากับ 0.1 ความนา จะเปนที่หลอดไฟฟาในหองน้ําหรือหองครัวเสียเทากับ 0.25 แลวความนาจะเปนที่หลอดไฟฟาในหองน้ําและหองครัวเสีย พรอมกัน เทากับขอใดตอไปนี้ 1. 0.3 2. 0.1

โดยใชป 2545 เปนปฐาน ถาดัชนีราคาอยางงายแบบใช คาเฉลีย่ ราคาสัมพันธของราคาคอรสทัง้ สามสถาบันของ ป 2546 มีคามากกวา ป 2545 เทากับ 1 แลว a มีคาเทา กับขอใด 1. 2200 2. 2220 3. 2222 4. 2000 90

51. กลองใบหนึ่งมีลูกหินสีขาว 5 ลูก สีเขียว 3 ลูก สีน้ําเงิน 2 ลูก ถาหยิบลูกหินอยางสุม ครั้งละ 1 ลูก โดยไมใสคืน 3 ครั้ง แลว ความนาจะเปนที่จะหยิบไดลูกหินสีเดียวกันอยางนอย 2 ลูก มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 1.

1 24

3. 1 4

ตอนที่ 2 ขอสอบแบบอัตนัย (จํานวน 10 ขอ) 1. กําหนดให n เปนจํานวนเต็มบวกที่มีคานอยที่สุดซึ่งหาร ดวย 7 แลวมีเศษเหลือเทากับ 4 ถา 9 และ 11 ตางก็หาร (n-2) ลงตัวแลว n คือจํานวนใด

2. 23 24 4. 3 4

2. ถาเสนกํากับของไฮเพอรโบลา 16 x 2 − 9 y 2 + 32 x + 36 y = 164

ตัดแกน x ที่จุด x1 , x2 แลว ระยะระหวาง x1 , x2 ยาวกี่หนวย

52. ในโรงเรียนแหงหนึ่ง มีนักกีฬาฟุตบอลและนักกีฬาบาสเกตบอล รวมกัน 30 คน เปนนักกีฬาฟุตบอล 17 คน และนักกีฬาบาสเกตบอล 18 คน ถาจะเลือกประธานกีฬาของโรงเรียน 1 คน และ รองประธานกีฬา 1 คน จากนักกีฬากลุมนี้ โดยที่ประธานตอง เปนทั้งนักกีฬาฟุตบอลและนักกีฬาบาสเกตบอลแลว จํานวน วิธีการเลือกดังกลาวมีทั้งหมดเทากับขอใดตอไปนี้ 1. 125 2. 130 3. 145 4. 150 53. ถาตองการเขียนจํานวนที่มี 7 หลัก โดยใชตัวเลขโดด 1 , 2 , 3, 4 , 5 , 6 , 7 และใหมีเลขโดด 3 , 4 , 5 อยูติดกันตรงกลาง ระหวางเลขโดดคูและเลขโดดคี่ โดยแตละจํานวนไมมีเลขซ้ํา แลวจะเขียนไดทั้งหมดเปนจํานวนเทากับขอใดตอไปนี้ 1. 8 2. 16 3. 24 4. 48 54. โรงเรียนแหงหนึ่งมีนักเรียนชั้น ม. 6 จํานวน 300 คน สมชาย สมศักดิ์ และสมศรี เปนนักเรียนชั้น ม. 6 ของโรงเรียนนี้ โดยที่ เกรดเฉลี่ยของสมชายอยูในตําแหนงเดไซลที่ 8.15 เกรดเฉลี่ยของสมศักดิ์คิดเปนคามาตรฐานเทากับ 1 นักเรียนชั้น ม.6 ที่ไดเกรดเฉลี่ยมากกวาสมศรีมีจํานวน 50 คน ถาสมมติวาเกรดเฉลี่ยของนักเรียนชั้น ม. 6 มีการแจกแจง ปกติ ขอใดตอไปนี้เปนรายชื่อนักเรียนเรียงลําดับจาก คนที่ไดเกรดเฉลี่ยมากที่สุดไปนอยที่สุด (กําหนดพื้นที่ใตโคงปกติ Z = 0 ถึง Z = 1 มีคาเทากับ 0.3413) 1. สมชาย สมศักดิ์ สมศรี 2. สมศักดิ์ สมศรี สมชาย 3. สมศรี สมศักดิ์ สมชาย 4. สมศักดิ์ สมชาย สมศรี 55. ในการจัดคน 6 คน ซึ่งมี นาย ก และนาย ข รวมอยูดวย เขาพัก ในหอง 3 หอง โดยที่หองที่หนึ่งพักได 3 คน หองที่สองพักได 2 คน และหองที่สามพักได 1 คน ความนาจะเปนที่นาย ก และ นาย ข จะไดพกั หอง เดียวกันเทากับขอใดตอไปนี้

1 15 4 3. 15 1.

3.

กําหนดให

ถา 4.

f

−1

2 (a) = 3

กําหนดให โดยที่

⎧ −1 + 1 + 4 x 2 ⎪ 2x ⎪⎪ f ( x) = ⎨ ⎪ ⎪ 0 ⎪⎩

w

เมื่อ x ≠ 0

เมื่อ x = 0 แลว a มีคาเทากับเทาใด

ถา w = ai + b j มีทิศทางเดียวกันกับ u และ w =10 แลว u = 3i + 4 j

a + b เทากับเทาใด 5.

ถาขอมูลชุดหนึ่งมีสัมประสิทธิ์ของสวนเบี่ยงเบนเฉลีย่ เทกับ 0.12 สวนเบีย่ งเบนเฉลี่ยเทากับ 6 ละสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทากับ 10 แลว สัมประสิทธิ์ของการแปรผันมีคาเทากับเทาใด

6. ให θ เปนจํานวนจริง ซึ่งสอดคลองกับสมการ 1 1 1 1 แลว tan 2 2θ มีคาเทาใด + + + =7 tan 2 θ

cot 2 θ

sin 2 θ

cos 2 θ

เปนอนุกรมเรขาคณิตซึ่งมีผลบวก 1 1 a a2 + + + + .... a 3 32 33 เทากับ 4 แลว a มีคาเทาใด 3

7. ถา

8.

กําหนดให

⎡ 3 x 3⎤ A = ⎢2 0 9⎥ ⎢ ⎥ ⎣⎢1 1 2 ⎥⎦

เมื่อ x เปนจํานวนจริง ถา ⎡ 3 x 3 1 0

0⎤ ⎢ 2 0 9 0 1 0⎥ ~ ⎢ ⎥ ⎢⎣ 1 1 2 0 0 1 ⎥⎦

3 15 5 4. 15 2.

แลว x มีคาเทากับเทาใด

91

5 −36 ⎤ ⎡1 0 0 9 ⎢ 0 1 0 −5 −3 21 ⎥ ⎢ ⎥ ⎢⎣ 0 0 1 −2 −1 8 ⎥⎦

9. ในการสอบวิชาคณิตศาสตรพบวาคะแนนของนักเรียนมีการ แจกแจงปกติสวนเบี่ยงเบนควอไทลเทากับ 6 สัมประสิทธิ์ ควอไทลเทากับ 0.6 คะแนนเฉลีย่ ของการสอบครั้งนี้มีคาเทา กับเทาใด 10. ถาความสัมพันธเชิงฟงกชั่นของขอมูลชุดหนึ่งระหวางตัวแปร x และ y มีกราฟเปนเสนตรงโดยที่ 8 8 8 ∑ X i = 32 , Y = 16 , ∑ X iYi = 65 ,



i =1

8

∑X i =1

2 i

i =1

i =1

, = 140

8

∑Y i =1

i

i

2

= 34

ถา x = 8 แลวจะประมาณคา y ไดเทาใด (ตอบเปนทศนิยมสองตําแหนง)

92

เฉลย PAT 1 วัดศักยภาพทางคณิตศาสตร แสดงวามีคา x ในเอกภพสัมพัทธบางคาที่ทําให y ไม อยูในเอกภพสัมพัทธ ดังนั้น ∀x∃y ⎡⎣ x2 + x + 1 = y ⎤⎦ มีคาความจริงเปนเท็จ

ตอนที่ 1 ขอสอบปรนัย จํานวน 55 ขอ 1. ตอบ 3. แนวคิด ขอ ก กําหนดให ( pVp ) → r และ

( q → r ) → s ตางมีคาความจริงเปนเท็จ สามารถนํามาหาคาความจริงของประพจน p, q, r ได ดังแผนภาพตอไปนี้ ( p V p) → r (q → r ) →

เมื่อเอกภพสัมพันธเปนจํานวนเฉพาะบวก ขอ ข ถูก เพราะวา นิเสธของ ∀x ⎡ P ( x ) → ⎡Q ( X )V R ( x )⎤ ⎤ คือ

∃x ⎡⎣ ~ ( P ( x ) → ⎣⎡Q ( x ) V R ( x )

สมมูลกับ

∃x ⎡⎣( P ( x ) ∧ ~ ⎡⎣Q ( x ) V R ( x ) ]⎤⎦

สมมูลกับ

∃x ⎡⎣( P ( x ) ∧ ~ Q ( x ) ∧ ~ R ( X ) ⎤⎦

แนวคิด

จาก x 2 + x - 2 ≤ x 2 - 4x + 3

)⎦⎤

จะได ( x 2 + x − 2 )2 ≤ ( x 2 − 4 x + 3)2

(x (x (x

มีคาความจริงเปนเท็จ

2

+ x − 2 ) − ( x 2 − 4 x + 3) ≤ 0 2

2

2

+ x − 2 − x 2 + 4 x − 3)

2

+ x − 2 + x 2 − 4 x + 3) ≤ 0

( 5 x − 5 ) ( 2 x 2 − 3 x + 1) ≤ 0 5 ( x − 1)( 2 x − 1)( x − 1) ≤ 0 2 5 ( x − 1) ( 2 x − 1) ≤ 0 จะพบวา x = 1 อสมการดังกลาวเปนจริง

สรุป ขอ ก ผิด ขอ ข ใหเหตุทุกเหตุที่มีคาความจริงเปนจริง แลวหา คาความจริง และ ดังแผนภาพตอไปนี้ q ∧ s

⎦⎦

3. ตอบ 3.

สรุป p, q, r และ s มีคาความจริงเปน T , F , F , F ตามลําดับ ดังนั้น ประพจน ( p V q ) → ( r V s )

~ p → ~ (q V r )





s

ถา x ≠ 1 จะได

2x −1 ≤ 0

~ r

x≤

นั่นคือ เนื่องจาก

1 2

1⎤ ⎛ A = ⎜ −∞, ⎥ ∪ {1} 2⎦ ⎝

B = A − {1} 1⎤ ⎛ B = ⎜ −∞, ⎥ 2⎦ ⎝

นั่นคือ s เปนจริง และ p เปนจริง ดังนั้น ผล s → p มีคาความจริงเปนจริง การอางเหตุผลดังกลาวสมเหตุสมผล สรุป ขอ ข ถูก

จาก a ∈ B และ a − b ≥ 0 ทุกๆ b ∈ B แสดงวา a ∈ B และ a ≥ b ทุกๆ b ∈ ⎛ −∞, 1 ⎤ จะได a =

2. ตอบ 3. แนวคิด ขอ ก ผิด เพราะวา กําหนดให เอกภพสัมพัทธคือ เซตของจํานวนเฉพาะบวก จาก x 2 + x + 1 = y จะพบวา ถา x = 7 ซึ่งเปนจํานวนเฉพาะบวก จะได

⎜ ⎝

1 2

2 ⎦⎥

ดังนั้น ขอ ก ผิด เพราะวา 4 a = 4 ⎛⎜ 1 ⎞⎟ = 2 ไมเปนจํานวนคู 3

3⎝2⎠

3

ขอ ข ถูก เพราะวา 5 = 5 ⎛⎜ 2 ⎞⎟ = 10 เปนจํานวนคู a

4. ตอบ 4. 32 5. ตอบ 3. –7 6. ตอบ 2. 2000

72 + 7 + 1 = y y = 57 = 3 ×19

คา y ดังกลาวไมใชจํานวนเฉพาะบวก

93

⎝1⎠

7. ตอบ 1. (p∧q) → r 8. ตอบ 2. (–2, –1) 9. ตอบ 2. แนวคิด จากเงื่อนไข n หาร 551 และ 731 เหลือเศษ r เทากับ จะได 551 = nx + r

11. ตอบ 4. แนวคิด จากสมการวงรี kx + y − 72 x − 24 y + m = 0 เนื่องจาก จุดศูนยกลางอยูที่จดุ ( 4,3) 2

จะได

( 3 ) − (1)

ได

540 = n ( z − x )

( 3) − ( 2 )

ได

360 = n ( z − y )

180

m=0

จะได สมการวงรี คือ 9 x 2 + 4 y 2 − 72 x − 24 y + 36 = 0

ทําใหอยูในรูปแบบ 2 2 9 ( x − 4 ) + 4 ( y − 3) = 144 2 2 ( x − 4 ) + ( y − 3) = 1 16

18

b2 = 16 ⇒ b = 4 ⇒ 2b = 8

แสดงวา ความยาวแกนโทเทากับ 8 หนวย

แนวคิด จุดศูนยกลางวงกลมอยูที่จุดศูนยกลางวงรี จะไดวา จาก

c 2 = a 2 + b2 = 36 − 16 = 20 c = 2 5 ⇒ 2c = 4 5

9 x 2 + 4 y 2 − 36 x − 24 y + 36 = 0

แสดงวา ระยะหางระหวางจุดโฟกัสทั้งสองเทากับ 4 5 หนวย พิจารณาจุด ( 2, 6 )

จุดศูนยกลางวงรี ⎛ +36

+24 ⎞ , ⎜ ⎟ = ( +2, + 3) 18 8 ⎠ ⎝

= จุดศูนยกลางวงกลม สรางสมการเสนตรงที่มี (1,3) และ (5,0) เปนจุดผาน

ถานํา x = 2 และ y = 6 แทนในสมการ จะได 9 ( 2 )2 + 4 ( 6 ) − 72 ( 2 ) − 24 ( 6 ) + 36

0 − 3 −3 ∴ m= = 5 −1 4

แสดงวา จุด ( 2, 6 ) ไมใชจุดบนวงรี (ขอ 4 ผิด)

∴ y − y1 = m ( x − x1 )

12. ตอบ 4.

−3 ( x −1) 4 −3 3 y −3= x+ 4 4 3x + 4 y −15 = 0 y −3=

แนวคิด จาก r = {( x, y ) ∈ R × R x 2 + y 2 = 16} จะพบวา ความสัมพันธ มีกราฟเปนรูปวงกลมที่มีจุด ศูนยกลางที่จุดกําเนิด และมีรัศมีเทากับ 4 ดังนั้น Dr = [ −4, 4] ..... (1)

เสนตรงสัมผัสวงกลม Ax1 + By1 + C

จาก

A2 + B 2

; สูตรระยะทางตั้งฉากของเสนตรงกับจุด 3 ( 2 ) + 4 ( 3) + 5 3

=

3 +4 2

2

36

จะได a 2 = 36 ⇒ a = 6 ⇒ 2a = 12 แสดงวา ความยาวแกนเอกเทากับ 12 หนวย

10. ตอบ 1.

∴r =

2

36 − 72 + m = 0

จากรูปแบบดังกลาว แสดงวา n หาร180, 540 และ 360 ลงตัวเนื่องจากกําหนดใหเปนจํานวนเต็มบวกที่ มากที่สุด ดังนั้น คือ ห.ร. ม. ของ 180 , 540 และ 360 นั่นคือ n = 180 นําไป 180 ไปหาร 551 จะเหลือเศษ 11 ⇒ r = 11 ดังนั้น r − 1 = 11 − 1 = 1 n

และ

นั่นคือ 9 ( 0 ) + 4 ( 3 ) − 72 ( 0 ) − 24 ( 3) + m = 0 2

180 = n ( y − x )

k =9

24 =3 2 =4

ดังนั้น ( 0,3) เปนจุดบนวงรี

1091 = nz + r

ได

และ

ดังนั้น สมการคือ 9 x + 4 y 2 − 72 x − 24 y + m = 0 เนื่องจากวงรีสัมผัสแกน y ที่จุด ( 0,3)

731 + ny + r

( 2 ) − (1)

72 =4 2k 2

จากเงื่อนไข n หาร 1093 เหลือเศษ r +2 จะได 1093 = nz + ( r + 2 ) นั่นคือ

2

=

s=

{( x, y ) ∈ R × R xy

2

พิจารณา xy + x + 3 y + 2 = 0 2

2

xy 2 + 3 y 2 = − x − 2

5

( x + 3) y 2 = − x − 2

94

}

+ x + 3y2 + 2 = 0

−x − 2 x+3 −x − 2 ≥ 0 และ x ≠ −3

นั่นคือ

x+3 x+2 ≤0 x+3

แสดงวา ดังนั้น

ให A = 3 2 x , A2 = 3 x

A2 + 27 = 12 − A A2 − 12 A + 27 = 0

และ x ≠ −3

( A − 9 )( A − 3) = 0

−3 < x ≤ −2

A= 9

Ds = ( −3, −2]

..... ( 2 )

3 = 32

ผลบวกของรากทั้งหมด คือ แนวคิด

จาก

6

( x − 2y)

+ 1 = a ( k 2 + 1)

( x − 4 y )( x − y ) = 0 x = 4y , x = y x = 4 กรณีนี้ใชไมได y

a −1 a2 − a

z=4

a −1 1 = ( a ≠ 1) a ( a − 1) a

เนื่องจาก ( fog −1 ) ⎛ 1 ⎞ = f ⎛ g −1 ⎛ 1 ⎞ ⎞ ⎜ 2⎟ ⎜ 2 ⎟⎟ ⎜ k k ⎠





⎠⎠

เพราะวา g ( x ) = ax จะได g −1 ( ax ) = x ให ดังนั้น

ax =

17. ตอบ 18. ตอบ 19. ตอบ 20. ตอบ

1 1 ⇒x= 2 k2 ak

1 1 ⎛ 1 ⎞ g −1 ⎜ 2 ⎟ = 2 = =1 ⎛1⎞ ⎝ k ⎠ ak a⎜ ⎟ ⎝a⎠

นําไปแทนใน (1) จะได

เพราะทําใหจํานวนตามหลัง log เปนจํานวนลบ ดังนั้น สมาชิกในเชต A คือ 4 ผลบวกของสมาชิก ใน A เทากับ 4 3. [0, 1] 4. 24 2. 7 1. แนวคิด จาก u = ai + b j + 2k 2 จะได u = a + b2 + 4 จากที่กําหนดให

( fog −1 ) ⎛⎜⎝ k12 ⎞⎟⎠ = f (1) = 12 + 1 = 2 14. ตอบ 2. 15. ตอบ 3.

= xy

x 2 − 5 xy + 4 y 2 = 0

− a) k 2 = a −1



3

x − 4 xy + 4 y 2 = xy

a 2 k 2 − ak 2 = a − 1

k2 =

2

= ( xy )

2

a 2 k 2 + 1 = ak 2 + a

k2 =

6

( x − 2y)

f ( ak ) = g ( k 2 + 1)

2

6 log ( x − 2 y ) = log x 3 + log y 3

log ( x − 2 y ) = log ( x3 y 3 )

กําหนดให ( fog )( k ) = ( gof )( k ) จะได f ( g ( k )) = g ( f ( k ))

(a

1 1 3 + = 4 2 4

16. ตอบ 2.

จาก f ( x ) = x 2 + 1 และ g ( x ) = ax เมื่อ a ∈ ( 0,1)

2

หรือ 3 2 x = 31

1 1 = 2 หรือ = 1 2x 2x 1 หรือ x = 1 x= 2 4

13. ตอบ 2.

( ak )

หรือ A= 3 1

1 2x

จาก (1) และ (2) Dr − DS = [ −4, 4] − ( −3, 2] = [ −4, −3] ∪ ( −2, 4] จะพบวา [ −1, 2] ⊂ Dr − Ds แนวคิด

1

1

y2 =

ดังนั้น

R F = (0 , 1)

u =3

a 2 + b2 + 4 = 3

a 2 + b2 = 5 a 2 = 5 + b 2 ..... (1)

1 ⎛ 1 ⎞ log 3 ⎜ 3 x + 27 ⎟ = log 3 4 + log 3 3 + log 3 3 2 x ⎝ ⎠

จาก จะได

1 ⎛ 1 ⎞ log 3 ⎜ 3 x + 27 ⎟ = log 3 (4 ) (3) (3 2 x ) ⎝ ⎠

v = 2ai − 3b j

u i v = a ( 2a ) + b ( −3b ) + 2 ( 0 ) u v cos θ = 2a 2 + 3b 2 ⎛1⎞ 3 4a 2 + 9b 2 ⎜ ⎟ = 2a 2 − 3b 2 ⎝3⎠

1 ⎛ 1x ⎞ 2x ⎜ 3 + 27 ⎟ = (12 ) (3 ) ⎝ ⎠

95

2 tan = sec 2 A 5

4a 2 + 9b 2 = 2a 2 −3b 2

จาก ( 1 ) 4 ( 5 − b ) + 9b = 2 ( 5 − b ) − 3b 2

2

2

tan A =

2

นั่นคือ

20 − 4b 2 + 9b 2 = 10 − 2b 2 − 3b 2

2 (1 + tan 2 A) 5

x=

20 + 5b 2 = 10 − 5b 2

2 (1 + x 5

5x = 2 + 2 x2

2 x2 − 5x + 2 = 0 ( 2 x − 1)( x − 2 ) = 0

20 + 5b2 = 100 − 100b2 + 25b4

1 x = ,2 2

25b4 − 105b2 + 80 = 0 5b − 21b + 80 = 0 4

2

( 5b

2

b2 =

แสดงวา

− 16 )( b 2 − 1) = 0

16 5

b=±

b2 = 1

22. ตอบ 3. แนวคิด ให

b = ±1

16 5

⎛1 ⎞ x ∈ ⎜ ,3 ⎟ ⎝3 ⎠

sin ( arctan 2 + arctan 3)

arctan 2 = A + arctan 3 = B

⎛ 2 ⎞⎛ 1 ⎞ ⎛ 1 ⎞⎛ 3 ⎞ =⎜ ⎟⎜ ⎟+⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎝ 5 ⎠ ⎝ 10 ⎠ ⎝ 5 ⎠ ⎝ 10 ⎠

กําหนดให และ เปนจํานวนเต็มบวก ดังนั้น b = 1 ⇒ a 2 = 4 (จาก(1)) a=2

ดังนั้น u = 2i + j + 2k และ v = 4i − 3 j u×v =

)

=

2 3 + 50 50

=

5 5 1 = = 50 5 2 2

23. ตอบ 1.

1 2 2 2 2 1 i− j+ k −3 0 4 0 4 −3

1 5

24. ตอบ 2. ก. ถูก และ ข. ผิด 25. ตอบ 1. − 1+ 3i

u × v = 6i + 8 j − 10k

21.ตอบ 1.

2

26. ตอบ 1.

แนวคิด ขอ ก ถูก เพราะวา

แนวคิด จากสมการขอจํากัด นํามาเขียนกราฟไดดังนี้ 6 x + 2 y ≥ 12, 2 x + 2 y ≤ 8 และ 4 x + 12 y ≥ 24 จะพบวา บริเวณทีเ่ ปนไปตามเงื่อนไข คือ บริเวณแรเงา PQR โดยมีจุดมุม 3 คือ ⎛ 3 3 ⎞ และ R ( 3,1) P (1,3) , Q ,

tan14° + tan 76° = tan14° + cot14° sin14° cos14° = + cos14° sin14° sin 2 14° + cos 2 14° sin14° cos14° 1 = sin14° cos14°

=

=

2 2sin14° cos14°

=

2 sin 28°

⎜ ⎟ ⎝2 2⎠

นําจุดทั้ง 3 ไปหาคาต่ําสุดของฟงกชันจุดประสงค C จาก C = 40 x + 32 y จุด P (1,3) ⇒ C = 40 (1) + 32 ( 3) = 136

= 2cos ec 28°

ขอ ข ถูก เพระวา 4 จาก sin ( 2 arctan x ) =

จุด

R ( 3,1) ⇒ C = 40 ( 3 ) + 32 (1) = 152

27. ตอบ 1. 28. ตอบ 2. 29. ตอบ 1.

arctan x = A ⇒ tan A = x 4 sin 2 A = 5 2sin A cos A =

⎛3 3⎞ ⎛3⎞ ⎛3⎞ Q ⎜ , ⎟ ⇒ C = 40 ⎜ ⎟ + 32 ⎜ ⎟ = 108 ⎝2 2⎠ ⎝2⎠ ⎝2⎠

จะพบวา คาต่ําสุด C เทากับ 108

5

ให ดังนั้น

จุด

4 5

แนวคิด

จาก

⎡ x A=⎢ ⎢⎣ 2 2 2

2 5cos A sin A 2 = cos A 5cos 2 A

sin A =

96

−2 2 ⎤ 3 ⎥ ⇒ det ( A) = x + 8 x ⎥⎦

กําหนดให

det ( 2 A ) = −76

จะได

4 det ( A ) = −76

det ( A) = −19

นั่นคือ

จาก(2) จะได a + c = −1

จาก(3) จะได 3a + c = 0 นําคา a, b, c และ d ที่หาไดไปแทนใน (1) จะได

x3 = −27 ⇒ x = −3

จาก

⎡ −2 −4 x ⎤ ⇒ det ( B ) = 8 x B=⎢ 0 ⎥⎦ ⎣2

ถา

det ( BC ) = det ( B ) det ( C ) = ( −24 ) det ( C )

ถา

กําหนดให det ( BC ) อยูในชวง ( −100,50 ) จะได

ถา

−100 < ( −24 ) det ( C ) < −50

⎡1 −1⎤ C=⎢ ⎥ ⇒ det ( C ) = 3 ⎣1 2 ⎦

จากขอ (2)

⎡ −1 2⎤ C=⎢ ⎥ ⇒ det ( C ) = −3 ⎣ 1 1⎦

จากขอ (3)

⎡ 2 1⎤ C=⎢ ⎥ ⇒ det ( C ) = 9 ⎣ −1 4⎦

จากขอ (4)

⎡2 1 ⎤ C=⎢ ⎥ ⇒ det ( C ) = −5 ⎣ 3 −1⎦

จะพบวา

det ( C )

2

24

จากขอ (1)

ถา



แนวคิด กําหนดให f เปนฟงกพหุนามกําลังสาม ดังนั้น f จะอยูในรูป f ( x ) = ax 3 + bx 2 + cx + d ..... (1) จาก f (0) = 1 ⇒ d = 1

จาก (1)

f

ดังนั้น f ( 2 ) ≥ f ( x ) ขอ ข ถูก 34. ตอบ 4. ก. ถูก และ ข. ผิด 35. ตอบ 4. 5.5 36. ตอบ 3. 8 37. ตอบ 2. –3 38. ตอบ 1. 41 12 39. ตอบ 1. แนวคิด จากขอมูลที่กําหนดใหแทนคาอาหารกลางวัน และ แทนความถี่ 1. คาเฉลีย่ เลขคณิต

33. ตอบ 1.

จะได

a+b+c+d = 0 a + b + c = −1 ( d = 1)

จุดกึ่งกลาง

29-31 30 1 32-34 33 4 35-37 36 5 38-40 39 5 41-43 42 5 2. f ( −1) และ f ( 2 ) เปนคาสูงสุดสัมบูรณ

ในขอ 1 เปนไปตามเงื่อนไขที่

f (1) = 0

x ∈ [ −2, 2 ] จะพบวาในชวงปดดังกลาว

x

4 3

จาก

2

1. f (1) และ f ( −2 ) เปนคาต่ําสุดสัมบูรณ ดังนั้น f ( −2 ) ≤ f ( x ) ขอ ก ถูก

กําหนด 30. ตอบ 3. 31. ตอบ 3. 32. ตอบ 1.

1 3 x = −1 ⇒ f ( −1) = − + + 1 = 2 2 2 1 3 x = −2 ⇒ f ( −2 ) = ( −8 ) − ( −2 ) + 1 = 0 2 2

ถา x = 2 ⇒ f ( 2 ) = 1 (8) − 3 ( 2 ) + 1 = 2

ดังนั้น เงื่อนไขคือ 50 < det ( C ) < 100 24

1 3 3 x − x +1 2 2 1 3 x = 1 ⇒ f (1) = − + 1 = 0 2 2 f ( x) =

แทนคา จะได det ( B ) = 8 ( −3) = −24 ดังนั้น

1 −3 ⇒ a = ,c = 2 2

x3 + 8 = −19

...... ( 2 )

f ' ( x ) = 3ax + 2bx + c 2

กําหนดให f มีคาต่ําสุดที่ x = 1 และ มีคาสูงสุดที่ x = −1 นั่นคือ f ' (1) = 0 และ f ' ( −1) = 0

=

30 (1) + 33 ( 4 ) + 36 ( 5 ) + 39 ( 5) + 42 ( 5 ) 1+ 4 + 5 + 5 + 5

=

747 = 37.35 20

2. จํานวนนักเรียนทั้งหมด 20 คน ตําแหนงของมัธยฐานอยูที่ N = 20 = 10

จาก f ' (1) = 0 ⇒ 3a + 2b + c = 0 ..... ( 3 )

2

จาก

2

ดังนั้น มัธยฐาน = 37.5 3. ตําแหนงของ Q = N ⎛ 1 ⎞ = 20 ⎛ 1 ⎞ = 5

f ' ( −1) = 0 ⇒ 3a − 2b + c = 0 ..... ( 4 )

1

(3)-(4) จะได 4b = 0 ⇒ b = 0 (นําไปแทนคา)

ตําแหนงของ

97

⎜ ⎟ ⎝4⎠

⎜ ⎟ ⎝4⎠

⎛3⎞ ⎛3⎞ Q3 = N ⎜ ⎟ = 20 ⎜ ⎟ = 15 ⎝4⎠ ⎝4⎠

43. ตอบ 4. แนวคิด จากที่กําหนดให ตองการให สมศรีนั่งตรงกลางติดกับสมชาย และสมคิด นําคนทั้ง 3 คนมานัด แลวนับเปนของ 1 สิ่ง ดังนั้น จะมีของอยู 6 สิ่ง (1 มัดกับ 5 คน) มาจัดเปนแถวตรง ซึ่งสามารถทําได 6! วิธี แตเนื่องจากภายในมัด สมชายและสมคิดสามารถสลับ ที่นั่งกันไดอีก 2! วิธี แสดงวา จํานวนวิธีที่จะจัดใหนั่งสามารถทําได 6!× 2! = 1440 วิธี 44. ตอบ 3. แนวคิด มีบัตร 10 ใบแตละใบหมายเลข 0,1, 2,3,.....9 บัตรละ 1 หมายเลข หยิบมา 3 ใบ จํานวนวิธีที่จะเกิดขึ้นได = C = 120 วิธี

ดังนั้น Q1 = 34.5 และ Q3 = 40.5 นั่นคือ สวนเบีย่ งเบนควอไทล = Q3 − Q1 2

40.5 − 34.5 = =3 2

40. ตอบ 3. 41. ตอบ 2. 10 42. ตอบ 4. แนวคิด พิจารณากลุมนักเรียนชาย จากขอมูลที่กําหนดให N = 30, σμ = 0.16 และ σ = 4 นั่นคือ μ =

σ 0.16

=

4 = 25 0.16

สมชายเปนนักเรียนชายที่มีน้ําหนัก a กิโลกรัม และคิดเปนคามาตรฐานเทากับ b จาก z = x − μ ⇒ b = a − 25 ..... (1) σ

10,3

4

เหตุการณที่ตองการคือ 3 ใบที่หยิบมาเปนหมายเลขคูทุกใบ (0, 2, 4, 6, 8) และมีผลรวมของแตมมากกวา 10 เหตุการณดังกลาวจะเกิดขึ้นได 6 วิธี ดังนี้

-------------------------------------เนื่องจากคาเฉลี่ยของน้ําหนักนักเรียนทั้งหอง เทากับ 24.6 นั่นคือ ผลรวมน้ําหนัก (ชาย)+ ผลรวมน้ําหนัก (หญิง) = 24.6 จํานวนนักเรียนทั้งหมด

( 0, 4,8 ) , ( 0, 6,8 ) , ( 2, 4, 6 ) , ( 2, 4,8 ) , ( 2, 6,8 ) , ( 4, 6,8 )

ดังนั้น ความนาจะเปนของเหตุการณดังกลาว = 45. ตอบ 4. 1

70

46. ตอบ 3. 0.05 47. ตอบ 2. 0.25 48. ตอบ 4. 49. ตอบ 1. 25 50. ตอบ 1. 2200 51. ตอบ 2. 23

30(25) + 20 (คาเฉลี่ยน้ําหนักหญิง) = 24.6 50 20 (คาเฉลีย่ น้ําหนัก (หญิง) ) = 24.6 ( 50 ) − 30 ( 25 ) = 1230 − 750

= 480

คาเฉลีย่ น้ําหนัก (หญิง) =

24

480 = 24 20

52. ตอบ 3. 145 53. ตอบ 4. 48 54. ตอบ 2. สมศักดิ์ สมศรี สมชาย 55. ตอบ 3. 4 15 ตอนที่ 2 ขอสอบอัตนัย จํานวน 10 ขอ 1. ตอบ 200 แนวคิด จงหา n ที่เปนจํานวนเต็มบวกและมีคานอยที่สุด เนื่องจาก n หารดวย 7 แลว มีเศษเหลือ 4 จะได n = 7 x + 4, x ∈ Ι ......(1) เนื่องจาก 9 และ 11 ตางก็หาร n − 2 ลงตัว เพราะวา ค.ร.น.ของ 9 กับ 11 คือ 99 ดังนั้น n - 2 = 99 (k), k ∈ I .....(2) จาก (1) 7 x + 4 − 2 = 99 ( k )

------------------------------------------พิจารณากลุมนักเรียนหญิง จากผลการคํานวนที่ผานมาจะได μ = 24, N = 20 โจทยกําหนดเพิ่มเติมวา σ = 0.125 ⇒ σ = 0.125μ μ

ดังนั้น σ = 0.125 ( 24 ) = 3 เนื่องจาก สมศรีมีน้ําหนัก a กิโลกรัม คิดเปนคา มาตรฐานในกลุมนักเรียนหญิงไดเทากับ b จาก z = x − μ ⇒ b = a − 24 σ

3

จาก ( 1) และ (2) จะได

..... ( 2 )

a − 25 a − 24 = 4 3

3a − 75 = 4a − 96

แทนคาใน (2) จะได

6 1 = 120 20

a = 21 21 − 24 b= = −1 3

7 x + 2 = 7 (14 ) k + k

98

7. ตอบ 1.5 8. ตอบ 4 9. ตอบ 10

7 x = 7 (14 ) k + ( k − 2 )

เพราะวา 7 หาร 7 (14 ) k ลงตัว ดังนั้น 7 ตองหาร k − 2 ลงตัว จะพบวา มีคานอยที่สุด คือ k = 2 นําไปแทนใน ( 2) จะได n − 2 = 99 ( 2 )

แนวคิด จาก สวนเบี่ยงเบนควอไทล เทากับ 6 จะได Q − Q = 6 3

1

2

n = 198 + 2

Q3 − Q1 = 12

จากสัมประสิทธควอไทล เทากับ 0.6 จะได Q − Q = 0.6

n = 200

2. ตอบ 2.09

3

แนวคิด จาก

( 2 × 2 )( 9 × 3 ) = ( 2 × 6 ) 2x

2x

12 = 0.6 Q3 + Q1

2x

18 ( 2 2 x × 33 x ) = 2 2 x × 6 2 x

18 ( 6 ) = 2 × 6 2x

2x

Q3 + Q1 =

2x

12 = 20 0.6

..... ( 2 )

เนื่องจากการแจกแจงของคะแนนเปนการแจกแจงปกติ ดังนั้น คะแนนเฉลีย่ = มัธยฐาน

18 = 22 x

ดังนั้น 2 x = log 2 18

=

2 x = log 2 9 + log 2 2

Q3 + Q1 20 = = 10 2 2

10. ตอบ 2.33

2 x = 2log 2 3 + 1

แนวคิด เนื่องจากความสัมพันธเชิงฟงกชันของขอมูล ระหวางตัวแปร และ มีกราฟเปนเสนตรง แสดงวา y = mx + c ..... (1)

1 2

x = log 2 3 +

1

Q3 + Q1

22 x +1 i32 x + 2 = 122 x

x = 1.59 + 0.5 = 2.09

3. ตอบ 0.5 4. ตอบ 14 5. ตอบ 0.2 6. ตอบ 8

ในการหาคา m และ c จะหาจาก

แนวคิด

จาก

1 1 1 1 + + 2 + =7 2 2 tan θ cot θ sin θ cos 2 θ

i =1

i =1

i =1

..... ( 2 )

..... ( 3 )

2 = 4m + c c = 2 − 4m

นําขอมูลที่กําหนดใหแทนคาใน (3) 65 = 140m + 32c 65 = 140m + 32 ( 2 − 4m )

2

2 tan θ − 5 tan θ + 2 = 0 2 θ − 1)( tan 2 θ − 2 ) = 0 4

2

65 = 140m + 64 − 128m

( 2 tan

tan 2 θ =

1 หรือ tan 2 θ = 2 2

1 = 12m ⇒ m =

...... (1)

tan 2 θ =

⎛1⎞ c = 2 − 4⎜ ⎟ ⎝ 12 ⎠

2

c=

)

4 (2)

(1 − 2 )

2

5 3

1 5 x+ 12 3 1 ถา x = 8 ⇒ y = ( 8) + 5 = 28 12 3 12

จาก (1) จะได y =

⎛1⎞ 4⎜ ⎟ 1 2 ⇒ tan 2 2 θ = ⎝ ⎠ = 8 2 ⎛ 1⎞ ⎜1 − ⎟ ⎝ 2⎠

tan 2 θ = 2 ⇒ tan 2 2 θ =

1 12



⎛ 2 tan θ ⎞ tan 2 2 θ = ⎜ ⎟ 2 ⎝ 1 − tan θ ⎠ 2 4 tan θ tan 2 2 θ = 2 1 − tan 2 θ

(

ถา

8

16 = 32m + 8c

2 + 2 tan θ = 5 tan θ 4

ถา

8

นําขอมูลที่กําหนดใหแทนคาใน (2)

2cot 2 θ + 2 tan 2 θ = 5 1 2 2 + 2 tan 2 θ = 5 tan θ

เนื่องจาก

8

i =1 8

∑ yi = m ∑ xi + 8 c

2 ∑ x1 yi = m ∑ xi + c ∑ xi

cot 2 θ + tan 2 θ + cos ec2θ + sec2 θ = 7 cot 2 θ + tan 2 θ + (1 + cot 2 θ ) + (1 + tan 2 θ ) = 7

นั่นคือ

8

i =1

y ≈ 2.33

=8

สรุป tan 2 2 θ = 8 99

Related Documents


More Documents from ""

01 Ba Math
August 2019 20
007-pat 1
August 2019 11